รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค

วันที่ประเมิน: 21 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบมีคุณวุฒิตรง ได่แก่
1. รองศาสตราจารย์มานัส มงคลสุข
2. อาจารย์ณัฐพงศ์ ด่านธนวัฒน์
3. ผศ.ดร.นัฐพงษ์ มูลคำ
4. อาจารย์กัญจนพร โตชัยกุล
5. อาจารย์เพชรนรินทร์ โคบุตรี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบแต่ละท่านมีผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี เป็นจำนวนมาก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

รสบ.1.1.04 เอกสารรายชื่อผลงานวิชาการทุกชิ้นย้อนหลัง 5 ปี ของอาจารย์ประจำหลักสูตร

- รองศาสตราจารย์มานัส มงคลสุข จำนวน 5 ชิ้น

 
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 4 ท่าน มีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ

รสบ.1.1.04 เอกสารรายชื่อผลงานวิชาการทุกชิ้นย้อนหลัง 5 ปี ของอาจารย์ประจำหลักสูตร

- อาจารย์ณัฐพงศ์ ด่านธนวัฒน จำนวน 7 ชิ้น
- ผศ.ดร.นัฐพงษ์ มูลคำ 13 ชิ้น
- อาจารย์กัญจนพร โตชัยกุล 12 ชิ้น 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น

ใน รสบ.1.1.02 สมอ.08 การปรับปรุงรายชื่อ อ.ประจำรังสีเทคนิค  ระบุจำนวน 16 คน แต่ใน มคอ.7 หน้า 13- 16 ระบุแค่ 11 ท่าน 

ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลงานใน DBS กับ การรายงานใน มคอ.7 จำนวนชิ้นผลงานไม่ตรงกัน
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำมีคุณวุฒิตรงตามสาขา ทุกท่าน

ในหน้า 6-8 ไม่ได้ระบุว่าเป็นอาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ
หน้า 9 ระบุอาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ 4 คน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิตรง และมีประสบการณ์สูง

หน้า 10 ระบุอาจารย์พิเศษ 4 คน ไม่ตรงกัน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ปรับปรุงตามวงรอบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 64 4.15
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 24
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.15
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คุณภาพของบัณฑิตที่ได้รับการประเมินมีค่าเฉลี่ยในทุกด้านในเณฑ์ดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คุณภาพของบัณฑิตที่ได้รับการประเมินด้านคุณธรรมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด แต่ในส่วของทักษะด้านการวิเคราะห์ตัวเลช มีค่าต่ำสุด ควรจะมีการพัฒนาในด้านนี้เพิ่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 64 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 55
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 55
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 0
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
บัณฑิที่จบใหม่ได้เงินเดือนเฉลี่ยค่อนข้างสูงคือ 35,000 บาท
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.58 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสุตรมีจำนวนนัศึกษาเกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ในมคอ.2 แสดงว่าหลักสูตรมีกลไก และขบวนการที่ดีมาก ตลอดจนสามารถนำเอาไปปฏิบัติได้จริง
- ความพึงพอใจของนัศึกษาในส่วนของการเตรียมความพร้อมของนักศึกษา มีแนวโน้มดีต่อเนื่อง

1. มีระบบ มีกลไก
2. 
มีการนำระบบกลไกไปสู้การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. 
มีการประเมินกระบวนการ_
4. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน_นำผลการประเมินจากปีการศึกษา 2564 มาปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษา
5. มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม _ทำให้สามารถคัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกำหนดของหลักสูตรเข้าเรียน และได้จำนวนเกินเป้าหมายที่กำหนด  ผลจากการปรับปรุงกระบวนการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ความพึงพอใจของนักศึกษาในด้านการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษามี แนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ในปีการศึกษา 2563, 2564และ 2565โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 , 4.49และ 4.50 ตามลำดับ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คณะสามารถนำระบบและกลไก นำมาปฏิบัติได้จริง โดยพบว่ามีนักเรียนเป็นจำนวนมาก (386 คน) มาสมัครเขาเรียน ดังนั้นหลักสูตรสามารถคัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของหลักสูตรได้ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา โดยมีค่าความพึงพอใจของกิจกรรมมีค่า 4.5 ซึ่งมีค่าค่อนข้างสูง และมีแนวโน้มดี 3 ปีย้อนหลัง
- มีการนำผลการประเมิน กระบวนการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ในปี 2564 (แนวปฏิบัติที่ดี) .ใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความนักศึกษาใหม่ในปี 2565 
- ผลการประเมินความพึงพอใจด้านการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาของนักศึกษาต่อหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
​​​​​​มีการนำผลการประเมินกระบวนการโครงการสนับสนุนการนำเสนอผลงานทางวิชาการของนักศึกษาและอาจารย์ที่จัดขึ้นในปี 2564_  มาเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพด้านงานวิจัยของนักศึกษาควบคู่ไปกับอาจารย์ ในปีการศึกษา 2565 ซึ่งส่งให้นักศึกษาสามารถนำงานวิจัยไปนำเสนอ จนได้รับราวัล 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ
4. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน_ปีการศึกษา 2565 หลักสูตรเพิ่มช่องทางในการติดต่อกับอาจารย์ที่ ปรึกษา .ในรูปแบบออนไลน์ ที่สะดวกต่อทั้งนักศึกษาและ อาจารย์  ทำให้นักศึกษาสามารถขอคำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา หรืออาจารย์ผู้สอนต่างๆ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว  และมีประสิทธิภาพ
5. มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจน_ความพึงพอใจของนักศึกษาด้านการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวในปี การศึกษา 2565 นั้น พบว่าอยู่ในระดับ “พึงพอใจมากที่สุด” 

- หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ชัดเจน และสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยความพึงพอใจของนักศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดีมากทั้ง 3 ปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรน่าจะมีชั่วโมงคล้ายๆ Home room เพื่อเป็นการให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องต่างๆกัน
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบ มีกลไก_มีแผนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่หลากหลาย(8 โครงการ:) ด้านปฐมนิเทศมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ด้านวิชาการ จิตอาสา และพัฒนาคุณลักษณะ
2. 
มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน_มีการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้
3. มีการประเมินกระบวนการ_มีการประเมินผลการดำเนินงานทุกโครงการ  

หลักสูตรมีกิจกรรมหลากหลายเพื่อพัฒนาสักยภาพของนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรพัฒนา การประเมินกระบวนการ วางโครงการด้านพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านต่างๆ  เพื่อค้นหา แนวปฎิบัติที่ดี สำหรับใช้เป็นแนวทางในการวางโครงการ ในอนาคต ซึ่งสามารถต่อยอด เป็น วิจัย R&D การวางโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านต่างๆ
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีกิจกรรมหลากหลายเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในด้านงานวิจัย โดยเฉพาะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ร่วมนำเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการ
1. มีระบบ มีกลไก_มีแผนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่หลากหลาย(8 โครงการ)
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน_มีการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้
3. มีการประเมินกระบวนการ_มีการประเมินผลการดำเนินงานทุกโครงการ 
4. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน_มีการนำผลการประเมินกระบวนการโครงการสนับสนุนการนำเสนอผลงานทางวิชาการของนักศึกษาและอาจารย์ที่จัดขึ้นในปี 2564ๅ_  มาเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพด้านงานวิจัยของนักศึกษาควบคู่ไปกับอาจารย์ ในปีการศึกษา 2565 
5. มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม _นักศึกษาสามารถนำงานวิจัยไปนำเสนอ จนได้รับราวัล 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในส่วนนี้ด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2559 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2562)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 95.50
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 96.90
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาของหลักสูตรมีร้อยละที่ดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรจะวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาสูง แล้วนำมาเป็นหลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติทุกปี
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 91.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 95.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 89.70
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ถึงแม้ว่าแนวโน้มการจบการศึกษาตามเกณฑ์ของนักศึกษาไม่ดี แต่ภาพโดยรวมนักศึกษาที่จบตามเกณฑ์ยังมีมากถึงประมาณ 90% ดังนั้นเพื่อเป็นการคงคุณภาพทางวิชาการของบัณฑิตที่จบ ทางหลักสูตรอาจจะยังไม่จำเป็นต้องปรับอะไรในส่วนนี้มากนัก แต่ถ้าเปอร์เซ็นต์การจบการศึกษาตามเกณฑ์ต่ำกว่า 80% ถึงค่อยให้ควมสนใจในส่วนนี้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.55
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.49
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ดี และนำไปปฏิบัติได้จริง จนสามารถพัฒนาอาจารย์ดร.นัฐพงษ์ มูลคำ ได้รับตำแหน่งวิชาการระดับ ผศ.
- ผลจากการสนับสนุน ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ให้สามารถผลิตผลงานวิจัย /ได้รับทุนวิจัย จนสามารถขอตำแหน่งทางวิชาการได้สำเร็จ 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ดี มีการปรับปรุงพัฒนาเพื่อให้ได้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ และความสามารถ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมแผนปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สามารถสร้างผลงานวิชาการ และขอตำแหน่งทางวิชาการ ที่เป็นรูปธรรม 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ดี จนสามารถพัฒนาอาจารย์ดร.นัฐพงษ์ มูลคำ ได้รับตำแหน่งวิชาการระดับ ผศ.
- ถอดบทเรียนคววามสำเร็จ ในการสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ให้สามารถผลิตผลงานวิจัย /ได้รับทุนวิจัย  และสามารถขอตำแหน่งทางวิชาการได้สำเร็จ เป็นแนวทางในการส่งเสริม สนับสนุนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  และอาจารยประจำหลักสูตร มีตำแหน่งวิชาการเพิ่มมากขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมให้คณาจารย์ ทั้งอืจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณสมบัติครบถ้วน ในการเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในอนาคต
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรที time line ในการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในส่วนของอาจารย์ที่ยังไม่ได้ตำแหน่งวิชาการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกสูงกว่าค่ามาตราฐานที่กำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรพัฒนาอาจารย์ให้เรียนต่อปริญญาเอก หรือไม่ก็ได้ตำแหน่งวิชาการ
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 40.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีแนวทางสนับสนุน และ time line ในการขอตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ที่ยังไม่ได้ตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 6
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 6.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 120.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีผลงานทางวิชาการเป็นจำนวนมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลงานวิชาการส่วนมากเป็นของอาจารย์แค่ 2 ท่านคือผศ.ดร.นัฐพงษ์ มูลคำ และอาจารย์กัญจนพร โตชัยกุล ดังนั้นอาจารยที่เหลือควรจะมีผลงานทางวิชาการเพิ่ม
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.44 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีแนวโน้มผลการดำเนินการอยู่ในระดับดีมาก ทั้งด้านการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ และผลประเมินความพึงพอใจของอาจารย์โดยรวมมีแนวโน้มดีขึ้นทั้ง 3 ปี 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรเขียนการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบที่เปลี่ยนเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ไว้ด้วย 
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ความพึงพอใจมีแนวโน้มที่ดีคือ 4.37, 4.39 , 4.40
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.15 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

30
7
23.33
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบ มีกลไก
2. 
มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการรายงาน การประเมินกระบวนการ_การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรจะให้ผู้ใช้บัณฑิตมีส่วนร่วมในการออกแบบวิชาเรียน หรือให้ความคิดเห็น เพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงรายวิชาเพื่อที่จะได้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บัรฑิต

 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเ
มินกระบวนการ_การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรจะมีการปรับปรุงรายวิชาให้มีความทันสมัยเพื่อมากขึ้น (มากกว่า 20%)
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธืการเรียนรู้ตามกรอบมาตราฐานคุณวุฒิครบทั้ง 3 ด้าน
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ_การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำหนดอาจารย์ที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้านมาดุแลกลุ่มวิชาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ_แต่ไม่ได้ระบุผลการประเมิน 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. รายงานผลการประเมินกระบวนการ 
2. รายงานการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ จากผลการประเมิน 
3. รายงาน ผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ และกลไกที่ชัดเจน และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. ระบุว่า มีการประเมินกระบวนการ_แต่ไม่ได้ระบุผลการประเมินกระบวนการ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. รายงานผลการประเมินกระบวนการ 
2. รายงานการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ จากผลการประเมิน 
3. รายงาน ผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีกิจกรรม และรายวิชาที่บูรณากรการสอนให้เข้ากับงานวิจัย บริการสังคม และทำนุบำรงศิลปวัฒนธรรม

1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. ระบุว่า มีการประเมินกระบวนการ_แต่ไม่ได้ระบุผลการประเมินกระบวนการ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรจะมีการประเมินความพึงพอใจของกิจกรรม หรือรายวิชาที่ใช้บูรณการกับเรื่องต่างๆ
1. รายงานผลการประเมินกระบวนการ 
2. รายงานการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ จากผลการประเมิน
3. รายงาน ผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ และกลไกที่ดี และนำไปใช้ได้จริง

1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรระบุรายละเอียดให้ชัดเจนมากขึ้นถึงการนำเอาระบบ และกลไกไปใช้จริงในแต่ละหัวข้อ (leaarner Person, Innovative Co-Creater และ Active citizen) ตลอดจนผลการดำเนินการในแต่ละหัวข้อ
- เพิ่มรายงาน การประเมินกระบวนการ  
- มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ และกลไกที่ดีและนำไปใช้ได้จริง
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ_พบ ผลจากสถานการณ์ COVID  ส่งผลต่อการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ในรายวิชาที่เป็นปฏิบัติการและการฝึกงานภาคปฏิบัติ /มีการกำหนดแนวทางแก้ไข
4. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน_ คือ ประสานงานกับทางโรงพยาบาลเพื่อชดเชย การฝึกงานให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงชั่วโมงการฝึกงานได้อย่างเต็มที่ รายวิชาปฏิบัติการบางรายวิชาพบ ปัญหาการติดเชื้อของนักศึกษาท าให้ต้องนัดมาเรียนภาคปฏิบัติภายหลัง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรระบุว่ารายวิชาใดที่ใช้ในการทวนสอบบ้าง
- หลักสูตรควรมีการประเมินผลของการดำเนินการ

 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบ และกลไกที่ดีและนำไปใช้ได้จริง

1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ
4. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน_ระบุไว้ในรายงานว่ามี การนำผลการประเมิน มาปรับปรุงและพัฒนาผลการดำเนิน แต่ไม่รายละเอียดการปรับปรุง 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มเติมรายละเอียดการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
- เพิ่มเติม ผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม มีผลดำเนินงานเชิงผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมาย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักสูตรควรเพิ่มข้อมูลการฝึกอบรมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาได้ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงคิอ 4.39
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ค่าการประเมินในข้อนี้ในระดับสูงคือ 4.15
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้ค่าการประเมินในข้อนี้ในระดับสูงมากคือ 4.70

ตวจสอบปีพ.ศ. ในรานบงาน หน้า 115  (ระบุเป็นปีการศึกษา 2564)

ในปีการศึกษา 2564 ระดับความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนรวมทุก รายวิชาเฉลี่ย 4.70 จากคะแนนเต็ม 5.0
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ตรวจสอบปีพ.ศ. 
ในปี การศึกษา 2564 คณะรังสีเทคนิค ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนเฉลี่ย 4.27จากคะแนนเต็ม 5.0
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
16. จํานวนนักศึกษาที่สอบผานใบประกอบวิชาชีพในครั้งแรกไม่น้อยกวาร้อยละ 70
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ยังไม่มีนักศึกษาสอบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตมีระบบ และกลไกที่ดี และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง

1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรจัดหาโปรแกรมที่เสริมสร้างการเรียนรู้
- เพิ่ม รายงาน การประเมินกระบวนการ 
- เพิ่ม การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
- เพิ่ม ผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม มีผลดำเนินงานเชิงผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมาย
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตมีระบบ และกลไกที่ดี และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ 
แนวการเขียนรายงาน_หลักสูตรควรรายงานสิ่งอ านวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ และต้องมีการประเมินโดยนักศึกษาถึงความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อื่นๆ เช่น คอร์สแวร์ สื่อ หรือระบบเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ต่างๆ ฐานข้อมูลผลงานวิชาการต่างๆ และมี ข้อมูลใดมาสนับสนุนว่าเพียงพอและเหมาะสม โดยเน้นสิ่งสนับสนุนที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้ ตามหลักสูตรก าหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรระบุสัดส่วนของเครื่องมือหรืออุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวก ว่าได้สัดส่วนที่เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาหรือไม่
- เพิ่ม รายงาน การประเมินกระบวนการ 
- เพิ่ม การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
- เพิ่ม ผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม มีผลดำเนินงานเชิงผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมาย
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบ มีกลไก
2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน
3. มีการประเมินกระบวนการ_ ในปี 2565 แนวทางการปรับปรุงจากการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาของปี 2564 ต่อสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้ 
4. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
5. ผลจากการปรับปรุง ไม่ชัดเจนเป็นรูปธรรม มีผลดำเนินงานเชิงผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมาย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
พบว่าความพึงพอใจของนักศึกษาในหัวข้อ ห้องปฏิบัติการมีอุปกรณ์เหมาะสม เอื้อต่การเรียนรู้ และเพียงพอต่อนักศึกษา มีค่าเพียง 3.58 ซึ่งเป็นค่าที่ไม่สูง ดังนั้นหลักสูตรควรนำเอาไปวิเคราะห์หาปัจจัยที่ทำให้ได้ค่าต่ำ และนำไปปรับปรุงต่อไป
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. เป็นหลักสูตรที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน จะเห็นได้จากอัตราการได้งานชองผู้สำเร็จการศึกษา 100 %
  2. หลักสูตรมีระบบและกลไก การรับนักศึกษาใหม่ที่ดีมาก จนทำให้มีนักเรียนที่สนใจเข้ามาศึกษาเป็นจำนวนมาก ทำให้หลักสูตรสามารถคัดเลือกนักศึกษาที่จะเข้ามาศึกษาในหลักสูตรได้เกินค่าเป้าหมาย
  3. หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ทำให้นักศึกษาจบตามระยะเวลาที่กำหนดได้เป็นจำนวนมาก
  4. หลักสูตรมีการพัฒนากิจกรรมทางวิชาการ โดยให้โอกาสนักศึกาาได้ไป present งานในงานประชุมทางวิชาการ
  5. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ประจำ และอาจารย์ผู้สอนมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์สูง และมีผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ
  6. มีกระบวนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการสร้างเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่หลากหลาย ทำให้นักศึกษามีประสบการร์และทักษะด้านต่างๆเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะทักษะการนำเสนอผลงานทางวิชาการจนได้รับรางวัล

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านได้ทำวิจัย และผลิตผลงานทางวิชาการให้มากขึ้น
  2. หลักสูตรควรวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต่ละรายวิชา เนื่องจากพบว่าได้เกรดต่ำกว่า C หลายรายวิชา
  3. ควรจัดทำแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคล เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.15
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.44
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.74

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.58 4.58 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.15 - - 4.15 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.63 3.50 4.58 3.74 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก