รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต

วันที่ประเมิน: 3 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แผน ก1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
แผน ก2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
แผน ข รายงานการค้นคว้าหรือส่วนหนึ่งของการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 8 3.91
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 8
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 3.91
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 3 0 4 5 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 7.00 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 8
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 87.50
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สืบเนื่องจากกระบวนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาโท และการติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโท ทำให้มีผลต่อผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่มีคุณภาพมากขึ้น 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.46 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการจัดทำและรูปแบบการสื่อสารในการแนะนำหลักสูตร อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลทำให้จำนวนนักศึกษาใหม่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
2. หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาทั้งในเรื่องความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษโดยได้รับความร่วมมือจากสถาบันภาษาอังกฤษในการจัดเตรียมรายวิชาเพื่อปรับสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา และในเรื่องของการทำวิจัยเพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมในการทำงานวิจัยเป็นลำดับขั้นตอนตั้งแต่การเตรียมความพร้อมเป็นรายวิชาที่หลักสูตรได้จัดเตรียมความพร้อม และต่อเนื่องด้วยการเรียนเป็นอีกรายวิชาในเรื่องระเบียบวิธีวิจัย โดยมีเป้าหมายเป็นผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมในงานวิจัยที่จะเกิดขึ้นและนำพาไปสู่การจบการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด

3.หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษา ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาแรกเข้าปีการศึกษา 2566 ได้เกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้คือ 10 คน และได้นักศึกษาแรกเข้ามากกว่าปีการศึกษา 2565 ถึงร้อยละ 50
4.หลักสูตรมีการเตรียมความพร้อมเรื่องการทำวิจัยให้นักศึกษา ส่งผลให้มีนักศึกษารหัส 66 มีหัวข้อการวิจัยและโครงร่างการวิจัยจำนวน 6 คน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรให้ความร่วมมือกับบัณฑิตวิทยาลัยในการแนะนำหลักสูตรในภาพรวมผ่าน Social Media ของบัณฑิตวิทยาลัย
2. หลักสูตรวิเคราะห์และสังเคราะห์ในการปรับปรุงกระบวนการการสื่อสารหลักสูตรสู่สังคมภายนอก ทั้งในการสื่อสารทั่วไปและการจัดกิจกรรมด้านการบริการวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการวิเคราห์และสังเคราะห์จากผลดำเนินงานที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง และได้มีการปรับปรุงระบบและกลไกในการเพิ่มสมรรถนะแก่นักศึกษา เพื่อประกอบการทำวิจัย ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การใช้ IT และการนำคณิตศาสตร์ กระบวนการทำวิจัยเป็นขั้นตอน เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้นักศึกษามีความพร้อมในการทำวิจัย และพบความสำเร็จในการทำวิจัยเป็นขั้นตอนตามที่หลักสูตรกำหนด
แนวทางเสริม
เพิ่มความชัดเจนเป็นรูปธรรมในแนวโน้มของความสำเร็จที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในเรื่องการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อม 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการซึ่งเริ่มจากพิจารณาผลการดำเนินงานในอดีตที่เกิดขึ้นในการพัฒนานักศึกษาเรื่องการทำวิจัย  และปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มจากการเตรียมความพร้อมในสมรรถนะของนักศึกษาที่เกี่ยวข้อง การเพิ่มสมรรถนะอย่างต่อเนื่องเมื่อนักศึกษาผ่านการเตรียมความพร้อมแล้ว ได้แก่สมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ด้านการใช้ IT ด้านการวิเคราะห์สังเคราะห์และการมีทักษะทางคณิตศาสตร์ ด้านการทำวิจัย และต่อเนื่องด้วยการจัดอาจารย์ให้คำปรึกษาและติดตามผลการดำเนินการจากแผนการทำวิจัยของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ รวมถึงการจัดเป็นคลินิกในการให้บริการให้คำแนะนำในการทำวิจัย ซึ่งส่งผลทำให้
1. นักศึกษาพบความสำเร็จในการทำวิจัยทั้งในรูปแบบของการทำวิทยานิพนธ์และการทำการศึกษาค้นคว้าสำเร็จ ที่จะส่งผลทำให้ร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนดมีมากขึ้น หลักสูตรสามารถจัดการกับนักศึกษาตกค้างได้ดีขึ้น 

2. ผลงานวิจัยของนักศึกษาได้รับการเผยแพร่ที่มีคุณภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยดูจากคุณภาพของฐานข้อมูลของแหล่งการเผยแพร่งานวิจัยสูงขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการเป็นขั้นตอนที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและผลที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอน ในควบคุมดูแลในการให้คำปรึกษางานวิจัยแก่นักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและพบความสำเร็จตามเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนด ได้แก่ กำหนดช่วงเวลาของการมีหัวข้อในการทำวิจัย และช่วงเวลาของการพบความสำเร็จในการทำวิจัย เป็นต้น
แนวทางเสริม
เพิ่มความชัดเจนเป็นรูปธรรมในแนวโน้มที่ดีขึ้นการผลจากการควบคุมดูแลและการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการเป็นขั้นตอนที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและผลที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอน เพื่อพัฒนาศักยภาพในสมรรถนะของนักศึกษาในการทำวิจัยและการใช้ชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้แก่สมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ ด้านการใช้ IT ด้านการวิเคราะห์สังเคราะห์และการมีทักษะทางคณิตศาสตร์ ด้านการทำวิจัย ซึ่งส่งผลทำให้ผลงานวิจัยของนักศึกษาได้รับการเผยแพร่ที่มีคุณภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยดูจากคุณภาพของฐานข้อมูลของแหล่งการเผยแพร่งานวิจัยสูงขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีแนวทางที่เชื่อมโยงกับสังคมภายนอกในงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี เพื่อให้อาจารย์และนักศึกาษาร่วมงานในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมืที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อการทำงาน และตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ได้แก่ การทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานของนักศึกษาทุนจากกองทัพ การทำงานวิจัยที่เกี่ยวขัองกับตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2548 เป็นหลักสูตร 2 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2549)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและไกในการควบคุมดูแลนักศึกษาทั้้งเรื่องการเรียนการสอน การทำวิจัยและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 10.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนอย่างเป็นระบบ โดยมีการกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย ที่ให้คำปรึกษาและดูแลอย่างเป็นขั้นตอนและต่อเนื่อง เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายตามแผนงานที่กำหนดไว้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.84
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.86
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.81
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกเรื่องที่กำหนด
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากการพิจารณาผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในการบริหารและพัฒนาอาจารย์ เพื่อดำเนินการปรับปรุงในหลายเรื่องของการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ซึ่งประกอบด้วย
1. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ประจำหลักสูตร รวมถึงอาจารย์สอน อาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการสอบงานวิจัยของนักศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
2. การจัดภาระงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ให้สอดคล้องตามภาระงานที่มหาวิทยาลัยกำหนด และจัดเตรียมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่อาจารย์
3. การพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ในสมรรถนะที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอน การทำวิจัย และการใช้ชีวิตในศตวรรษที่ 21
ซึ่งส่งผลให้อาจารย์มีผลงำนวิจัยอย่ำงต่อเนื่องที่มีคุณภาพสูงขึ้น

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ในการมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณสมบัติที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากการพิจารณาผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในการบริหารพื่อดำเนินการปรับปรุงในหลายเรื่องของการบริหารอาจารย์ ซึ่งประกอบด้วย การจัดภาระงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ให้สอดคล้องตามภาระงานที่มหาวิทยาลัยกำหนด สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของอาจารย์ สวัสดิการและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการที่ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากการพิจารณาผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในการพัฒนาอาจารย์ เพื่อดำเนินการปรับปรุงในหลายเรื่องของการพัฒนาอาจารย์ ซึ่งประกอบด้วย การพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ในสมรรถนะที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอน การทำวิจัย และการใช้ชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งส่งผลให้อาจารย์มีผลงานวิจัยอย่ำงต่อเนื่องที่มีคุณภาพสูงขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 4.17
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 66.67
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 80 4.17
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 3 3 5 5 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 9.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 326.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.72 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มดีในทุกเรื่อง ได้แก่ การคงอยู่ของอาจารย์ และความพึงพอใจของอาจารย์ในเรื่องการบริหารงานของหลักสูตร

 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

16
16
100.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีระบบ กลไก การประเมินและปรับปรุงสาระรายวิชาที่นำมาสอนในปีการศึกษา 2566 ให้สอดคล้องกับผลการประเมิน ที่มุ่งสู่ความต้องการของสังคม และอยู่ในกรอบต้องการของสภาวิชาชีพการบัญชี ซึ่งกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (International Education Standard for Profession AccountingProgramme, IES) และสามารถเชื่อมโยงได้กับเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท และผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา
2.หลักสูตรมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนทุกรายวิชา คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งค่าเป้าหมายของมหาวิทยาลัยคือ ร้อยละ 80 (สูงกว่าค่าเป้าหมาย)
3.หลักสูตรออกแบบหลักสูตรเพื่อให้ผู้ที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาบัญชี สามารถประกอบวิชาชีพบัญชีได้หากสำเร็จการศึกษาของหลักสูตร


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนเป็นรูปธรรมในระบบ กลไก และกระบวนการในการประเมินและการนำผลประเมินมาปรับปรุงสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ใช้สอนในปีการศึกษา 2566 จำนวน 16 รายวิชา ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคม โดยเฉพาะสภาวิชาชีพการบัญชีในกรอบผลลัพทธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (International Education Standard for Profession Accounting Programme, IES)
แนวทางเสริม
1.หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ และความชัดเจนในความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุง
2.หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการเชี่ยมโยงระหว่างสาระรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความชัดเจนเป็นรูปธรรมในระบบ กลไก และกระบวนการในการประเมินและการนำผลประเมินมาปรับปรุงสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ใช้สอนในปีการศึกษา 2566 จำนวน 16 รายวิชา ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา แต่ยังขาดความชัดเจนในความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุง
แนวทางเสริม
หลักสูตรควรเพิ่มความชัดเจนในการรายงานแสดงแนวโน้มของความมีคุณภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน รวมถึงความชัดเจนในผลที่เกิดขึ้นจากการทวนสอบเมื่อเทียบกับความคาดหวังที่หลักสูตรกำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ กลไก และกระบวนการในการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยและตอบโจทย์ของสังคม โดยเฉพาะวิชาชีพการบัญชีที่เชี่ยมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง โดยเฉพาะการเรียนรู้ในการใช้ระบบทางการบัญชีเพื่อการวิเคราะห์สำหรับการใช้งานจริง เป็นต้น แต่ยังขาดความชัดเจนในความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีความเด่นในการวางระบบ กลไก และกระบวนการในการจัดการเรื่องการควบคุมดูแลในการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาสำหรับการทำวิจัย ทำให้พบแนวโน้มที่เป็นความสำเร็จเป็นรูปธรรมในการทำวิจัยและการสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาของหลักสูตรที่ดีขึ้น
2.หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ส่งผลให้ คะแนนประเมินการสอนของอาจารย์ทุกท่านอยู่ในระดับดีมาก (มากกว่า 4.5) 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ดำเนินการครบถ้วนในการดำเนินการในการทำวิจัยของนักศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีเป้าหมายในความสำเร็จของการทำวิจัยรวมถึงการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา ซึ่งทำให้แนวโน้มของจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในกรอบระยะเวลาของหลักสูตรมีมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ดำเนินการครบถ้วนในการดำเนินการในการทำวิจัยของนักศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีเป้าหมายในความสำเร็จของการทำวิจัยรวมถึงการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา ซึ่งทำให้แนวโน้มของจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในกรอบระยะเวลาของหลักสูตรมีมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ดำเนินการครบถ้วนในการดำเนินการในการทำวิจัยของนักศึกษา ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีเป้าหมายในความสำเร็จของการทำวิจัยรวมถึงการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา ซึ่งทำให้แนวโน้มของจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในกรอบระยะเวลาของหลักสูตรมีมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรได้ดำเนินการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของ นักศึกษา การกำกับการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) และการประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา มีเป้าหมายและระบบกลไกที่กำหนด การดำเนินงานในปีกำรศึกษา 2566 มีการปรับปรุงต่อเนื่องจากปีการศึกษาก่อน โดยนำผลการประเมินมาปรับปรุงเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยเฉพาะหลักฐานที่ชัดเจนในความสำเร็จของการทำวิจัยและการจบการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนดของหลักสูตร
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ กลไก และกระบวนการที่ครบถ้วนในการดำเนินงาน และการแสดงผผลลัพธ์ของการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตามกรอบที่ได้วางไว้ตามมาตรฐานการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบและกลไก และกระบวนการที่ครบถ้วนและชัดเจนในการทำให้นักศึกษาและอาจารย์ ได้ใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การทำวิจัย และการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับในระดับมาตรฐานสากล มีการติดตามประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง การดำเนินงานของหลักสูตรส่งผลให้คะแนนประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด อย่างต่อเนื่อง
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ความครบถ้วนในการดำเนินงานที่เป็นความร่วมมือจากอาจารย์และนักศึกษาทำให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่ออาจารย์ โดยเฉพาะสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามกลไกของ PDCA ในการรับนักศึกษา โดยมีการใช้เครื่องมือในการสื่อสารข้อมูลของหลักสูตร และกิจกรรมของหลักสูตร ซึ่งส่งผลให้หลักสูตรพบความสำเร็จจากการที่จำนวนนักศึกษามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  2. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามกลไกของ PDCA ในการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาให้มีสมรรถนะเพิ่มขึ้นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการทำวิจัย ได้แก่สมรรถนะทางด้านภาษาอังกฤษ สมรรถนะทางด้านดิจิทัลในการใช้ระบบที่เกี่ยวข้อง สมรรถนะการวิเคราะห์ และอื่นๆสำหรับการทำวิจัย เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องในการเรียนรู้ต่อไปเป็นลำดับขั้นตอนในการทำวิจัย ซึ่งส่งผลให้นักศึกษามีแนวทาง และมีการทำงานวิจัยเป็นลำดับขั้นตอน รวมถึงการที่ส่งผลให้สามารถจัดทำงานวิจัยเสร็จสิ้นโดยไม่ล่าช้าและมีแนวโน้มของการเพิ่มขึ้นของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด
  3. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามกลไกของ PDCA ในการวางแนวทางต่อเนื่องหลังจากการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ความสำเร็จในการทำวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับขั้นตอนโดยไม่ล่าช้า โดยเฉพาะการวางแนวทางในการควบคุมดูแลและการให้คำปรึกษาในการทำวิจัยของอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย และการจัดทำคลินิกในการให้คำปรึกษาในการทำวิจัยแก่นักศึกษา รวมถึงการจัดสาระรายวิชาและระบบการเรียนรู้สำหรับการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและสภาวิชาชีพที่เน้นผลลัพท์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และผลลัพท์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ทั้งนี้ จะมีผลสำเร็จที่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมในการมีคุณภาพเพิ่มขึ้นในการเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษา และร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
  4. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามกลไกของ PDCA ในการวางแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์ให้มีศักยภาพมากขึ้น ทั้งในเชิงวิชาชีพ งานวิจัย และสมรรถนะอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะความสำเร็จในการเพิ่มคุณภาพของงานวิจัยของอาจารย์
  5. หลักสูตรมีการส่งเสริมในการให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้สำหรับทั้งอาจารย์และนักศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการของอาจารย์และนักศึกษาและความจำเป็นสำหรับการทำวิจัยและการเรียนรู้ ดังจะเห็นผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจากคะแนนแสดงระดับความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาที่อยู่ในระดับดีมากเป็นเวลาสามปีต่อเนื่องกัน
  6. (แนวทางเสริม) 6.1 หลักสูตรควรดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในแนวทางหรือโครงการที่ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาอาจารย์และนักศึกษา ได้แก่ การมีคลินิคการให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่นักศึกษา การมีระบบและกลไกรวมถึงกระบวนการในการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์ โดยเฉพาะการมีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 6.2 ควรหาแนวทางในการส่งเสริมให้มีความร่วมมือกับผู้ประกอบการอย่างต่อเนื่องเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาระบบการเรียนรู้ในหลักสูตร ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและสภาวิชาชีพ ได้แก่ สาระรายวิชา กระบวนการเรียนรู้และการทำวิจัย เป็นต้น 6.3 ควรหาแนวทางในการให้อาจารย์และนักศึกษามีผลงานทางวิชาการที่เข้าสู่งานวิชาการระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ไม่มี

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 3.91
2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และหรือเผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.72
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.20

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.46 4.46 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.24 - - 4.24 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 4.10 4.25 4.46 4.20 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก