รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการ

วันที่ประเมิน: 15 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่าน มีผลงานปีล่าสุดคือ ปี2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
_
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
_
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
_
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
_
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
_
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แผน ก1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
แผน ก2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
แผน ข รายงานการค้นคว้าหรือส่วนหนึ่งของการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
_
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
_
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 32 4.53
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 32
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.53
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 42 0 0 1 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 9.20 3.71
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 31
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 29.68
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 3.71
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ปีการศึกษา 2566 มีผู้สำเร็จการศึกษาจากแผน ข จำนวน 31 คน หลักสูตรฯ มีการตีพิมพ์เผยแพร่จำนวนทั้งหมด 43 ชิ้นงาน (รวมผลงานนักศึกษาที่ยังไม่สำเร็จการศึกษา) โดยมีบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ จำนวน 42 ชิ้นงาน และบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI1 จำนวน 1 ชิ้นงาน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ในวารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูล กลุ่มที่ 2 ขึ้นไปมากขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.12 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกนำไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการปรับปรุงกระบวนการทำงานเป็นระยะ ๆ และการรับนักศึกษาตามแนวทางที่บัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้กำหนด เช่น ระยะเวลาในการรับนักศึกษา ช่องทางการรับสมัคร เกณฑ์ในการรับสมัคร การประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านเว็บไซด์ แพลตฟอร์ม Social Media การจัดกิจกรรม Open House และการส่งเสริมการตลาดโดยการให้ทุนการศึกษาเพื่อกระตุ้นให้ผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อ เป็นต้น

นอกจากนี้ ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ ปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาและเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์กับนักศึกษาปริญญาตรีที่กำลังจะสำเร็จการศึกษา การชักชวนบอกต่อผ่านนักศึกษาปัจจุบัน ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ และขอความอนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์กับคณะต่าง ๆ รวมถึงการซื้อโฆษณาผ่านทาง Facebook เพื่อให้เข้าถึงกับบุคคลภายนอกที่สนใจ


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย เช่น สมาคมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย หรือแนะนำให้รู้จักหลักสูตร MM สอดแทรกกับกิจกรรมอื่นมากขึ้น เช่น การเข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมคณะ การนำนักศึกษาไปแสดงผลงานพร้อมทั้งแนะนำหลักสูตรทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นต้น

2. ค้นหาวิธีการที่จะทำให้สามารถรับนักศึกษาได้ตามเป้าหมาย  เช่น ประชาสัมพันธ์ให้กับนักศึกษาป.ตรี ในคณะที่กำลังจะจบการศึกษา
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร MM มีระบบและกลไกไปสู่การปฏิบัติ รวมถึงมีการประเมินกระบวนการในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่

โดยปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ มีการจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ก่อนเปิดเรียนทุกภาคการศึกษา รวมถึงให้นักศึกษาเข้าร่วมปฐมนิเทศระดับบัณฑิตศึกษาซึ่งจัดโดยบัณฑิตวิทยาลัย นอกจากนี้มีการเชิญวิทยากรด้านการเป็นผู้ประกอบการมาให้ความรู้เบื้องต้นในการเริ่มต้นทำธุรกิจและปูพื้นฐานให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการตั้งเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมและประเมินผลเพื่อวิเคราะห์ผลที่ได้จากการเตรียมความพร้อมเพื่อนำไปพัฒนาปรับปรุงในปีถัดไป
อาจมีกิจกรรมสันทนาการให้กับกลุ่มนักศึกษาใหม่เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยและมีความสัมพันธ์ที่ดี ซึ่งอาจส่งผลดีในเรื่องความมั่นใจในการอยู่ร่วมกันและการปรับพฤติกรรมให้พร้อมกับการเรียนรู้ในระดับบัณฑิตศึกษาซึ่งเกณฑ์ในการสำเร็จการศึกษาต้องมีเกรดเฉลี่ยตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่
1. มีการควบคุมดูแลวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระ ทำให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ภาคการศึกษา จากหลักสูตรปกติ 2 ปี
2. มีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ไปสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นรูปธรรมผ่านโครงการ The7Masters by MM และนักศึกษาทุกคนได้รับการอบรม Business Stimulation Game ที่เป็นเกมส์จำลองด้านการบริหารธุรกิจ เพื่อพัฒนาทักษะก่อนสำเร็จการศึกษา
3. สร้างผลงานวิชาการที่เป็นทั้งผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาและนักศึกษาที่กำลังศึกษารายวิชา MGT603 วิธีวิทยาการวิจัยทางธุรกิจ และมี 1 ชิ้นงานที่มีการเผยแพร่งานในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐาน TCI1
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ มีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาที่เหมาะสมกับหัวข้อการศึกษาค้นคว้าอิสระของนักศึกษาแต่ละคน มีการประชุมเพื่อทบทวนและประเมินกระบวนการในการควบคุมดูแลให้คำปรึกษา เพื่อสร้างระบบการให้คำปรึกษาที่ดี เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับนักศึกษา 

มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา โดยให้นักศึกษาที่กำลังศึกษารายวิชา MGT603 วิธีวิทยาการวิจัยทางธุรกิจ ดำเนินการวิจัยและผลิตผลงานวิชาการเผยแพร่ในงานประชุมวิชาการ ซึ่งในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ มีผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเท่ากับ 9.2 คิดเป็นร้อยละ 29.68 (คะแนนที่ได้เท่ากับ 3.71) โดยมี 1 ชิ้นงานที่มีการเผยแพร่งานในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐาน TCI1
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเพิ่มการแนะนำและผลักดันให้นักศึกษานำผลงานแผนธุรกิจ ไปส่งประกวดแผนธุรกิจ

ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงานในวารสารที่ปรากฎในฐาน TCI1 หรือ TCI2 มากขึ้น
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในการเรียนการสอนมีการนำผู้มีประสบการณ์จริงมาให้ความรู้และประสบการณ์แก่นักศึกษา ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจอย่างสม่ำเสมอ

ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติ ใช้รูปแบบการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้ 3R8C Model โดยปรับปรุงแนวทางการเรียนรู้ ได้แก่ (1) ทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม ให้คิดสร้างสรรค์ ใส่ใจนวัตกรรม มีวิจารณญาณ แก้ปัญหาเป็น (2) ทักษะสารสนเทศสื่อเทคโนโลยี ให้อัพเดตทุกข้อมูลข่าวสาร รู้เท่าทันสื่อ รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดสื่อสาร และ (3) ทักษะชีวิตและอาชีพ ให้มีความยืดหยุ่น รู้จักปรับตัว ริเริ่มสิ่งใหม่ ใส่ใจดูแลตัวเอง รู้จักเข้าสังคม เรียนรู้วัฒนธรรม 

หลักสูตรฯ ให้ความสำคัญกับการทำแผนธุรกิจ ทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะสารสนเทศสื่อเทคโนโลยี การใช้ Facebook, Line, OA Email

หลักสูตรฯ ได้เชิญวิทยากรพิเศษซึ่งเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จมาให้ความรู้และแบ่งปันประสบการณ์กับนักศึกษา และเชิญวิทยากรมาบรรยายรูปแบบใหม่ในการเสนอแนวคิด ในหัวข้อเรื่อง "ESG for Sustainable Business นิยามใหม่สู่อนาคตแห่งความยั่งยืนทางธุรกิจ"

นอกจากนี้นักศึกษาทุกคนได้รับการอบรม Business Simulation Game ที่เป็นเกมส์จำลองด้านการบริหารธุรกิจ เพื่อพัฒนาทักษะให้นักศึกษาสาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการได้เรียนรู้การทำธุรกิจในสถานการณ์จำลอง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมที่ระบุถึงการพัฒนาทักษะนักศึกษาในแต่ละด้านให้ชัดเจน
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติ การสร้างผลงานวิจัยจากการศึกษาในชั้นเรียนของวิชา MGT603 วิธีวิทยาการวิจัยทางธุรกิจ มีการประเมินกระบวนการและปรับปรุงพัฒนากระบวนการเพื่อลดปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการวิจัย เช่น การให้เวลาในการทำวิจัยเพิ่มมากขึ้น การให้ผู้สอนติดตามการวิจัยอย่างใกล้ชิด การจับคู่ทำงานวิจัย เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แผนธุรกิจของนักศึกษาหากพัฒนาจนสามารถนำไปใช้ได้จริง จะนับได้ว่านำไปใช้ประโยชน์ได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในเวลาทุกคน
การสำเร็จการศึกษามีแนวโน้วดี 

1. ปีการศึกษา 2563 มีการรับนักศึกษาเข้าใหม่ จำนวน 29 คน และสำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2564 จำนวน 29 คน (สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2564 100%)

2. ปีการศึกษา 2564 มีการรับนักศึกษาเข้าใหม่ จำนวน 19 คน และสำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2565 จำนวน 19 คน (สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2565 100%)

2. ปีการศึกษา 2565 มีการรับนักศึกษาเข้าใหม่ จำนวน 31 คน และสำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2566 จำนวน 31 คน (สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2566 100%)


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.45
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.46
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.48
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษามีแนวโน้มดี (ปีการศึกษา 2564 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45, ปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 และปีการศึกษา 2566 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48)

- ผลการจัดการร้องเรียนของนักศึกษา หลักสูตรฯ มีการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษาอย่างเป็นขั้นตอน โดยร้องเรียนทางตรงผ่านอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และร้องเรียนทางอ้อมผ่านระบบ Social Media เมื่อได้รับข้อร้องเรียนจะดำเนินงานตามขั้นตอนทันที่ จากปีการศึกษา 2566 ได้รับข้อร้องเรียนเกี่ยวกับอุปกรณ์เชื่อมต่อ เช่น ปลั๊กไฟไม่เพียงพอกับการใช้คอมพิวเตอร์ของนักศึกษา อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น Ipad ไม่สามารถเชื่อมต่อกับ LCD ได้ จึงได้ขอความอนุเคราะห์จากสำนักงานอาคารและสิ่งแวดล้อมในการอำนวยสะดวกติดตั้งปลั๊กไฟและแก้ไขอุปกรณ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีผลการดำเนินงานดีขึ้นในทุกเรื่อง
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร MM มีระบบและกลไกนำไปสู่ปฏิบัติ โดยการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณภาพตรงกับความต้องการของหลักสูตร

ในปีการศึกษา 2566 มีการทบทวน ระบบการคัดเลือกอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรว่าอาจารย์ที่จะรับเข้ามา จะต้องเป็นอาจารย์ที่สามารถเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระได้ และในปีการศึกษา 2566 ได้เรียนเชิญอาจารย์ที่ปรึกษาเข้ามาเสริมทีมเพิ่มเติม ได้แก่ ดร.ศรร์ สุทธิคุณ โอรัญรักษ์ ซึ่งพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจในอาจารย์ที่ปรึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตร MM มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติ และมีการประเมินกระบวนการเรื่องการบริหารอาจารย์อย่างต่อเนื่อง

หลักสูตรมีการมอบหมายงานด้านการเรียนการสอนให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ตั้งแต่ต้นปีการศึกษาและตลอดปีการศึกษามีการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรเป็นระยะ ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ ทำให้เกิดความร่วมมือและรู้ขอบเขตความรับผิดชอบ 

ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 4 ครั้ง มอบหมายภาระงานหลักตามความชำนาญของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ภายหลังการมอบหมายงานพบว่า (1) ด้านภาระงานสอน นักศึกษามีความพึงพอใจในการสอนระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75) (2) ด้านภาระงานให้คำปรึกษานักศึกษา มีการกระจายภาระงาน ทำให้แนวโน้มการสำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับสูง (3) ด้านภาระงานการทำงานวิชาการ อาจารย์แต่ละท่านมีผลงานร่วมกับนักศึกษาของตนเอง และ (4) ด้านภาระงานการบริการวิชาการและกิจกรรมอื่น หลักสูตรมีการจัดโครงการฝึกอบรมให้กับนักศึกษา ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอกที่น่าสนใจ 

ในปีการศึกษา 2566 มีการประเมินกระบวนการเรื่องการบริหารอาจารย์ พบว่า อัตราคงอยู่ 100% อัตราความพึงพอใจในการทำงานมีแนวโน้มสูงขึ้น และมีประสิทธิภาพในการทำงานหลายด้าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตร MM มีระบบและกลไกนำไปสู่การปฏิบัติ และมีการประเมินกระบวนการด้วยการประชุมอาจารย์ประจำเป็นระยะ ๆ เพื่อกระตุ้นให้อาจารย์สร้างผลงานวิชาการและตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน

หลักสูตรมีการทำแผนและมีขั้นตอนในการพัฒนาอาจารย์ระดับบุคคลเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ (Individual Development Plan for Academic Ranks; IDPAR) ในปีการศึกษา 2566 มีการทบทวนประเมินผลงานวิชาการของอาจารย์ โดยการนำ IDPAR ของอาจารย์แต่ละท่านปรึกษาในที่ประชุมอาจารย์เพื่อทบทวนและวางแผนการผลิตผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น และในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีจำนวนบทความตีพิมพ์เผยแพร่ 66 บทความ ได้แก่  (1) บทความที่มีค่าน้ำหนัก 0.8 จำนวน 2 บทความ  (2) บทความที่มีค่าน้ำหนัก 0.6 จำนวน 5 บทความ และ (3) บทความที่มีค่าน้ำหนัก 0.4 จำนวน 59 บทความ ซึงผลรวมถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 16.4 (ร้อยละ 546.67) เทียบคะแนนเท่ากับ 5 (ปีการศึกษา 2566 มีผลรวมถ่วงน้ำหนักมากกว่า 3 ปีการศึกษาก่อนหน้า และมีจำนวนบทความมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในแผนการพัฒนาตนเองในการพัฒนาอาจารย์ควรระบุถึงเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนา เพื่อนำมาประเมินว่าได้บรรลุเป้าหมายหรือไม่ 
- ควรเร่งให้อาจารย์ที่ยังไม่มีตำแหน่งวิชาการทำการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผ่านเกณฑ์ มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 3 ท่าน (100%)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 80 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ (ร้อยละ 0) ส่งเสริมให้อาจารย์ผลิตผลงานที่มีคุณภาพเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 59 0 5 2 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 16.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 546.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ปีการศึกษา 2566 มีจำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิตชอบหลักสูตรที่ได้รับการตีพิมพ์จำนวน 66 ชิ้นงาน (เทียบได้ 5 คะแนน)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรส่งเสริมให้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจำหลักสูตร คิดเป็นอัตราคงอยู่ร้อยละ 100 (ตั้งแตปีการศึกษา 2564-2566)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.66
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.77
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.88
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ปีการศึกษา 2566 อาจารย์มีความพึงพอใจเท่ากับ 4.77 สูงกว่าปีการศึกษา 2565 และ 2564 (ระดับความพึงพอใจเท่ากับ 4.55 และ 4.66 ตามลำดับ)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มผลการดำเนินงานดีขึ้นในทุกเรื่อง

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

10
10
100.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบและกลไกนำไปสู่ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย มีการทวนสอบอย่างชัดเจนและมีกระบวนการ

ปีการศึกษา 2566 มีการทบทวนคำอธิบายรายวิชาจำนวน 2 รายวิชา ได้แก่ DBS611 การพาณิชย์ดิจิทัล เพิ่มการเรียนรู้คู่กับการปฏิบัติจริง, MME661 หัวข้อพิเศษสำหรับการเป็นผู้ประกอบการ จัดในลักษณะโครงการ The7Masters by MM มีการเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์การเป็นผู้ประกอบการในภาคธุรกิจมาให้ความรู้กับนักศึกษา

มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน

ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรได้ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้มีความทันสมัย และสามารถเชื่อมโยงกับการนำไปใช้จริง จำนวน 2 รายวิชา ได้แก่ DBS611 การพาณิชย์ดิจิทัล เพิ่มการเรียนรู้คู่กับการปฏิบัติจริง, MGT601 การจัดการและพฤติกรรมองค์การ มีการเพิ่มหัวข้อเกี่ยวกับการทำให้เกิดความยั่งยืนในการทำธุรกิจด้วยการใช้ ESG (Environment Social Governance)

ผลที่นักศึกษาได้รับจากการศึกษา มีประโยชน์อย่างมากเพราะสามารถไปปรับใช้ในการดำเนินธุรกิจได้เป็นอย่างดี
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร MM ปีการศึกษาปัจจุบันมีจำนวนหน่วยกิตทั้งหลักสูตร 36 หน่วยกิต มีรายวิชาแบ่งเป็น 4 หมวด ได้แก่ หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน หมวดวิชาบังคับ หมวดวิชาเลือก วิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยหลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้มีเนื้อหาในการเรียนการสอนที่ทันสมัยมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ปีการศึกษา 2566 มีการทบทวนคำอธิบายรายวิชาจำนวน 2 รายวิชา ได้แก่ DBS611 การพาณิชย์ดิจิทัล เพิ่มการเรียนรู้คู่กับการปฏิบัติจริง, MME661 หัวข้อพิเศษสำหรับการเป็นผู้ประกอบการ จัดในลักษณะโครงการ The7Masters by MM มีการเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์การเป็นผู้ประกอบการในภาคธุรกิจมาให้ความรู้กับนักศึกษา ซึ่งนักศึกษามีผลตอบรับของโครงการอย่างดียิ่ง

ผลการดำเนินงานชัดเจนอย่างเป็นรูปธรรม โดยพบว่านักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ได้นำความรู้ไปต่อยอดในธุรกิจของตนเอง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-


 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ได้แก่ ด้านบุคคลผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม และความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อาจนำผลประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตมาประกอบการปรับปรุงกระบวนการมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรได้ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาให้มีความทันสมัย และสามารถเชื่อมโยงกับการนำไปใช้จริง จำนวน 2 รายวิชา ได้แก่ DBS611 การพาณิชย์ดิจิทัล เพิ่มการเรียนรู้คู่กับการปฏิบัติจริง เช่น การยิงโฆษณาในเพจ Facebook การวิเคราะห์ Data Analytic การทำธุรกิจใน TikTok เป็นต้น, MGT601 การจัดการและพฤติกรรมองค์การ มีการเพิ่มหัวข้อเกี่ยวกับการทำให้เกิดความยั่งยืนในการทำธุรกิจด้วยการใช้ ESG (Environment Social Governance) โมเดลในการพัฒนาธุรกิจรูปแบบใหม่

ผลจากการปรับปรุงรายวิชา ทำให้นักศึกษาสามารถในความรู้ในการทำตลาดดิจิทัลที่ได้ปฏิบัติในห้องเรียน ไปทำการต่อยอดกับธุรกิจตนเอง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีการการวางระบบการจัดทำค้นคว้าอิสระ ติดตาม ช่วยเหลือการทำวิทยานิพนธ์และค้นคว้าอิสระและตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานที่เห็นผลชัดเจนจากการเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาและการสำเร็จการศึกษาภายในเวลาที่กำหนด 100 %
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกโดยกำหนดผู้สอนจากประสบการณ์ความเชี่ยวชาญของอาจารย์แต่ละท่าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไก โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรมีความเข้าใจในการจัดทำแผนการเรียนรู้ มคอ.3, มคอ.4, มคอ.5 และ มคอ.6 มากขึ้น
ปีการศึกษา 2566 มีการติดตามการรายงานผลการสอนของอาจารย์ผู้สอน และได้เสนอแนะให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละรายเชิญวิทยากรพิเศษเข้าร่วมบรรยาย เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากผู้อยู่ในสายงานบริหารธุรกิจและเห็นภาพจากการปฏิบัติจริงมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาตั้งแต่การเรียนในรายวิชา MGT604 การเป็นผู้ประกอบการและการวิเคราะห์แผนธุรกิจ เพื่อให้ได้หัวข้อในการทำวิจัย/หัวข้อในการทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีการผลักดันให้นักศึกษาในหลักสูตรขึ้นหัวข้อการศึกษาค้นคว้าอิสระและวิทยานิพนธ์ โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละท่านเร่งรัดเวลาในการขึ้นสอบและทำเล่มให้ทันตามกำหนดการของบัณฑิตวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรดำเนินการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาตามขั้นตอนของบัณฑิตวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-มีการกำหนดเวลาที่ชัดเจน และนักศึกษาสามารถปฎิบัติตามกำหนดได้  รวมทั้งมีการหาแหล่งตีพิมพ์ผลงานให้กับนักศึกษา จนสามารถสำเร็จการศึกษาตามกำหนด 

หลักสูตรมีการช่วยเหลือ กำกับ ติดตามให้กับนักศึกษาในการทำผลงานวิจัยและเผยแพร่ผลงานอย่างใกล้ชิด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไก โดยมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร

หลักสูตรฯ ได้กระจายความรับผิดชอบการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แบ่งออกเป็น 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านทักษะการวิจัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการทวนสอบในหมวดวิชาบังคับ 5 รายวิชา เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการติดตาม และจัดทำการประเมินการจัดการเรียนการสอนในทุกรายวิชาที่เปิดสอน รวมถึงการประเมินหลักสูตรตามข้อกำหนดของสำนักมาตรฐานวิชาการ โดยมีการจัดทำ มคอ. 5 ในแต่ละรายวิชาที่เปิดสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการจัดประเมินวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระ โดยมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีการประเมินในหัวข้อเรื่องแนวคิดและกระบวนการทางวิชาการรองรับ, การเรียบเรียงลำดับความคิดในบทความเป็นไปตามระเบียบวิธีวิจัย, ผลลัพธ์ของบทความมีคุณค่าทางวิชาการ, สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสังคม ธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือการบริการได้, เป็นงานที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และเป็นงานที่แสดงให้เห็นความคิดสร้างสรรค์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 มีบุคลากรจำนวน 1 คน โดยได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/ วิชาชีพ จำนวน 8 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.48 คะแนน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคะแนนประเมินความพึงพอใจของผู ใช้บัณฑิตต่อบัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.53 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 10 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคะแนนประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน จำนวน 10 รายวิชา มีคะแนนเฉลี่ย 4.75
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (มีคะแนนเฉลี่ย 4.70)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. มีการปรับปรุงห้องสมุดให้กับนักศึกษาโดยเฉพาะ เอื้อประโยชน์ให้นักศึกษาสามารถค้นคว้า หาข้อมูลในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระได้สะดวกและเร็วขึ้น
2. หลักสูตรฯ มีการดำเนินงานเป็นรูปธรรมชัดเจน เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และสามารถไปประยุกต์ใช้ให้กับการพัฒนาตนเองและการพร้อมเป็นผู้ประกอบการ เช่น มีการจัดห้องสมุดกลางระดับบัณฑิตศึกษาของคณะบริหารธุรกิจไว้ในห้อง Graduate Lounge ชั้น 3 สำหรับการค้นคว้าเพิ่มความรู้ และมีการใช้ Business Stimulation Game สำหรับการทำกิจกรรมเสริมหลักสูตรในการจำลองสถานการณ์ทางธุรกิจให้นักศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบกลไกในการดำเนินการต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพื่ออำนวยความสะดวกให้นักศึกษามีการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีโปรแกรมจากมหาวิทยาลัยสำหรับตรวจสอบการคัดลอกวิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าอิสระ เช่น Turn-in-it
มีการใช้ Application ในการเรียนการสอน
การใช้ Business Stimulation Game สำหรับการทำกิจกรรมเสริมหลักสูตรในการจำลองสถานการณ์ทางธุรกิจให้กับนักศึกษา
มีการใช้ Line / E-mail เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร
มีการใช้ Facebook เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์
มีการจัดห้องสมุดกลางระดับบัณฑิตศึกษาของคณะบริหารธุรกิจไว้ในห้อง Graduate Lounge ชั้น 3 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเปรียบเทียบตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 - 2566 เท่ากับ 4.62, 4.64, 4.68 และ 4.70 ตามลำดับ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ที่มีการใช้งานประจำ เช่น เครื่องเสียง โต๊ะ เก้าอี้ ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ ให้มีความพร้อมใช้งานเสมอ หรือหากมีการใช้งานนาน ควรมีการเปลี่ยนเมื่อตัดค่าใช้จ่ายค่าเสื่อมราคาไปครบอายุทรัพย์สินแล้ว 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์มีผลงานวิชาการได้รับการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1 และกลุ่ม 2
  2. นักศึกษามีสร้างผลงานวิชาการในชั้นเรียนอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการในระดับชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสร้างผลงานวิชาการ และนำเสนอผลงาน เพื่อขอตำแหน่งวิชาการได้
  2. ควรส่งเสริมให้นักศึกษานำผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI มากขึ้น เพื่อให้มีคะแนนถ่วงน้ำหนักเพิ่มขึ้น
  3. ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาใหม่ผ่านช่องทางออนไลน์อื่น ๆ รวมถึงการแนะนำบอกต่อมากขึ้น รวมถึงการจัดกระบวนการรับสมัครเพื่อให้ผู้สนใจตัดสินใจสมัครเข้าศึกษาต่อมากขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.53
2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และหรือเผยแพร่ 3.71
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.33
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.81

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.12 4.12 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.44 - - 3.44 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.62 4.00 4.12 3.81 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก