รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์

วันที่ประเมิน: 30 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
--
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 36 4.12
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 9
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.12
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 36 4.38
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 26
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 16
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 3
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 3
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 2
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 87.50
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.38
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- บัณฑิตได้ประกอบอาชีพที่มีรายได้ต่อเดือนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ที่สูง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นจากปี 2562-2566 ซึ่งอาจจะมีผลมาจากการปรับปรุงระบบและกลไกการรับนักศึกษาโดยการประชาสัมพันธ์หลากหลายช่องทาง 
- มีแนวทางการคัดเลือกนักศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้ได้นักศึกษาที่ตรงกับความต้องการของหลักสูตรมากที่สุด
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรปรับการเขียนให้เป็นรายหัวข้อให้ชัดเจน เช่น
          ระบบและกลไก (P)  เขียนเฉพาะวา่หลักสูตรมีระบบและกลไกอย่างไร เช่น การกำหนดคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา การรับสมัครสอบสัมภาาณ์/ข้อเขียนพิจารณาจากเกรด.... เป็นต้น ระับุใครเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ
          การนำระบบไปปฏิบัติ (D) เขียนอธิบายว่านำไปปฏิบัติอย่างไร ช่วงเดือนไหนถึงเดือนไหน โดยฝ่ายรับนักศึกษาร่วมกับหลักสูตรหรือไม่  ผลการปฏิบัติืมีจำนวนนศ.เท่าไรมีการหาข้อมูลว่ามีการเข้ามาโดยช่องทางปชส.ใดบ้าง
          การประเมินกระบวนการ(C) มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการประเมินการกระทำในปีนี้ ทำให้นศ.มีมากขึ้น โดยเหตุผลใด หรือ ส่วนใดที่ต้องปรับปรุง เพื่อนำไปใช่้ในปีต่อไป
          การปรับปรุง(A) จากการประชุมดังข้อ C ในปีการศึกษาก่อนหน้า มีข้อเสนอจากอาจารนย์ในที่ประชุมควรเพิ่มการปฏิบัติอย่างไร นำมาปฏิบัติในปีการศึกษานี้อย่างไร แล้วได้ผลที่ดีขึ้น

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีโครงการจำนวนมากควรเขียนในรูป PDCA 
- นอกเหนือจากกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่หลักสูตรได้รายงานมานั้น ในปีหน้าควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะด้านนี้ด้วย
- หลักสูตรควรกำหนดหัวข้อการเตรียมความพร้อมให้ชัดเจน แล้วทำการ Mapping กิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมกับหัวข้อดังกล่าว แล้วทำการประเมินร้อยละสัมฤทธิผลของความพร้อมนักศึกษาใหม่ เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการต่อไป
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบ กลไกการควบคุมดูแลให้คำปรึกษา ทั้งวิชาการและวิชาชีวิต ที่ชัดเจน นำไปปฏิบัติได้จริง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเขียนตามหัวข้อ ระบบและกลไก  การนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน การประเมินกระบวนการ  การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน  ซึ่งหลักสูตรมีทุกหัวข้อ
- หลักสูตรควรกำหนดรายชื่ออาจารย์ให้ชัดเจนว่าใครดูแลนักศึกษาตามชั้นปี มีวิธีการจัดสรรอย่างไร
- ถ้าต้องการให้เกิดความชัดเจน อาจแบ่งบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ใครทำหน้าที่ดูแลด้านทั่วไป ด้านวิชาการ ด้านการพัฒนานักศึกษา ด้านแนะแนว แนะแนวการบริการต่างๆในมหาวิทยาลัย แนะแนวการเข้าร่วมกิจกรรมทั้งของหลักสูตร คณะ และมหาวิทยาลัย

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- นักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะหลายด้านโดยเฉพาะกิจกรรมภายนอกมหาวิทยาลัยที่เป็นการฝึกประสบการณ์จริง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีโครงการจำนวนมาก ควรเขียนแต่ละโครงการว่าดำเนินการแล้ว ผลเป็นอย่างไร เป็นโครงการที่ทำเฉพาะปี 2566 หรือไม่ ถ้าเป็นโครงการที่ทำต่อเนื่อง จะเขียนได้ครบตามหัวข้อ PDCA 
- การรายงานผลการดำเนินงานยังไม่ชัดเจนว่ามีการปรับปรุงจากปีก่อนหน้าในประเด็นใดบ้าง

- หลักสูตรพัฒนาศักยภาพนักศึกษาผ่านโครงการ กิจกรรม และรายวิชาที่ต้องเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการรายงานครั้งต่อไปควรให้รายละเอียดว่าแต่ละโครงการ / กิจกรรม / รายวิชา ที่พัฒนานั้น ครอบคลุมทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม ทักษะสื่อ สารสนเทศ ทักษะชีวิตและอาชีพ อย่างไรบ้าง
- หลักสูตรควรระบุทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่ต้องการพัฒนาให้กับนักศึกษาของหลักสูตรให้ชัดเจนและทำการ Mapping ทักษะต่างๆกับกิจกรรม/โครงการพัฒนา แล้วประเมินสัมฤทธิผลของการพัฒนาทักษะ เช่น ค่าร้อยละของนักศึกษาที่มีทักษะต่างๆ เทียบกับเป้าหมาย เพื่อนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงกิจกรรมรายทักษะต่อไป
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- นักศึกษามีผลงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ และได้รับรางวัลปริญญานิพนธ์ดีเด่นอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2542 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2545)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 81.25
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 81.82
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 86.30
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 62.50
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 77.27
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 84.93
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.42
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.82
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.60
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯระดับปริญญาเอกทั้ง 5 คน มีตำแหน่งวิชา 4 คน  มีการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบร้อยละ 100  มีผลงานวิชาการเผยแพร่เป็นปัจจุบันตีพิมพ์เผยแพร่อยู่ในระดับ Scopus จำนวน 2 เรื่อง แสดงให้เห็นว่า การรับอาจารย์ การบริหารอาจารย์มีประสิทธิภาพ จึงทำให้มีผลลัพธ์ที่ดี 
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรวางแผนด้านอัตรากำลังอาจารย์ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในกรณีมีอาจารย์มากหรือน้อย อาจไม่สมดุลกับภาระงานสอน
 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรช่วยกันทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในกรณีมีอาจารย์มากหรือน้อย อาจไม่สมดุลกับภาระงานสอน และบริหารความเสี่ยงด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน
- หลักสูตรควรกำหนดบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้สอนให้ชัดเจน รวมถึงแผนพัฒนาเป็นรายบุคคล ทั้งด้านวิชาการ ด้านพัฒนาเทคนิคการสอน ด้านการพัฒนาคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการ วิชาชีพ สหกิจศึกษา และทักษะการจัดการเรียนรู้

 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ด้านการวิจัย ที่ส่งผลให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่อยู่ในระดับ Scopus จำนวน 2 เรื่อง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีศักยภาพสูง มีคุณวุฒปริญญาเอกครบทั้ง 5 คน แสดงถึงการพัฒนาหลักสูตรต้องมีความเข้มแข็งทางด้านวิชาการ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีตำแหน่งทางวิชาการเกือบครบทุกคน แสดงถึงสักยภาพในการผลิตผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 0 0 2
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 48.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถผลิตผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่อยู่ในระดับ Scopus จำนวน 2 เรื่อง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.93
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 5.00
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 5.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          ผลการดำเนินมีแนวโน้มที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง
 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

25
7
28.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการเปิดรายวิชาเพิ่มขึ้นที่ตรงกับความต้องการของผู้เรียน (ฺBMS 452)
- หลักสูตรมีระบบ กลไก ที่ชัดเจน ทั้งการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา ให้ทันสมัย รองรับอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) อยู่ภายใต้โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรส่งเสริมให้มีรายวิชาที่นำผลประเมินความต้องการของ Stakeholder และความร่วมมือกับสถานประกอบการโดยระบุวัตถุประสงค์ของการร่วมมือในรายวิชา นำไปสู่การจัดการเรียนการสอนและประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ว่าเป็นไปตามเป้าหมายของวัตุประสงค์ของรายวิชาดังกล่าวหรือไม่ เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการต่อไป เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์เรียนรู้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและ In Trend และก้าวทันเทคโนโลยีที่สมัยใหม่ ทั้งนี้ ไม่พบข้อมูลรายวิชาที่มีความร่วมมือกับสถานประกอบการ แต่หลักสูตรมีรายวิชาที่นักศึกษาได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานประกอบการ (มีข้อมูลในตัวบ่งชี้ 3) 
- หลักสูตรมีความร่วมมือ หรือ ทำ MOU กับสถานประกอบการชั้นนำ หรือไม่  การทำร่วมมือกับสถานประกอบการ ทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริง และยังเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรู้จักนักศึกษาและฝึกงานรองรับนักศึกษาเพื่อรับเข้าทำงาน เมื่อสำเร็จการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรกำหนดรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ ที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะต่างๆให้ชัดเจน ควรอธิบายสาระรายวิชาของหลักสูตร มีกลุ่มรายวิชาชีพ วิชาเสริมทักษะที่สำคัญอะไรบ้างที่สอดคล้องผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้านนั้น
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรระบุการปรับปรุงสาระรายวิชาให้มีความทันสมัยที่ดำเนินการในแต่ละปีการศึกษาให้ชัดเจน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เขียนตามหัวข้อ ระบบและกลไก   การนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน   การประเมินกระบวนการ และ การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน ให้ชัดเจน 
- นอกจากกำหนดผู้สอนรายวิชาที่สอนแล้ว ควรบอกด้วยว่าอาจารย์มีความเหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีรายวิชาหลายรายวิชาที่ครอบคลุมการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการและการวิจัย อาจพิจารณาดำเนินการการบูรณาการในแต่ละด้านให้ครบทั้ง 4 ชั้นปี
- หลักสูตรมีแนวทางจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย ได้ผลลัพธ์เป็นผลงานวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการกับบริการวิชาการอีกหลายรายวิชา อาทิ โครงการตรวจวัดสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ โครงการให้ความรู้ดูแลสุขภาพชุมชน และมีการบูรณาการกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้วยโครงการปัญญาอบรมใจ ที่จัดขึ้นทุกปี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรทำการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน กับผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน กำหนดรายวิชา เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินแต่ละด้านไว้ให้ชัดเจน
- หลักสูตรควรรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา (ร้อยละนักศึกษาที่ได้ CLO YLO เป็นต้น) เพราะหลักสูตรมีการกำหนด YLO ไว้ในหน้า 118 แต่ไม่ได้วัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุง
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรนำผลการทวนสอบรายวิชา เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษามีทักษะทั้ง 3 ด้าน คือ Learner Person, Innovative Co-Creator และ Active Citizen
- หลักสูตรควรวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน นำมาปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เช่น การวิพากษ์ หรือการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา

 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-การประชุม 2 ครั้ง น้อยไป  ควรประชุมอย่างน้อย 3 ครั้งขึ้นไป เช่น  ครั้งที่ 1 วางแผนการทำงานในต้นปีการศึกษา (เทอม S ) ครั้งที่ 2 สรุปการทำงานรอบครึ่่งปี (สิ้นเทอม 1) ครั้งที่ 3 สรุปทำงานสิ้นปี (สิ้นเทอม 2)  หรือมากกว่านี้ได้ เป็นการประชุมทางline ได้ เพราะในการทำงานระหว่างภาคเรียนอาจจะมีปัญหา หรือ การรายงานความก้าวหน้าผลทำโครงการต่างๆ 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ระบบและกลไก ข้อที่ 1 ควรใช้คำว่า สำรวจความต้องการเพิ่มเติมของนักศึกษาด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้  ควรสำรวจกับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ,3 และ ชั้นปีที่ 4 (ชั้นปีที่ 1 ยังไม่ได้ใช้สื่อฯ มาก อาจยังไม่รู้ความต้องการ) 
- หลักสูตรมีแนวทางอย่างไร ในการให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนรู้
- หลักสูตรมีระบบการดำเนินงาน และการใช้งบดำเนินการ เพื่อจัดหาวัสดุการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ ให้เพียงพอ และเหมาะสม

 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มเติมรายละเอียดของสื่อฯ เช่น แบ่งออกเป็น 1. สื่อเอกสาร (หนังสือ) 2.สื่อด้านIT 3.สื่อด้านห้องและอุปกรณ์ภายในห้องเรียน เป็นต้น 
- หลักสูตรควรบอกจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ทั้งในเชิงปริมาณ คือมีจำนวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หนังสือ วารสาร จำนวนเท่าไหร่ มีเพียงพอ เหมาะสมหรือไม่ และในเชิงคุณภาพ คือมีห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ ที่ทันสมัย สามารถเป็นต้นแบบให้กับสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้
- หลักสูตรควรรายงานความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาตามที่่หมวดวิชารับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนซึ่งแจ้งว่ามีการรวบรวมผลประเมินและติดตามผลการประเมินคุณภาพสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มาใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยงกับการปรับปรุงกระบวนการของหลักสูตร 
 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรประเมินในประเด็นความเพียงพอของสิ่งสนับสนุนด้วยนอกเหนือจากความเหมาะสม
- ไม่พบรายงานผลการดำเนินงานที่นำผลประเมินในปี 2565 มาทำการปรับปรุงในปี 2566 อย่างชัดเจนว่ามีการปรับปรุงจากผลการประเมินในประเด็นใด

- ควรให้รายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ ว่ามีคุณสมบัติได้มาตรฐานระดับใด เป็นอุปกรณ์ชั้นนำ เครื่องมือที่ทันสมัย หรือไม่
- มีห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง และห้องวิจัยที่ได้มาตรฐาน เหมาะสม เพียงพอกับการจัดการเรียนการสอน และเอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
- ขาดหลักฐานของผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุน 

- ควรประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้ครอบคลุมในทุกหัวข้อ ซึ่งประกอบด้วยการประเมินความพร้อมทางด้านกายภาพ ได้แก่ ความพร้อมของห้องเรียนบรรยายและห้องปฎิบัติการต่างๆ ความพร้อมทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น คอมพิวเตอร์และระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย และความพร้อมทางด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เช่น ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล ซอฟแวร์ และคอร์สแวร์ต่างๆ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ  เพื่อจะได้นำผลการประเมินไปปรับปรุงตามจุดแข็ง จุดอ่อน ได้อย่างถูกต้อง
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีศักยภาพสูง มีคุณวุฒปริญญาเอกครบทั้ง 5 คน แสดงถึงการพัฒนาหลักสูตรต้องมีความเข้มแข็งทางด้านวิชาการ
  2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีตำแหน่งทางวิชาการเกือบครบทุกคน แสดงถึงศักยภาพในการผลิตผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
  3. นักศึกษาสมัครเข้าเรียนสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด โดยเฉพาะการรับนักศึกษาต่างชาติที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี โดยยังคงมีนักศึกษาไทยอยู่ในหลักสูตรด้วย สามารถเป็นต้นแบบให้หลักสูตรอื่นดำเนินการในลักษณะเดียวกันได้
  4. ด้านหลักสูตร เนื้อหาหลักสูตรสอดคล้องกับการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนในประเทศ การเปลี่ยนแปลงของลักษณะโรคภัย และวิกฤตการณ์ด้านสาธารณสุข โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
  5. หลักสูตรส่งเสริมผลงานของนักศึกษาในการพัฒนาผลงานปริญญานิพนธ์ ผ่านการเข้าประกวดจนได้รับรางวัลหลายรางวัล

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ด้านจำนวนบุคลากร ควรกำหนดKPI การทำวิจัย และการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการในขั้นต่อไปของอาจารนย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้ชัดเจน ในหัวหัว การบริหารอาจารย์ใในหลักสูตร
  2. ด้านนักศึกษา ควรรวบรวมข้อมูลการเลือกเข้าศึกษาหลักสูตรด้วยเหตุผลใด และ ทราบข้อมูลหลักสูตรจากช่องทางใด เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในองค์ประกอบที่ 3
  3. เพิ่มการบูรณาการระหว่างการเรียนการสอนกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
  4. เพิ่มการประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในประเด็นด้านความเพียงพอนอกเหนือจากความเหมาะสม
  5. ควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะด้านนี้ด้วย

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.12
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.38
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.65

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.25 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 4.33 - - 4.33 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.57 3.50 4.25 3.65 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก