รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต

วันที่ประเมิน: 24 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
รายงานครบถ้วน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-หลักสูตรรายงานจำนวนอาจารย์ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการผิด แต่ไม่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สามารถตัดออกได้เลย
-ขอให้ตัดผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี ที่ Expire ไม่อยู่ในรอบ 1 มิ.ย.61-31 พ.ค.66 ออก ได้แก่
1.อาจารย์ชินธิป ผลงานชิ้นที่ 3
(4 May 2018)
2.ผศ.พนัส ผลงานชิ้นที่ 5 (4 May 2018)
3.ผศ.อนุพงศ์ 
ผลงานชิ้นที่ 6 (4-22 April 2018)
4.อาจารย์ภัทร 
ผลงานชิ้นที่ 4 (4 May 2018)
5.อาจารย์สุทธิชาติ 
ผลงานชิ้นที่ 7 และ 8 (4 May 2018)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
มีการรายงานครบถ้วน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้สอนในตารางแนวนอนมีทั้งหมด 12 คน แต่ในข้อ 4 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำมีเพียง 4 คน
หมายเหตุ อาจารย์สาธิต เชียงทอง ไม่พบรายชื่ออาจารย์ในตารางแนวนอน 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
- ไม่มีการรายงานประสบการณ์สอนและร้อยละของชั่วโมงสอน
- รายชื่อไม่ตรงกับตารางแนวนอน โดยอาจารย์เกวลี อาจารย์ปัทมา อาจารย์ชัชญา ไม่พบรายละเอียดในตารางแนวนอน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
รายงานการปรับปรุงหลักสูตรครบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 74 4.62
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 40
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.62
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น: ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ในระดับดีมากในทุกด้าน โดยเฉพาะทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสูงถึง 4.91 ซึ่งสะท้อนคุณภาพของหลักสูตรได้เป็นอย่างดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อเสนอแนะ: ความพึงพอใจด้านผลลัพธ์ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าคุณภาพบัณฑิตตามมาตรฐานคุณวุฒิ TQF ดังนั้นหลักสูตรสามารถนำมาตรฐานด้านผลลัพธ์ผู้เรียนไปเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการดำเนินการในตัวบ่งชี้อื่นๆ เช่น ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา หรือในองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน เพื่อผลการดำเนินการที่มีการปรับปรุง/พัฒนาจนเห็นเป็นรูปธรรมต่อไปได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 74 3.79
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 66
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 26
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 24
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 16
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 75.76
ผลลัพธ์ที่ได้ 3.79
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น : หลักสูตรมีจำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษาสูงถึง 75.75 ซึ่งสะท้อนคุณภาพหลักสูตร คุณสมบัติของบัณฑิตและความเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แนวทางปรับปรุง : บัณฑิตที่ได้งานทำจากการประกอบอาชีพอิสระ มีจำนวนใกล้เคียงกับบัณฑิตที่ทำงานในองค์กร หากตัวเลขดังกล่าวเมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาหรือในปีการศึกษาหน้ามีแนวโน้มสูงขึ้น หลักสูตรสามารถนำผลที่ได้ไปใช้ปรับปรุงหลักสูตรให้มีเนื้อหารายวิชาที่รองรับแนวโน้มการประกอบอาชีพอิสระของบัณฑิตในอนาคตต่อไปได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.21 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีระบบกลไก / มีการนำไปสู่การปฏิบัติ / มีการประเมินกระบวนการ / มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ และมีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม
- หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษารับเข้าที่เพิ่มมากขึ้นจากกระบวนการรับนักศึกษาที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการดำเนินการสร้างสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรจำนวนมากในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรปรับการรายงานในเรื่องการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน ส่งผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมจากปีการศึกษา 2563 และ 2564 อย่างไรในด้านการรับนักศึกษา การปรับปรุงกระบวนการใดที่ส่งผลให้จำนวนการรับนักศึกษาเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ในรายงานประเด็นการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ เป็นการดำเนินงานในปี 2564 ทั้งหมด จึงไม่พบข้อมูลการดำเนินการของหลักสูตรในปีการศึกษา 2565 
-การเขียนในลักษณะแบบ PDCA นั้นอาจยังไม่ชัดเจนมากนัก
-ขอให้หลักสูตรปรับการรายงานในเรื่องการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน ส่งผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมจากปีการศึกษา 2563 และ 2564 อย่างไรในด้านการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- มีระบบกลไก / การนำไปสู่ปฏิบัติ / การประเมินกระบวนการ / และการปรับปรุงพัฒนาเป็นรูปธรรม
- มีผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาที่ได้รับรางวัล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การเขียนในลักษณะแบบ PDCA นั้นอาจยังไม่ชัดเจนมากนัก
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีผลงานเป็นรูปธรรมจากผลงานสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษาที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2542 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2545)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 76.15
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 78.53
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 84.61
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีอัตราการคงอยู่มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 71.68
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 65.85
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 61.42
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในรายงานปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษา เป็นรายงานจำนวนนักศึกษาที่ออกระหว่างเรียนจนสิ้นปีการศึกษา แต่ยังไม่ใช่รายงานปัจจัยที่มีผลต่อการสำเร็จการศึกษา
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 3.84
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.18
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.26
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
แนวโน้มความพึงพอใจของนักศึกษามีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสะท้อนคุณภาพหลักสูตรที่มีต่อการรับนักศึกษา การให้คำปรึกษาและการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาได้เป็นอย่างดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีผลงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจำหลักสูตรจำนวนมากและมีการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบกลไก / การนำไปปฏิบัติ / มีการประเมินกระบวนการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มีการเขียนรายงานเกี่ยวกับระบบกลไก / การนำไปปฏิบัติ / การประเมินกระบวนการ
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ไม่มีการเขียนรายงานเกี่ยวกับระบบกลไก / การนำไปปฏิบัติ / การประเมินกระบวนการ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีการรายงานผลการปรับปรุงที่เป็นรูปธรรมด้วยผลงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ แต่ไม่มีข้อมูลเชิงเปรียบเทียบจากปีที่ผ่านมาเพื่อสะท้อนผลการปรับปรุงพัฒนาที่เป็นรูปธรรม ขอให้หลักสูตรปรับการรายงานการทบทวนและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานแล้วส่งผลลัพธ์ที่ดีขึ้นในปีการศึกษา 2565 อย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 9 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรส่งเสริมและผลักดันให้อาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกในศาสตร์และความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาเพื่อมุ่งสู่การปฏิบัติพันธกิจสำคัญของหลักสูตรในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพต่อไป
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 9 3.70
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 4
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 44.44
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.70
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลักดันให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดยเฉพาะแขนงวิชาแอนิเมชัน 3 มิติและวิชวลเอฟเฟคที่ยังไม่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 2 0 7
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 8.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 9
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 91.11
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติมากถึง 7 ขึ้นงาน ทำให้มีร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในระดับสูง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จำนวนชิ้นงานที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ยังมีจำนวนน้อยและมีค่าถ่วงน้ำหนักน้อยกว่าจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มี 3 แขนงวิชา ทำให้หมวดผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรเมื่อทำเป็นร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักทำให้เทียบเป็นคะแนนแล้ว ยังไม่ 5 แนน ดังนั้นหลักสูตรควรส่งเสริมงานสร้างสรรค์ของอาจารย์ประจำหลักสูตรให้ตีพิมพ์และเผยแพร่ในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น
-ผลงานของอาจารย์ลำดับที่ 2 และ 3 ขอให้ปรับค่าน้ำหนักเป็น 0.6
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.90 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีการรายงานผลการดำเนินการครบทุกเรื่อง
- หลักสูตรมีอัตราการคงอยู่และมีระดับความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีผลต่อการบริหารหลักสูตรเป็นจำนวนมาก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ค่าเฉลี่ยมีตัวเลขลดลงแต่อยู่ในเกณฑ์ระดับดีมากทั้ง 3 ปีการศึกษาที่ผ่านมา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หากพิจารณารายข้อจะพบว่าประเด็นด้านการรับและการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดขอบหลักสูตร รวมถึงประเด็นด้านการบริหารอาจารย์ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในระดับลดลง ดังนั้นหลักสูตรควรมีการประเมินผลการดำเนินการเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาในปีการศึกษาต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.30 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

63
20
31.75
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการดำเนินการเพื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ที่โดดเด่น โดยเฉพาะประเด็นด้านการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ด้าน Innovative Co-creator ที่นักศึกษามีผลงานที่ได้รับรางวัลจำนวนมาก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบรายงานเกี่ยวกับเนื้อหาของรายวิชาในหลักสูตรหรือสาระวิชาในหลักสูตรก่อนการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน จึงทำให้ไม่สามารถประเมินตัวบ่งชี้นี้ได้
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในรายงานตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ทั้งประเด็นด้านการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และประเด็นด้านการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ไม่มีการเขียนรายงานกลไก/การดำเนินการ ที่ทำให้เห็นถึงการประเมินและการพัฒนากระบวนการจากผลการประเมินที่เป็นรูปธรรม 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรอธิบายเพิ่มเติมการวางแผนการจัดอาจารย์ผู้สอนตามแขนงวิชาการสอนอย่างไร หรือการกำหนดผู้สอนด้านความรู้ ความเชี่ยวชาญในเนื้อหาวิชาและประสบการณ์การสอน การทำงานหรือผลงานทางวิชาการในวิชาที่สอนอย่างไร
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการบูรณาการผลงานและสร้างความร่วมมือกับองค์กรภายนอกเกี่ยวกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรทำการเปรียบเทียบผลงานที่มีการบูรณาการวิชาการกับสังคมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยจากปี 2564 เพื่อให้เห็นผลลัพธ์จากการปรับปรุง/พัฒนาที่เห็นเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น
-การเขียนในลักษณะแบบ PDCA นั้นอาจยังไม่ชัดเจนมากนัก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-เบื้องต้นผู้ตรวจประเมินขอพิจารณาให้ 3 คะแนนในขั้นตอนของการตรวจรายงาน เนื่องจากในรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรเกี่ยวกับตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ยังไม่พบรายงานการประเมินกระบวนการ ที่นำไปสู่การปรับปรุงพัฒนากระบวนการที่สามารถเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมได้
-การเขียนในลักษณะแบบ PDCA นั้นอาจยังไม่ชัดเจนมากนัก

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

-ไม่พบการเขียนรายงานเกี่ยวกับระบบและกลไกในการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF 5 ด้าน และผลลัพธ์การเรียนรู้ DOE 3 ด้าน ในรายวิชาที่เปิดสอนว่ามีการประเมินผู้เรียนทั้งในระดับรายวิชาและหลักสูตรอย่างไร 

การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เป็นรายงานการดำเนินการของปีการศึกษา 2564
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในรายงานพบเป็นรายงานของปีการศึกษา 2563
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้หลักสูตรรายงานเป็นจำนวนและรายวิชาที่มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เพื่อประเมินร้อยละของรายวิชาที่ทวนสอบต่อรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้หลักสูตรเขียนระบุไม่มีอาจารย์ใหม่ในช่องผลการดำเนินงาน และในช่องตารางให้ใส่ N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในรายงานระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ หน้า 30 ระบุค่าเฉลี่ย 4.62
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในรายงานตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ไม่พบรายงานระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 4.5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 12
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 92.31
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.38 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
เป็นหลักสูตรที่มีสิ่งสนับสนุนต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมและเพียงพอสำหรับนักศึกษาในการช่วยให้ผู้เรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติโดยเฉพาะผลลัพธ์การเรียนรู้ด้าน Innovative Co-Creator ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หมายเหตุ: กรรมการผู้ประเมินขอพิจารณาให้ 4 แบบมีเงื่อนไขในการแก้ไขรายงานผลการดำเนินการที่สอดคล้องกับเกณฑ์ประเมิน 4 คะแนนที่มีระบบกลไก การดำเนินการ การประเมินกระบวนการ และการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน เนื่องจากหากประเมินด้วยเกณฑ์เชิงปริมาณในประเด็นเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จะมีตัวเลขลดลง และเป็นระดับคุณภาพคะแนนที่ต่างระดับกันใน 3 ปีการศึกษาที่ผ่านมา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรสามารถเขียนรายงานด้วยการประเมินกระบวนการจากปีการศึกษา 2564 เพื่อนำมาเขียนเป็นการปรับปรุง/พัฒนาจากผลการประเมินที่ดีขึ้นในปี 2565 อย่างเป็นรูปธรรมได้ 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีแผนประชาสัมพันธ์เชิงรุกที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้จำนวนนักศึกษาบรรลุเป้าหมายของหลักสูตรและมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  2. หลักสูตรได้รับรางวัลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาในระดับประเทศซึ่งสะท้อนคุณภาพหลักสูตรในการผลิตผลงานและนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติอย่างเป็นรูปธรรม
  3. หลักสูตรมีระบบส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์จนทำให้อาจารย์มีผลงานสร้างสรรค์ที่ถูกนำเสนอและเผยแพร่ทั้งในระดับนานาชาติและระดับชาติจำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรเพิ่มแผนการพัฒนาและส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการในจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นเพื่อสอดคล้องกับจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแบบแขนงวิชา
  2. หลักสูตรควรสนับสนุนและผลักดันให้อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกที่มีคุณวุฒิตรงกับสายวิชาชีพตามแขนงวิชาต่างๆ โดยเร็ว
  3. แนวทางการรายงาน มคอ.7 ควรชัดเจนในรูปแบบ PDCA มากกว่านี้

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.62
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3.79
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.90
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.50
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.45

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.21 4.21 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.30 - - 3.30 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.50 - 3.38 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.27 3.38 4.21 3.45 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก