วันที่ประเมิน: 26 กรกฏาคม 2567, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า) - ไม่มี
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า) - ไม่มี
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 52 | 4.24 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 15 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.24 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จำนวนบัณฑิตที่ถูกประเมินจากผู้ใช้ ถึงแม้จะเป็นไปตามเกณฑ์คือ 20% ขึ้นไป แต่จำนวนยังน้อยอยู่ ควรจะได้อย่างน้อย 50% เพราะจะได้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนของบัณฑิตที่จบออกไป |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 52 | 5.00 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 42 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 42 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 100.00 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จำนวนบัณฑิตทุกคน (ตามจำนวนที่ตอบแบบสำรวจ 42/52) ได้งานทำ และรายได้เฉลี่ยค่อนข้างสูงคือประมาณ 42,000 บาท ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- นำรูปแบบการรับนักศึกษาของหลักสูตรในปีการศึกษา 2566 เป็นแนวปฏิบัติที่ดีในปีการศึกษาถัดไป โดยเพิ่มเติมการสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติและวิชาชีพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น และประชาสัมพันธ์หลักสูตรผ่านรุ่นพี่และศิษย์เก่ามากขึ้น- หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ดี และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเกิดประสิทธิภาพ ได้ผลลัพธ์ในเฃิงประจักษ์คือมีจำนวนนักศึกษาครบตามต้องการทุกปี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ถอดบทเรียน เป็นคู่มือแนวปฏิบัติที่ดีในการรับนักศึกษาใหม่ เพื่อเป๋นตัวอย่างให้กับหลักสูตรอื่นๆ นำไปปรับใช้ในอนาคต- ด้วยเหตุที่มีนักศึกษาเข้าเรียนเกินแผน (แผน 50 คน รับ 62-64 คน) ดังนั้นหลักสูตรควรจะมีมาตราการรองรับการตรวจจากสภาวิชาชีพ |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จากความสำเร็จ ในโครงการเพื่อตรียมความพร่้อมนศ.ใหม่ที่ผ่านมา หากทางหลักสูตรนำเสนอประเด็นปัญหาที่ประสบ และตัวอย่างการวางโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาจนประสบความสำเร็จไว้ในรายงาน อย่างเป็นรูปธรรม จะเป็นต้นแบบให้กับหลักสูตรอื่นนๆ นำไปปรับใช้ได้อนาคต- หลักสูตรมีโครงการและกิจกรรมหลายอย่างเพื่อช่วยเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาใหม่ ทำให้ไม่มีนักศึกษาสอบไม่ผ่าน หรือย้ายคณะ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
นอกเหนือจากกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่หลักสูตรได้รายงานมานั้น ในปีหน้าควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาษาอังกฤษไว้ด้วย เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะทั้ง 2 ด้านนี้ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ดีในการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ถ้าต้องการให้เกิดความชัดเจนในการควบคุมดูแลให้คำปรึกษา อาจแบ่งบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 คน ใครทำหน้าที่ดูแลด้านทั่วไป ด้านวิชาการ ด้านแนะแนว แนะแนวการบริการต่างๆในมหาวิทยาลัย แนะแนวการเข้าร่วมกิจกรรมทั้งของหลักสูตร วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย และด้านการพัฒนานักศึกษา |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ ที่เป็นการส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างชัดเจน เช่น วิชารังสีคณิตทางรังสีรักษา วิชาอุปกรณ์รังสีรักษา วิชาเทคนิครังสีรักษา มีโครงการบูรณาการทั้ง 3 วิชา นำเสนอเกี่ยวกับกระบวนการทางรังสีรักษา เพื่อให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจ และสามารถเชื่อมโยงในการปฏิบัติงานได้มากขึ้น- หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มี PDCA ที่ชัดเจน และมีการจัดกิจกรรมและโครงการหลายโครงการเพื่อพัฒนานักศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.นอกจากที่ทางหลักสูตรได้รายงานมาแล้ว ควรแยกให้เห็นชัดว่า การพัฒนานักศึกษา ด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะการใช้สารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี หรือทักษะชีวิต และอาชีพ โดยใช้รายวิชาอะไรบ้างที่จะช่วยในการพัฒนาทักษะเหล่านั้น2.ในปีหน้าอาจกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัด เพื่อทำการประเมินความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา นำไปพิจารณาปรับปรุงกระบวนการต่อไป |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- นักศึกษามีผลงานนำเสนอในงานประชุมวิชาการ และนวัตกรรมทางรังสีเทคนิค ครั้งที่ 4 และยังได้รับรางวัลหลายรางวัล- หลักสูตรให้การสบับสนุน และมีการารพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ โดยมีผลการดำเนินงานในเชองประจักษ์ คือนักศึกษาได้มีโอกาสไป Oral presentation ในงานประชุมวิชาการ และได้รับรางวัล - สนับสนุนให้นักศึกษา ร่วมนำเสนอผลงานวิชาการในการประชุมวิชาการและนวัตกรรมทางรังสีเทคนิค ครั้งที่ 4 (RT & Innovation: From Routine to Professional#4) และการประชุมวิชาการนักศึกษารังสีเทคนิค ประจำปี 2567 (4th RT-PCCMS Undergraduate Research Conference 2024) โดยราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ผลการเข้าร่วมกิจกรรมทำให้นักศึกษาได้รับรางวัลประเภท oral presentation และPoster presentation รวม 6 รางวัล ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 96.88
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีอัตราการคงอยู่สูงมาก และมีแนวโน้มที่ดี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 95.31
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 89.66
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 85.71 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-ถึงแม้ว่าแนวโน้มการสำเร็จการศึกษาจะไม่ดี แต่ร้อยละก็ยังคงสูงอยู่คือมากว่า 80% เนื่องจากหลักสูตรได้ออกเกณฑ์บังคับให้นักศึกษาที่จะสามารถฝึกงานได้ จำเป็นต้องผ่านวิชาพื้นฐาน และวิชาบังคับตามเกณฑ์ที่ทางหลักสูตรกำหนด เพื่อทำให้นักศึกษาที่สามารถไปฝึกงานได้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งจะเป็นผลดีต่อตัวนักศึกษาเอง และหลักสูตรที่สามารถผลิตบัณฑิตที่มีควาสามารถสูง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรจะมีมาตราการในการแก้ไขปัญหา ที่นักศึกษาไม่สามารถสอบผ่านในรายวิชาต่างๆ เช่นให้มีการสอบแก้ตัว ก่อนที่จะออกเกรด โดยอาจจะมีการติว หรือทบทวนนักศึกษาก่อนการสอบแก้ตัวเป็นต้น |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.49
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.51
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.54
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการตัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา โดยมีตัวอย่างในปีการศึกษา 2566 ซึ่งหลักสูตรมีความยืดหยุ่น และยุติธรรมในการตัดสินใจ โดยเห็นประโยชน์ของนักศึกษาเป็นหลัก ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ)1.หลักสูตรควรวางแผนด้านอัตรากำลังอาจารย์ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในกรณีมีอาจารย์มากหรือน้อย อาจไม่สมดุลกับภาระงานสอน 2.หลักสูตรควรกำหนดบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนให้ชัดเจน รวมถึงแผนพัฒนาเป็นรายบุคคล ทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ สหกิจศึกษา และทักษะการจัดการเรียนรู้ (ผศ.ดร.ลาวัณย์) เพิ่มเติม รายงานผล การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ประจำหลักสูตร ให้มีคุณสมบัติตรงกับคุณลักษณะของผู้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อเตรียมรับมือกรณีมีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อการอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในกรณีต่างๆ เช่น เกษียณ ลาออก เป็นต้น จึงจะได้ คะแนนการประเมินในระดับ 4 |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.ดร.ลาวัณย์) มีระบบ มีกลไก/มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน/มีการประเมินกระบวนการ/มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน/ แต่ผลการดำเนินงานเชิงผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน กล่าวคือ ยังไม่พบการรายงานผล แนวทางการปรับปรุง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรสามารถแยกประเด็นการบริหารอาจารย์เป็นด้านๆ เช่น ด้านบริหารกำลังคน ด้านบริหารความเสี่ยง ด้านพัฒนาเทคนิคการสอน ด้านการพัฒนาคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการ เป็นต้น |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(รศ.ดร.ปานันท์) หลักสูตรมีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบที่ดี จนมีผลเชิงประจักษ์คือมีอาจารย์ประจำหลักสูตร 2 ท่านได้ยื่นของตำแหน่งวิชาการคือ ผศ.ดร.นัฐพงษ์ ได้ยื่นของตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และอ.กัญจนพร ได้ยื่นขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์(ผศ.ดร.ลาวัณย์) เพิ่มเติม รายงานผล การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ประจำหลักสูตร ให้มีคุณสมบัติตรงกับคุณลักษณะของผู้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อเตรียมรับมือกรณีมีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อการอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในกรณีต่างๆ เช่น เกษียณ ลาออก เป็นต้น จึงจะได้ คะแนนการประเมินในระดับ 4 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(รศ.ดร.ปานันท์) วุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบที่จบริญญาเอก มีไม่ถึงครึ่ง (2/5) ดังนั้นควรจะสนับสนุนการไปศึกษาต่อ แต่เป็นเพราะสาขานี้เป็นสาขาขาดแคลนทำให้ผู้ที่จะเรียนต่อในระดับปริญญาเอกมีน้อย ดังนั้นอาจจะสนับสนุนให้อาจารย์ที่ยังไม่มีตำแหน่งวิชาการทุกคน ยื่นของตำแหน่งวิชาการแทน |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 2 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 40.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวุฒิปริญญาเอก ควรจะมีเกินครึ่ง แต่เนื่องจากเป็นสาขาวิชาที่มีอาจารย์วุฒิปริญญาเอกน้อย การส่งเสริมการเรียนต่ออาจจะทได้ลำบาก ดังนั้นควรจะสนับสนุนการขอตำแหน่งวิชาการแทน |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 3.33 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 3 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 1 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 1 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 2 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 40.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 3.33 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรสนับสนุนอาจารย์ที่ยังไม่มีตำแหน่งวิชาการ ยื่นของตำแหน่งวิชาการ โดยอาจจะต้องมี plan การดำเนินการของแต่ละคน |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 2 | 0 | 0 | 0 | 8 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 8.40 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 168.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา อาจารย์ประจำหลักสูตรได้มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพสูงเป็นจำนวนมากระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่ในปีที่ผ่านมาส่วนมากจะเป็นผลงานของอาจารย์เพียง 2 ท่าน ดังนั้นควรจะมีการสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่านอื่นมีผลงานเผยแพร่ด้วย |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.39
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.40
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.44
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หลักสูตรได้มีการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ PLO, YLO เพื่อเตรียมปรับปรุงหลักสูตรในปี 2569 ดังนั้น ควรกำหนดรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ ให้ชัดเจนว่าจะพัฒนานักศึกษาวิชาใด ในด้านใด จะประเมินอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไร แล้วเกิดผลลัพธ์เป็นอย่างไร2.การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา ควรอธิบายว่าหลักสูตรได้มีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้ประกอบการ ผู้ใช้บัณฑิต หรือศิษย์เก่า หรือไม่ ซึ่งความคิดเห็นเหล่านั้นจะชี้ให้เห็นความต้องการของตลาดและการพัฒนาประเทศ 3.หลักสูตรมีความร่วมมือ หรือ ทำ MOU กับสถานประกอบการชั้นนำ หรือไม่ การทำร่วมมือกับสถานประกอบการ ทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริง และยังเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรู้จักนักศึกษาและฝึกงาน รองรับนักศึกษาเพื่อรับเข้าทำงาน เมื่อสำเร็จการศึกษาอย่างต่อเนื่อง |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ขอให้ตรวจสอบหน้า 111 ข้อมูลที่เขียนมา น่าจะไม่จำเป็น สำหรับประเด็นการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ 3 ด้าน2.ควรอธิบายสาระรายวิชาของหลักสูตร ว่ามีกลุ่มรายวิชาชีพ วิชาเสริมทักษะที่สำคัญอะไรบ้างที่สอดคล้องผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน 3.กำหนดรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ ให้ชัดเจน ที่จะรับผิดชอบในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ในด้านอะไรบ้าง |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรจะปรับปรุงในปี 2569 ขอเสนอแนวทางปรับปรุงให้หลักสูตรได้มีการเพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่งน่าจะจำเป็นต่อการพัฒนานักศึกษาในยุคดิจิทัล |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
นอกจากกำหนดผู้สอนรายวิชาแล้ว ควรกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกงาน หรือปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ว่ามีระบบ มีวิธีการกำหนดอย่างไร |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการวางแนวทางจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย เอื้อต่อการพัฒนา ส่งเสริมการวิจัย จนได้ผลลัพธ์เป็นผลงานวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา และได้รับรางวัลหลายรางวัล ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรกำหนดรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ อะไรบ้าง ที่ต้องประเมินผลลัพธ์ผู้เรียนในด้านต่างๆ |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรเปิดสอน 34 วิชา ทำการทวนสอบทั้ง 34 วิชา แล้วมีปัญหา อุปสรรคหรือไม่ ขอเสนอว่า เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สามารถนำไปพัฒนานักศึกษา และรายวิชาอย่างแท้จริง อาจจะเลือกวิชาทำการทวนสอบไม่น้อยกว่า 25% ของรายวิชาที่เปิด ก็น่าจะเพียงพอ |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้ระบุจำนวนครั้งของการประชุมด้วย |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ดังนั้น ต้องจัดทำ RQF.4 ไว้บนระบบของ สมว. ด้วย |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ดังนั้น ต้องจัดทำ RQF.6 ไว้บนระบบของ สมว. ด้วย |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรเปิดสอน 34 วิชา ทำการทวนสอบทั้ง 34 วิชา แล้วมีปัญหา อุปสรรคหรือไม่ ขอเสนอว่า เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สามารถนำไปพัฒนานักศึกษา และรายวิชาอย่างแท้จริง อาจจะเลือกวิชาทำการทวนสอบไม่น้อยกว่า 25% ของรายวิชาที่เปิด ก็น่าจะเพียงพอ |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 13 | 5.00 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 13 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หลักสูตรมีแนวทางอย่างไร ในการให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนรู้2.หลักสูตรมีระบบการดำเนินงาน และการใช้งบดำเนินการอย่างไร เพื่อจัดหาวัสดุการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ ให้เพียงพอ และเหมาะสม |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรเพิ่มข้อมูล ดังนี้1.ควรให้รายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ ว่ามีคุณสมบัติได้มาตรฐานระดับใด เป็นอุปกรณ์ชั้นนำ เครื่องมือที่ทันสมัย หรือไม่ 2.มีห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง และห้องวิจัยที่ได้มาตรฐาน เหมาะสม เพียงพอกับการจัดการเรียนการสอน และเอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อธิบายผลการประเมินคุณภาพที่พร้อมใช้งานและปริมาณที่เพียงพอหรือไม่ ได้แก่ ความพร้อมทาง กายภาพ เช่น ห้องเรียนห้องปฏิบัติการ ที่พักของนักศึกษา ความพร้อมของอุปกรณ์ เทคโนโลยี และสิ่งอำนวย ความสะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด ตำรา หนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ สื่ออิเล็คทรอนิกส์ โดยให้ระบุการนำผลการประเมินคุณภาพ มาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง/พัฒนาเพื่อสนองความต้องการของนักศึกษาและอาจารย์ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.24 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 5.00 |
3.1 การรับนักศึกษา | 4.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 4.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 3.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 4.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 4.44 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 4.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 3.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 3.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 3.82 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.62 | 4.62 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 3.67 | - | - | 3.67 | ระดับคุณภาพดี |
4 | 3 | 4.15 | - | - | 4.15 | ระดับคุณภาพดีมาก |
5 | 4 | 3.00 | 3.67 | - | 3.50 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
ผลการประเมิน | 3.78 | 3.50 | 4.62 | 3.82 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |