รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

วันที่ประเมิน: 4 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้ง 5 คน มีคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ประจำหลักสูตร มี 6 คน ซึ่งมีคุณสมบัติและผลงานวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
อาจารย์พิเศษ มีคุณสมบัติและการให้รายละเอียดเกี่ยวกับวุฒิการศึกษา สถาบันและปีที่สำเร็จการศึกษา ครบถ้วน และถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และอาจารย์พิเศษที่ทางหลักสูตรเชิญมา มีคุณวุฒิและประสบการณ์ตรง และเป็นผู้มีชื่อเสียง
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ทางหลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร และได้ส่งเล่มหลักสูตรให้กับมหาวิทยาลัย เพื่อดำเนินการพิจารณาตามขั้นตอนแล้ว
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 66 4.54
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 16
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.54
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.ผลการประเมินคุณภาพบัณฑิต อยุ่ในเกณฑ์สูงมาก ในทุกด้านตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และผลลัพธ์ผุ้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561
2.การประเมินคุณภาพบัณฑิตใช้ข้อมูลที่เป็นผลการสำรวจความพึงพอใจของนายจ้างของบัณฑิต สำเร็จการศึกษาในปี 2565 จำนวน 16 คน จาก 66 คน คิดเป็นร้อยละ 24.24 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ขั้นต่ำ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในปีต่อไปขอให้เพิ่มจำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินเพื่อให้ผลการประเมินมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 66 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 55
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 44
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 8
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี  100% สูงมากและเป็นไปอย่างต่อเนื่องในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา 
แนวทางเสริม 
     1. ขอให้หลักสูตรเก็บรายละเอียดข้อมูล การได้งานทำครั้งแรกของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในวิชาชีพบัญชีด้านใด และไม่อยุ่ในวิชาชีพบัญชี เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
     2. ขยายเวลาการสำรวจ เพื่อให้สามารถเพิ่มจำนวนบัณฑิตที่สำรวจให้ได้ 90%
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.77 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน การดำเนินการในการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมในแต่ละปีผ่านการปรับปรุงกระบวนการมาจากปีที่ผ่าน และส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินการและโครงการ
2.การจัดโครงการเตรียมความพร้อมส่งผลที่ดีต่อรายวิชา ACC110 หลักการบัญชี ทำให้จำนวนของนักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน (เกรด F) ซึ่งคิดเป็นอัตราคงที่ต่อเนื่อง 3 ปี ตั้งแต่ ปี 2563-2565 ซึ่งในปี 2565 คิดเป็นร้อยละ 0.00  ในปี 2564 คิดเป็นร้อยละ 0.00 และในปี 2563 คิดเป็นร้อยละ 0.00 และอัตราการเลื่อนชั้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ขึ้นปีที่ 2 ดีขึ้น โดยในปี 2566 คิดเป็นร้อยละ 100.0 ปี 2565 คิดเป็นร้อยละ 97.84 และในปี 2564 คิดเป็นร้อยละ 93.42
3.หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาใหม่มากกว่าเป้าหมายการรับนักศึกษาที่กำหนดในเล่ม RQF.2 และมีการกำหนดคุณสมบัติการรับนักศึกษาใหม่ชัดเจน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สามารถรับนักศึกษาได้เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก เมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2565 ด้วยผลงานของนักศึกษาที่มีความโดดเด่นและการประชาสัมพันธ์ที่ได้รับการปรับปรุง
แนวทางเสริม
     ควรดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนักเรียนและผู้ปกครอง โดยให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซึ่งทางหลักสูตร น่าจะมีการสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อตัดสินใจเรียน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงการเตรียมความพร้อมก่อนเรียนมาโดยตลอดตั้งแต่ปีการศึกษา 2564  ทำให้โครงการที่ดำเนินการมีวัตถุประสงค์ชัดเจนและส่งผลต่อการเรียนวิชาหลักการบัญชี  และหลักสูตรมีอาจารย์ที่มีความสามารถในการดำเนินการโครงการฯ  ทำให้นักศึกษามีความพึงพอใจและได้รับความรู้ตรงตามวัตถุประสงค์โครงการ
แนวทางเสริม
   อาจเพิ่มกิจกรรมที่น่าสนใจลงไปในโครงการเตรียมความพร้อม เช่น  การเสวนากับผู้ประกอบวิชาชีพ  เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจในคุณค่าของวิชาชีพบัญชี  และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนให้สำเร็จ
2.หลักสูตรมีระบบและกลไล มีการนำผลการดำเนินงานจากปีก่อนหน้ามาประเมินและปรับปรุง ให้มีกิจกรรมที่หลากหลาย มีอาจารย์ และรุ่นพี่ให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด นำมาซึ่งอัตราการเลื่อนชั้นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ขึ้นปีที่ 2 ดีขึ้นในปีการศึกษา 2566 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 5
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.มีการนำระบบและกลไกไปสู่ภาคปฏิบัติ มีการประเมินกระบวนการดำเนินงาน จนเกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมคือ ระบบการจัดการด้านอาจารย์ที่ปรึกษาในปี 2566 คณะบัญชีกำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละท่านดูแลนักศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษาไม่เปลี่ยนแปลง  ทำให้นักศึกษาเข้าถึงอาจารย์ที่ปรึกษาได้สะดวกเกิดสัมพันธ์ภาพที่ดีระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา  ด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีระบบและกลไก มีการนำระบบและกลไกไปสู่ภาคปฏิบัติ และมีกระบวนการในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการประเมินกระบวนการและดำเนินการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของหลักสูตร ส่งผลให้ในปีการศึกษา 2566 สามารถส่งนักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันและได้รับรางวัลในระดับประเทศ
2.กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา Soft Skills ให้กับนักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ได้รับรางวัลดีเด่นจากรางวัลแนวปฏิบัติที่ดีประจำปีการศึกษา 2566 ถ่ายทอดผ่านทาง (https://rkms.rsu.ac.th/outstanding66-1-1/)
3.ด้านการพัฒนานักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ในปีการศึกษา 2566 มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชา ACC 456  จำนวนทั้งสิ้น 2 คน โดยจัดทำเป็นรายงานการค้นคว้าอิสระ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ได้รายงานผลการเรียนรู้  นักศึกษาได้รู้จักขั้นตอนการทำวิจัย  การเขียนรายงานทางวิชาการ  และการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ  นอกเหนือจากความรู้ที่เป็นผลการศึกษา  และการส่งเสริมให้นักศึกษาให้นักศึกษาเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างนวัตกรรมเตรียมตัวสู่เวที Startup Thailand League 2023 ซึ่งจัดโดยสำนักงานบ่มเพาะธุรกิจและทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยรังสิต
4.มีระบบและกลไกในการพัฒนานักศึกษาทั้งในทางวิชาการและการพัฒนาทักษะ รวมทั้งลักษณะส่วนบุคคล  ทางหลักสูตรวางแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างชัดเจนในการพัฒนานักศึกษา โดยดำเนินการปรับปรุงกระบวนการในรูปแบบต่างๆ  ส่งผลให้นักศึกษาประสบความสำเร้จในการเรียน มีผลงานได้รับรางวัลจากเวทีระดับชาติหลายรางวัลอย่างต่อเนื่อง  

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีระบบและกลไกการควบคุมดูแลให้คำปรึกษาแ่กนักศึกษา โดยเฉพาะระบบอาจารย์่อาจารย์ที่ปรึกษาที่เข้มแข็ง พร้อมกับการประสานงานระหว่างชั้นปีและหัวหน้าหลักสูตรในการให้คำแนะนำนักศึกษาในการจัดแผนการเรียน การให้คำปรึกษา และการช่วยแก้ไขปัญหาให้กับนักศึกษา
แนวทางเสริม 
    การเปิดช่องทางการติดต่อกับนักศึกษาหลายช่องทางเป็นการดี แต่ทางหลักสูตรควรกำหนดกติกาในการใช้บริการ เช่น เวลาในการติดต่อสื่อสารกับอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นต้น เพื่อเป็นการปลูกฝังในเรื่องการเคารพสิทธิของผู้อื่น
2.หลักสูตรมีระบบและมีการกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาที่เหมาะสม มีการการจัดอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อดูแลนักศึกษาเฉพาะกลุ่ม มีระบบการติดตามประเมินผลอาจารย์ที่ปรึกษา มีการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการลงทะเบียน และมีการจัดทำแผนการจัดการความเสี่ยงสำหรับนักศึกษากลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาเรื่องเกรด ส่งผลให้ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรสามารถดำเนินการได้จนได้รับรางวัลแนวปฏิบัติที่ดีในปีการศึกษา 2566
แนวทางเสริม
     ควรประสานความร่วมมือกับองค์การวิชาชีพบัญชี ในการพัฒนาทักษะเทคนิคทางวิชาชีพต่อไป  ภายใต้บันทึกความร่วมมือทางวิชาการที่มีและที่ควรแสวงหาเพิ่มเติม ที้งในประเทศและต่างประเทศ  
    ควรพัฒนาทักษะอีกด้านหนึ่งที่สำคัญมากสำหรับนักศึกษาบัญชีในอนาคต คือ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และการนำเสนอด้วยวาจา  
2.หลักสูตรมีแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้ความสามารถของนักศึกษาในด้านต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกหลักสูตร โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งมีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ นักศึกษาได้รับรางวัลต่างๆ และนักศึกษามีโอกาสได้รับคัดเลือกเข้าทำงานกับสถานประกอบการมากขึ้น ในปีการศึกษา 2566 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัยของนักศึกษาในหลักสูตร ด้วยการวางแผนการเปิดรายวิชา ACC456 การค้นคว้าอิสระ คู่กับ วิชา ACC499 ฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ เพื่อให้นักศึกษาเสนอโครงงานการค้นคว้าอิสระโดยการประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัย ในการผลิตงานสร้างสรรค์และนวัตกรรม และยังมีการประสานงานกับสำนักงานบ่มเพาะธุรกิจและทรัพย์สินทางปัญญา ให้นักศึกษาเข้าร่วมอบรมเชิง ปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างนวัตกรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อเสนอแนะ
  หลักสูตรสามารถที่ผลักดันให้เกิดผลงานวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในเวที่ที่เหมาะสม โดยการบูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ  เช่น วิชาการวิเคราะห์งบการเงิน  วิชาสัมมนาการบัญชีและภาษีอากร  เป็นต้น  โดยตั้งประเด็นปัญหาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อสอนในรายวิชาดังกล่าว  ซึ่งทางหลักสูตรอาจจะจัดแผนการเรียนให้กับนักศึกษาที่สนใจเรียนวิชาการค้นคว้าอิสระ หรือวิธีการวิจัย  และจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษา 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 92.38
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 94.44
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 88.16
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แม้ว่าอัตราการคงอยู่ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาไม่ดี แต่อัตราร้อยละการคงอยุ่ยังคงสูง มากกว่า 88% ขึ้นไป
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 86.67
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 93.06
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 82.89
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แม้ว่าอัตราการสำเร็จการศึกษา ภายในระยะเวลาที่กำหนด จะมีแนวโน้มที่ไม่ดี แต่ยังมีอัตราร้อยละที่สูง ซึ่งทางหลักสูตรได้ชี้แจงถึงปัจจัยสาเหตุ ที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอก
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.61
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.62
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.68
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียน การให้คำปรึกษา การพัฒนานักศึกษาในทุกด้าน ในระดับสูงมากที่สุดอย่างต่อเนื่อง
แนวทางเสริม
    พยายามเพิ่มบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการนักศึกษา ในการเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนานักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.มีระบบและกลไกการบริหารและพัฒนาอาจารย์อย่างชัดเจน ภายใต้งบประมาณจำกัด  ทำให้เกิดการพัฒนาอาจารย์ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอาจารย์ สามารถดำเนินการได้ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การใช้เงินงบประมาณในการบริหารจัดการและพัฒนาอาจารย์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  มีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม
2.หลักสูตรมีการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ จนเกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม อาจารย์ได้รับการพัฒนาตนเองในด้านวิชาชีพ วิชาการทั้งภายในและองค์กรภายนอก การศึกษาต่อ และการผลิตผลงานเข้าสู่ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.สามารถแก้ไขปัญหาด้านการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบในหลักสูตรได้ทันเวลา ทำให้หลักสุตรสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง การสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีระบบและขั้นตอนชัดเจน  ทำให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
แนวทางเสริม
    หลักสูตรอาจจะขอเพิ่มอัตรากำลังบุคลากรสายสอน โดยกำหนดคุณสมบัติให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร  เนื่องจากจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น  ซึ่งจะเป้นประโยชน์ต่อการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ผู้รับผิ่ดชอบหลักสูตรในอนาคต 
2.หลักสูตรมีแผนรองรับการปรับปรุงรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ดี ถึงจะมีการลาออก และไม่มีการรับอาจารย์ใหม่ ก็สามารถจัดเตรียมความพร้อมด้านคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตรให้สามารถทดแทนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และดำเนินการได้ภายใต้กรอบระยะเวลาที่กำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีระบบและกลไกในการบริหารอาจารย์ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้การมอบหมายงาน การกำกับดูแลการปฏิบัติงาน รวมทั้งการประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นไปตามกฎข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 
2.อาจารย์ประจำหลักสูตร มีความร่วมมือในการทำงานเป็นอย่างดี

3.หลักสูตรมีระบบและกลไกในการบริหารอาจารย์ มอบหมายภาระงานชัดเจน และครบด้านตามพันธกิจของหลักสูตร และของมหาวิทยาลัย มีการติดตาม ประเมิน หารือเพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหารอาจารย์อย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่ระดับความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในระดับมากที่สุด 3 ปีต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตร ต้องทบทวนมาตรการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เพื่อให้อาจารย์สามารถเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบและกลไกในการส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งการเพิ่มคุณวุฒิการศึกษาโดยสนับสนุนการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น   การพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ วิชาชีพ และวิจัย โดยให้อาจารย์ประจำทุกคนทำแผนการพัฒนาตนเอง
2. มีระบบการติดตามผลการพัฒนาตนเอง 
3. หลักสูตรมีระบบและกลไกการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ชัดเจน โดยอาจารย์ทุกคนมีแผนพัฒนาตนเองเป็นรายบุคคล มีการกำหนดเป้าหมาย มีมาตรการส่งเสริมให้อาจารย์พัฒนาตนเองจนสามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนดได้ในปีการศึกษา 2566
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตร ควรทบทวนมาตรการส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการให้กับอาจารย์ประจำ  เพื่อให้สามารถเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ  โดยจัดสัมมนาระดมสมองในการพัฒนาคุณภาพการผลิตผลงานวิจัย และแนวทางในการส่งเสริม 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 40.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 1 3 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 68.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตร มีผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.44 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 80.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ประจำหลักสตร มีความร่วมมือในการทำงานกันอย่างดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

26
26
100.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรดำเนินการด้วยระบบและกลไกที่ทำให้หลักสูตรและสาระวิชามีการปรับปรุงให้ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ในศาสตร์สาขาวิชาการบัญชี และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศ การเงินและการลงทุน  
และมีนวัตกรรมหลักสูตร โดยเปิดทางเลือกแผนการศึกษา แบบสหกิจศึกษา  และแบบ 3+1 คือ การเทียบผลการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงในหน่วยงานภาคธุรกิจ  1 ภาคการศึกษาเป็นผลการเรียนรายวิชาได้ 2 รายวิชา และสหกิจศึกษาอีก 1 ภาคการศึกษา
2.หลักสูตรที่เปิดดำเนินการสอน ได้รับการรับรองปริญญาตรีทางการบัญชีจากสภาวิชาชีพบัญชี  และทางหลักสูตรได้วางระบบและกลไกในการติดตามตรวจสอบการปรับปรุงกระบวนวิชา โดยปรากฎในแผนการจัดการเรียนรู้ และรายงานผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้  มีผลการประเมินการสอนในทุกรายวิชาอยู่ในระดับดีมากถึงดีมากที่สุด
3.หลักสูตรมีการปรับปรุงและประเมินสาระหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เน้นความทันสมัย วิทยาการที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรมกับผู้มีส่วนได้เสีย ในการออกแบบหลักสูตรและปรับปรุงเนื้อหาการเรียนมีการบูรณาการเข้ากับรายวิชาอย่างชัดเจน เพื่อยกระดับมาตรฐานวิชาชีพ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ในศาสตร์สาขาวิชาการบัญชี และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักคิดในการออกแบบหลักสูตร ให้ความสำคัญต่อความต้องการของผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ส่งผลให้ได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพบัญชี  ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้สำเร็จการศึกษาในการเข้าสู่กระบวนการทางวิชาชีพ
หลักสูตรมีการปรับปรุงตามระยะเวลา และสามารถดำเนินการให้ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 
2.มีการปรับสาระรายวิชา ของวิชาจำนวนร้อยละ 100 ของวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตร เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนในสิ่งที่ทันสมัยและใช้ได้จริงมากขึ้น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การกำหนดผลลัพธ์ผู้เรียน และมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ  มีความสอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีระบบและกลไกในการกำกับติดตาม การปรับปรุงกระบวนวิชาที่เปิดสอนทั้งหมดให้มีความทันต่อเหตุการณ์ เป็นประโยชน์กับนักศึกษาอย่างเห็นได้ชัดเจน
2.มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงในศาสตร์สาขาวิชาการบัญชี และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 5
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีระบบและกลไกในการจัดการเรียนการสอนและการกำหนดผู้สอน  มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องซึ่งนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทำงาน จนเกิดผลลัพธ์เป็นรูปธรรม เช่น หลักสูตรสามารถดำเนินงานโครงการบูรณาการการจัดการเรียนการสอน และการวิจัย ได้ตามวัตถุประสงค์ของแผนโครงการที่ได้มีการปรับปรุงจากปีก่อน และมีแนวทางปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้รับรางวัลดีเด่นในปีการศึกษา 2565 ซึ่งยังคงนำมาปฏิบัติได้ดีจนถึงปัจจุบัน 
2.มีแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนการสอน โดยมีระบบและกลไกการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์  และความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
3.หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงการดำเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ในการจัดผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ได้ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะให้นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้นักศึกษามีคุณภาพและมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนและอาจารย์ผู้สอนในระดับดีขึ้นไป
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีการใช้เครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพ และผุ้ประกอบวิชาชีพ  ในการสอน  ทำให้เกิดศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งมีผลลัพธ์เชิงประจักษ์ทั้งจากการผลการประเมินการสอน  และความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตร
2.หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงการดำเนินงานตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ ดังแสดงเป็นผลประเมินการสอนของอาจารย์อยู่ในระดับดี-ดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรวางแผนความสำเร็จในการจัดผู้สอน  เพื่อรองรับการลาออกของอาจารย์ในอนาคต และลดผลกระทบต่อการจัดผู้สอน
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีแผนปฏิบัติในการบูรณาการสอนกับการบริการวิชาการ  ทีั้งในรูปแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตร และกิจกรรมบูรณาในรายวิชา  ซึ่งมีการวางแผนกำหนดเป้าหมาย  การดำเนินการ และการติดตามประเมินผลอย่างชัดเจน
2.หลักสูตรได้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีการบูรณาการงานบริการวิชาการให้ความรู้แก่นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบและกลไกการดำเนินการด้านการประเมินผู้เรียน  ตั้งแต่เริ่มแผนการจัดการเรียนรู้  การติดตามประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้  และการทวนสอบซึ่งมีทีั้งโครงการซึ่งประเมินในระดับชั้นปี และรายวิชา ส่งผลต่อการปรับปรุงการดำเนินการ และมีผลลัพธ์คือผลลัพธ์การเรียนรุ้ตามหลักสูตรกำหนด  และตรวจสอบได้ด้วยหลักฐานรายงานการทวนสอบ และการกระจายคะแนนของวิชาต่าง ๆ  
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีกระบวนการประเมินผลลัพธ์การเรียนรุ้ทั้งในระดับวิชา และระดับชั้นปี ที่ชัดเจน และจัดทำรายงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานักศึกษา
2.มีระบบกลไก การนำไปปฏิบัติ และการทวบทวนกระบวนการที่ดี โดยแยกผลการทวนสอบตามผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังแต่ละชั้นปีที่ชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเตรียมความพร้อมสำหรับการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568 ซึ่งจะต้องมีระบบข้อมูลรองรับในการบันทึกและติดตามการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สามารถดำเนินการได้ 100%
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 15 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 15
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.มหาวิทยาลัยมีสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่พร้อมต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา มีห้องเรียนห้องปฏิบัติการ และจำนวนสิ่งสนับสนุนนี้มีความเพียงพอต่อนักศึกษา  มีเทคโนโลยีที่มีความทันสมัย ซึ่งนักศึกษาทุกคนสามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยในระหว่างการเรียน ทำให้การเรียนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกจากนี้หลักสูตรฯ มีการนำโปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชีทั้งระบบคลาวด์ และระบบ ERP ในการจัดทำบัญชีมาใช้ในการเรียนการสอน และมีการประยุกต์ใช้รูปแบบการสอนในห้องเรียนเป็นการสอนผ่านระบบออนไลน์ เช่น Zoom, Microsoft team, Google meet, Line group รายวิชา, Facebook และ Webex โดยมีศูนย์ RSU Cyber University มหาวิทยาลัยรังสิต ให้คำแนะนำแก่อาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ สำหรับจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งจะเห็นได้ว่า หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกในการเพิ่มประสิทธิภาพของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อาจารย์ทุกท่านมีส่วนในการนำระบบดังกล่าวมาสู่การปฏิบัติ ทั้งมีการประเมินเพื่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุง สามารถสร้างความพึงพอใจของนักศึกษา ได้คะแนนประเมิน 4.17
2.มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการสิ่งสนับสนุนและอำนวยความสะดวก แก่นักศึกษาและอาจารย์ประจำหลักสูตร และสามารถดำเนินการให้มีการใช้ในการเรียนการสอน ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งนักศึกษามีความพึงพอใจ 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก ที่ชัดเจนในการดำเนินงานตามแผนงานที่มีการวางเป้าประสงค์ เพื่อเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ และเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาในยุคดิจิทัล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรฯ มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี สำหรับฝึกปฏิบัติ และค้นคว้าข้อมูลที่เพียงพอสำหรับการเรียนการสอนที่ครอบคลุมในทุกเนื้อหาของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีกระบวนการติดตามประเมินความพึงพอใจ  และการปรับปรุงสิ่งสนับสนุุนให้สอดคล้องกับความจำเป้นของนักศึกษาและอาจารย์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. ---จุดเด่นการบริหารหลักสูตรอย่างมีคุณภาพ โดยรวม --- มีการบริหารและการดำเนินงานหลักสูตรที่เป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สังเกตได้จากกระบวนดำเนินงานที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนในแต่ละตัวบ่งชี้คุณภาพ ทั้งด้านการรักษามาตรฐานหลักสูตร บัณฑิต นักศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และการบริหารจัดการหลักสูตร ---แนวทางเสริม--- ให้นำรายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนดำเนินงานของปีถัดไป โดยตั้งเป้าหมายความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในแต่ละด้าน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะบัญชี
  2. ---จุดเด่น--- มีผลงานด้านการพัฒนานักศึกษา ด้าน Soft Skills ที่ได้รับรางวัลแนวทางปฏิบัติที่ดีจากมหาวิทยาลัยรังสิต นอกเหนือจากรางวัลที่นักศึกษาได้รับในปีการศึกษา 2566 กล่าวได้ว่า เป็นผลจากหลักสูตรได้วางแผนปฏิบัติการประจำปีด้านการพัฒนานักศึกษา ตามเป้าหมายการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยเฉพาะในด้านความรับผิดชอบ การทำงานเป็นทีม การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ และการนำเสนอทางวาจา ---แนวทางเสริม--- หัวหน้าหลักสูตรและคณะกรรมการหลักสูตร ควรวางแผนพัฒนานักศึกษาโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน รวมทั้งการออกแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาที่มุ่งสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และติตตามการเปลี่ยนแปลงในความต้องการหรือความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อบัณฑิตโดยเฉพาะกลุ่มผู้ใช้บัณฑิต เพื่อให้การปรับปรุงแผนดำเนินงานกิจกรรมหรือโครงการในปีต่อ ๆ ไป ประสบความสำเร็จ
  3. ---จุดเด่น--- คุณภาพบัณฑิต เป็นที่ยอมรับของตลาดงานวิชาชีพบัญชี มีอัตราการได้งานทำสูงมากอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต อยู่ในระดับดีมากอย่างต่อเนื่อง เช่นกัน ---แนวทางเสริม--- ควรปรับปรุงมาตรการในการสำรวจความพึงพอใจ ของผู้ใชับัณฑิต เพื่อให้สามารถเพิ่มจำนวนผู้ประเมินได้มากขึ้น ซึ่งจะทำให้ผลการประเมินเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาคุณภาพต่อไป
  4. ---จุดเด่น--- (1.) กระบวนการรับนักศึกษา มีกิจกรรมและโครงการประชาสัมพันธ์ และการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาในหลักสูตรแก่ผู้ที่สนใจที่สอบถามเข้ามาผ่านช่องทางต่างๆ ได้ผลดีมาก ทำให้มีจำนวนนักศึกษาใหม่ในแต่ละปี สูงขึ้น และยังสามารถรักษาอัตราการคงอยู่ในอ้ตราร้อยละที่สูงอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีอัตราร้อยละที่ลดลงในปีการศึกษา 2566 อันเป็นผลจากสาเหตุปัจจัยภายนอกที่ได้ชี้แจ้งไว้ในรายงาน (2.) การดูแลให้คำปรึกษา แก่นักศึกษา มีระบบ ขั้นตอน และการดำเนินงาน ที่ชัดเจน และทำให้นักศึกษามีความพึงพอใจต่อหลักสูตรในระดับมากที่สุดอย่างต่อเนื่อง ---แนวทางเสริม--- ขอให้พัฒนาระบบและกลไกการรับนักศึกษา และการดูแลให้คำปรึกษา ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง โดยอาจเปลี่ยนแปลงแนวทาง รูปแบบ ช่องทางต่างๆ รวมทั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรและบุคลากรสายสนับสนุน ให้เข้ามามีส่วนร่วมให้มากขึ้น
  5. ---จุดเด่น--- กระบวนการดำเนินการด้านหลักสูตร และการจัดการเรียนสอน ได้มีการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2565 โดยผ่านการพิจารณาคณะกรรมการกลั่นกรอง ซึ่งหลักสูตรได้ใช้หลักคิดการออกแบบ ที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรมาโดยตลอด สามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ---แนวทางเสริม--- หัวหน้าหลักสูตร และคณะกรรมการหลักสูตร ควรเตรียมแผนการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ และการติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดกับผู้เรียน และแนวทางในการนำแผนสู่การปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการหลักสูตรในปีการศึกษา 2568 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นไปตามแนวทางที่หลักสูตรกำหนด

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. แม้ว่าจะมีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายของแผนพัฒนาหลักสูตรและการพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล ---แนวทางปรับปรุง--- คณะกรรมการหลักสูตร ควรร่วมกันพิจารณาแนวทางส่งเสริม ที่จะทำให้อาจารย์ประจำหลักสูตรได้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการทุกคน
  2. สนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการของอาจารย์ เพื่อเพิ่มความมั่นใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.54
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 5.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.44
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 5.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.23

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.77 4.77 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.81 - - 3.81 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.67 - 4.50 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.92 4.50 4.77 4.23 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก