รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

วันที่ประเมิน: 17 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 62 4.86
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 25
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.86
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คะแนนประเมินอยู่ในระดับดีมาก โดยเฉพาะการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมองค์กร และ ความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 62 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 55
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 45
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 3
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 4
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 3
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-การเข้าสู่ตลาดแรงงาน แนวโน้มเทียบกับปีก่อนต่างกันมากน้อยแค่ไหน
-ปัจจุบันแนวโน้มการทำงานอิสระหรือทำธุรกิจส่วนตัวมีมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด แต่นักศึกษาสาขาสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ เป็นประเด็นที่น่าสนใจว่ามีกระบวนการอย่างไร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.93 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีเกณฑ์การเข้าศึกษาต่อที่น่าสนใจ ได้แก่
        พิจารณาเกณฑ์การเทียบโอนด้วยผลคะแนนสอบวัดระดับภาษาจีนนานาชาติกับเกณฑ์การเทียบโอนของมหาวิทยาลัยรังสิต
        หลักสูตรวางแผนกำหนดเกณฑ์การสอบเทียบโอนสำหรับนักศึกษาต้องการสมัครเข้าเป็นนักศึกษาด้วยผลคะแนนสอบวัดระดับภาษาจีนนานาชาติ HSK 
และมีการประชาสัมพันธ์อย่างดี

2.การรับนักศึกษามีการใช้การเทียบโอนซึ่งเป็นผลดีกับนักศึกษา ทำให้ลดการเรียนในบางวิชาส่งผลให้จบการศึกษารวดเร็วขึ้น
3.หลักสูตรประเมินตนเอง พบว่า สามารถจัดกรรมการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ได้อย่างเหมาะสม มีระบบและกลไกการดำเนินงานที่ชัดเจนมากกว่าปี 2564
4.ผลการดำเนินงาน “โครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งแผนการดำเนินตามเป้าหมายด้านผลลัพธ์ทางการเรียนในรายวิชา CHN 111 ของนักศึกษาใหม่ พบว่า นักศึกษาใหม่ทั้งชั้นปีมีผลการเรียนในรายวิชาดังกล่าวสูงขึ้นจากปีการศึกษา 2565 และ ปีการศึกษา 2564 อย่างชัดเจน คือ
ปีการศึกษา 2564 CHN 111 ภาษาจีนพื้นฐาน 1 Class GPA มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 2.98
ปีการศึกษา 2565 CHN 111 ภาษาจีนพื้นฐาน 1 Class GPA มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.21
ปีการศึกษา 2566 CHN 111 ภาษาจีนพื้นฐาน 1 Class GPA มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.38
3. นักศึกษาใหม่ได้เข้าสอบวัดระดับภาษาจีนนานาชาติทั้ง HSK 3 HSK 4 จำนวนร้อยละ 100 และมีอัตราสอบผ่านร้อยละ 70  ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้
4. นักศึกษาใหม่มีอัตราการคงอยู่สูงกว่าปีการศึกษา 2564 เมื่อเปรียบเทียบในช่วงเวลาเดียวกันคือ ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม พบว่า มีแนวโน้มสูงขึ้น คือ
ปีการศึกษา 2565 มีอัตราการคงอยู่ ร้อยละ 95.25
ปีการศึกษา 2565 มีอัตราการคงอยู่ ร้อยละ 98.15

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ไม่แน่ใจว่าจำนวนนักศึกษาเข้าในปี 66 แปรตามหลักเกณฑ์ที่ปรับปรุงอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่อย่างไร จริงๆ แล้วหากจำนวนไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ก็ไม่สำคัญเท่ากับกระบวนการที่ชัดเจนและมีประโยชน์ต่อหลักสูตรและการเรียนของนักศึกษา ซึ่งจะส่งผลในระยะยาว
2.หลักสูตรระบุว่า หลักสูตรวิเคราะห์เกณฑ์การเทียบโอนจากผลคะแนนสอบ HSK อาจเป็นส่วนหนึ่งที่ส่งผลต่อการตัดสินใจสมัครเรียนของนักศึกษาด้วย 
น่าสนใจว่าแปรตามเกณฑ์จริงไหม เพื่อเอาไปใช้พัฒนาต่อไป
3.นักศึกษา 15 คน เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่
4.หากในอนาคต มีผู้เทียบโอนมากขึ้น ผ่านวิชามากขึ้น (ตามเป้าหมายของสาขาวิชา) จะมีผลต่อการจัดการรายวิชาพื้นฐานในหลักสูตรหรือไม่อย่างไร 
5. ควรระบุแผนการรับนักศึกษาให้ชัดเจน เนื่องจากหลักสูตรเน้นให้ข้อมูลเรื่องการเทียบโอนเพียงอย่างเดียวที่ชัดเจน 
6. การปรับปรุงกระบวนการอาจต้องระบุการปรับปรุงในปี 2565 เพื่อใช้กับนักศึกษารหัส 66 หรือไม่ (ข้อสังเกต)
7. การใช้ตัวเลขของผู้ที่ผ่านการเทียบโอนมีความสัมพันธ์อย่างไรกับการประเมินกระบวนการรับนักศึกษา อาจใช้ตัวชี้วัดอื่นที่ชัดเจนกว่านี้หรือไม่ (ข้อสังเกต)
8. การเปรียบเทียบ GPA ของรายวิชา CHN111 ในแต่ละปีการศึกษาน่าจะเป็นประเด็นการเตรียมความพร้อมไม่ใช่การรับนักศึกษา (ข้อสังเกต)
หมายเหตุ ในประเด็นข้อ 5 หากใช้เป็นตัวชี้วัดการประเมินกระบวนการเตรียมความพร้อมทำได้หรือไม่ เนื่องจากเป็นนักศึกษาคนละรุ่นกัน ทั้งนี้อาจใช้การประเมินจากด้านอื่นสะท้อนการดำเนินงานกับนักศึกษารหัส 66 จริง ๆ เช่น ตั้งเป้า่ว่าถ้าติวแล้วนักศึกษาต้องสอบผ่านและได้ผลการเรียนระดับ C ร้อยละ 80 ขึ้นไป เป็นต้น

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีแผนและกลไกที่ชัดเจน ปรับปรุง นำไปสู่การปฏิบัติ หลังปฏิบัติมีการประเมินและเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม เห็นได้จากอัตราการคงอยู่ คะแนนประเมินวิชาการ
2.หลักสุตรมีการระบุเป้าหมายที่ชัดเจน เข้มข้นมากขึ้นทุกปี
3.มีการติวเพิ่มนอกเวลาให้กับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หลักสูตรระบุว่าจะมีกิจกรรมนันทนาการเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผู้ประเมินมองว่าหากให้น้ำหนักตรงจุดนี้ เพิ่มน้ำหนักกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่ใช่วิชาการ อาจจะเป็นการเตรียมความพร้อมในด้านอื่น ๆ ให้แก่นักศึกษานอกเหนือไปจากงานวิชาการ
2.ควรเพิ่มกลไกเตรียมความพร้อมด้านอื่นๆ ให้มากขึ้น เช่นด้านสังคม นอกเหนือจากด้านวิชาการ
3.บางประเด็นรายงานสลับกันไปมาระหว่างการรับกับการเตรียมความพร้อม (พิจารณาปรับให้ตรงหัวข้อ)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.จัดอาจารย์ชาวจีนไว้ดูแลตามสภาพชั้นปี 
2.มีผลประเมินเรื่องการดูแลการให้คำปรึกษาที่ดีมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.สัดส่วนอาจารย์ที่ปรึกษาต่อจำนวนนักศึกษา มีผลหรือไม่อย่างไร
2.การประเมินกระบวนการควรรายงานให้ชัดเจนว่าประเมินอย่างไร บรรลุตามเป้าหมาย เป้าหมายคืออะไร
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีโครงการพัฒนาศักยภาพ และตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน
2.มีนศ.เข้าร่วมประกวดและได้รับรางวัล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรระบุให้ชัดเจนว่าการจัดกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร เพิ่มการรายงานในประเด็นนี้ให้ขัดเจน
2. หลักสูตรเน้นการรายงานเรื่องการส่งนักศึกษาเข้าประกวดรายการต่างๆ ควรเพิ่มกิจกรรมในรูปแบบอื่น เพื่อให้นักศึกษาที่มีความสามารถในแต่ละระดับได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-จัดโครงการที่มีวิทยากรเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 
-ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าสู่โลกงานวิชาการอย่างจริงจัง
-ใช้ระบบการประเมินงานวิชาการที่ได้มาตรฐาน
-มีผลงานวิจัยที่รอการเผยแพร่ตามกระบวนการและได้รับรางวัล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.การปรับปรุงรายวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ พบปัญหา หรือ สามารถแก้ไข พัฒนา ประเด็นใดได้ และผลรูปธรรมนั้นเกี่ยวเนื่องกับการปรับปรุงนี้อย่างเห็นได้ชัดหรือไม่ อยากให้อธิบาย เช่น ปรับปรุงระบบการรับส่งวิจัย ปัญหาคืออะไร ปรับแล้วดีขึ้นอย่างไร นศ. พอใจ ยืดเวลา หรือเร่งให้นศ.ทำงานไวขึ้น หรือการกำหนดรูปแบบเชิงปริมาณ คุณภาพให้มีสัดส่วนที่เหมาะสม ปัญหาคืออะไร แก้แล้วเป็นอย่างไร
2.ในปีการศึกษา2565 หลักสูตรรายงานว่ามีนักศึกษาเขียนงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถต่อยอดไปเผยแพร่ร่วมกัยบอาจารย์ได้ ดังนั้นอาจรายงานผลต่อเนื่องในปี 2566 ว่าได้มีการดำเนินงานต่อยอดส่วนนี้อย่างไร เพื่อให้เห็นการประเมินกระบวนการที่ชัดเจน ทั้งนี้อาจเชื่อโยงกับการเตรียมงานวิจัยส่งเข้าวารสารในปี 2566ได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2550 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2553)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 68.57
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 66.67
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 83.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อัตราการคงอยู่ผันผวน ปัญหาเกิดจากปัจจัยภายนอก เช่น เรื่องเศรษฐกิจเป็นสำคัญ ควรใช้วิธีการที่ควบคุมได้ เช่น การจัดการหลักสูตร การจัดการรายวิชาบังคับก่อน มาทดแทน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเพิ่มมาตรการรักษาอัตราการคงอยู่ บางสาเหตุเป็นเรื่องปกติ เช่นผลการเรียนตกต่ำ หากมีการวางแผนล่วงหน้าอาจแก้ปัญหาตรงนี้ได้
 
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 66.67
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 62.96
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 69.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การสำเร็จการศึกษาในปีล่าสุดดีขึ้น อาจจะนำปัญหาและแนวทางของปีนี้มาทบทวน หากเป็นปัจจัยที่ควบคุมได้ควรนำมาพิจารณาวางแนวทาง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรปรับปรุงแนวทางการทำให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาให้มีอัตราที่คงที่หรือดีขึ้น ซึ่งหลักสูตรมีแนวทางหลายประเด็นที่เข้มข้นและชัดเจนอยู่แล้ว 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.43
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.58
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.59
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีแนวโน้มความพึงพอใจที่ดีมากขึ้น โดยเฉพาะประเด็นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านงานวิจัยที่เป็นจุดเด่นของหลักสูตร อาจจะเน้นด้านการแนะแนวทางการผลิตหัวข้องานวิจัยให้เป็นในเชิงสังคมมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลประเมินข้อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 น้อยสุด อาจย้อนไปที่การจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ ที่หลักสูตรได้ระบุไว้ว่าจะเพิ่มจำนวนผู้เข้าร่วมมากขึ้น เพิ่มการมีส่วนร่วมมากขึ้น 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรมีเกณฑ์จำนวนผลงานวิชาการที่เข้มข้น อยากให้เขียนบรรยายประเด็นนี้ว่ามีที่มาอย่างไร และเมื่อนำไปใช้จริงในทางปฏิบัติเกิดปัญหาหรือสำเร็จอย่างไร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-พิจารณาการใช้คำว่า อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
-เกณฑ์ผลงานวิชาการที่ค่อนข้างสูง ตั้งจากที่เห็นผลงานของอาจารย์ในหลักสูตรอยู่ แต่เกณฑ์นี้จะสามารถใช้ในอนาคต (ระยะยาว) ได้หรือไม่อย่างไร เพราะจากการปรับปรุงกระบวนการเหมือนว่าหลักสูตรจะตั้งเกณฑ์ให้สูงขึ้นอีก 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกที่เข้มข้น เช่น เรื่องการเผยแพร่ผลงานวิชาการ และการขอทุนวิจัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ควรนำแผนพัฒนาบุคลากรฉบับใหม่มากล่าวถึงเพื่อให้สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
-น่าจะนำเสนอการบริหารอาจารย์ในมิติอื่น ๆ นอกจากงานวิชาการ 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
่-มีงานวิจัยที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม 
-มีการบริการวิชาการที่ชัดเจน ทั้งปริมาณและคุณภาพ
- ปี 2566 เผยแพร่ผลงานวิชาการเพิ่มจำนวน TCI 1 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบกำลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก เป็นไปตามแนวทางของสาขาวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 5
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 0
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 0.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ในหลักสูตรมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานทั้งปริมาณและคุณภาพ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรผลักดันให้อาจารย์ยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เนื่องจากหลายท่านมีผลงานได้ตามเป้าการยื่นขอแล้ว
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 3 2 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 68.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การเผยแพร่ส่วนใหญ่เป็นการทำวิจัยร่วมกัน ทั้งนี้อาจส่งเสริมให้อาจารย์ทำผลงานของตนเองโดยเฉพาะเพื่อการเผยแพร่ให้มากขึ้น เพื่อนำไปสู่การขอตำแหน่งวิชาการ
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 40.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรพยายามเพิ่มอัตราส่วนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ป.เอก ทำให้กระทบกับการคงอยู่
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หาแนวทางการรักษาการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.77
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.82
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.90
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

36
36
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีการวางแผน โดยกำหนดมาจากการสัมภาษณ์ สำรวจ แหล่งฝึกงาน นักศึกษา นำมาสังเคราะห์เพื่อกำหนดสาระของหลักสูตร การปรับเปลี่ยนแก้ไขรายวิชา
2.จำนวน ร้อยละ 10 ที่ระบุในหน้า 95 หมายถึงจากสถานประกอบการทั้งหมด?
3.การปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาสาระในหน้า 96 คือการปรับรายวิชาในหลักสูตรที่ทำตามกระบวนการใช่หรือไม่ (ปรับเล็ก) หรือ เปลี่ยนแปลงเนื้อหา (ระบุในประมวลรายวิชาหรือ RQF3 4
4.หลักสูตรระบุตัวชี้วัดเพื่อเป็นเป้าหมายในการปรับปรุง แต่ระบุไว้เพียง 1 รายวิชา สัดส่วนพอเหมาะหรือไม่ และ จำนวนนี้มีที่มาจากอะไร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. กระบวนการปรับเปลี่ยนแก้ไขน่าสนใจ ส่วนใหญ่เป็นรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน (มาจากสถานประกอบการ) หากเป็นไปได้หลักสูตรอาจเพิ่มสัดส่วนการปรับปรุงเนื้อหารายวิชากลุ่มอื่น เช่น วรรณคดี วัฒนธรรม ภาษาศาสตร์ แม้จะไม่ได้เป็นรายวิชาที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการทำงานแต่เป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนการสอนภาษาจีน
2. นอกจากการสำรวจจากสถานประกอบการ อาจสำรวจจากสายอาชึพที่มีการเปิดรับผู้จบภาษาจีน ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรได้
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
กำหนด TQF และ มาตรฐานด้านผลลัพธ์ผู้เรียนครบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรระบุค่า KPI หรือ การตั้งเป้าหมายการปรับปรุงประเด็นต่าง ๆ ไว้ แต่ระบุไว้ 1 ที่มา
2.เนื้อหามีการปรับปรุงอยู่เสมอ โดยเฉพาะการปรับปรุงเพื่อประโยชน์ในการทำงานของนักศึกษา
3.จากการดำเนินงานด้านการปรับปรุงหลักสูตร การออกแบบกระบวนการเพื่อให้ทราบว่าหลักสูตรมีความทันสมัยและสามารถเชื่อมโยงกับการนำไปใช้จริงนั้น ปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม ทั้งด้านเนื้อหาและวิธีการ ทำให้กลไกและกระบวนการที่วางแผนไว้ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย โดยสะท้อนผ่านผลการประเมินรายวิชาเรียนจากนักศึกษา ซึ่งสามารถประเมินเป้าหมายและตัวชี้วัด KPI จากแผนที่กำหนดคือ หลักสูตรจะสามารถปรับปรุงความทันสมัยให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างน้อย 1 วิชา พบว่า “สัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมาย” ทั้งนี้ในการปีการศึกษา 2566 หลักสูตร สามารถปรับปรุงสาระรายวิชาให้มีความทันสมัยตามแนวโน้มทางวิชาการและวิชาชีพ ได้จำนวน 5 รายวิชา ซึ่งสูงกว่า KPI ที่กำหนดไว้ในปีการศึกษา 2566 นี้ด้วย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หน้า 104 ระบุการปรับการวัดผล เขียนปนกันระหว่างการวัดผลกับเนื้อหา ควรดึงเรื่องการวัดผลไปที่ตัวบ่งชี้การวัดและประเมิน
2.รายละเอียดหัวข้อนี้รายละเอียดซ้ำกับหัวข้อการออกแบบหลักสูตรหรือไม่
3.อาจยกตัวอย่างให้เห็นเป็นรูปธรรมมากยื่งขึ้น ควรระบุว่าพบปัญหาอย่างไร ถึงมีการปรับหรือเพิ่มเติมบทเรียน 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบการวางผูสอนที่ดี มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญโดยตรงมาเป็นอาจารย์พิเศษ หรือวิทยากรในกิจกรรมต่างๆ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุแผนในการกำหนดผู้สอน โดยคำนึงถึงการพัฒนาทักษะ ภาระงานสอน การกระจายงาน เนื้อหา ความเชี่ยวชาญ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-มีกระบวนการในการกำกับ และติดตาม ตรวจสอบ เพื่อนำไปสู่การแก้ไขอย่างเป็นระบบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จากการดำเนินงานตามระบบและกลไกด้านการจัดการเรียนการสอนให้มีการบูรณาการกับงานวิจัย พบว่า มีจำนวน 2 รายวิชาที่มีความเกี่ยวข้องและสามารถดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้ได้ผลลัพธ์เป็นรูปธรรม ได้แก่ CHN412 การสัมมนาภาษาจีนในฐานภาษาต่างประเทศ และ CHN492 การศึกษาค้นคว้าอิสระ ซึ่งจากการปรับรูปแบบการเรียนการสอนทั้งการวัดและประเมินผล การปรับเนื้อหาสาระรายวิชา นักศึกษาสามารถผลิตผลงานทางวิชาการที่สืบเนื่องเป็นผลจากการวิจัยในงานที่ได้รับมอบหมายในรายวิชา ได้แก่ 1) การเผยแพร่บทความวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ 1 เรื่อง 2) การเผยแพร่บทความวิจัยในวารสาร TCI  จำนวน 3 เรื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การบูรณาการกับบริการวิชาการดำเนินการอย่างไร ทั้งนี้หลักสูตรอาจเพิ่มเติมเรื่องการจัดการเรียนการสอนวิชาสัมมนาว่าเป็นการบริการวิชาการอย่างไร
2. การบูรณาการอาจทำผ่านกิจกรรมนอกรายวิชาได้ อาจเพิ่มเติมกระบวนการให้มีการจัดกิจกรรมนอกหลักสูตรเพื่อบูรณาการด้านต่างๆ เพิ่มเติมได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการบันทึกการตรวจสอบข้อสอบ เพื่อใช้ในการปรับปรุงอย่างเป็นระบบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อธิบายที่มาของการกำหนดอาจารย์ 2 คน ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ มีขั้นตอนอย่างไร
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
กำหนดให้หน่วยบริการวิชาการและวิจัยทำวิจัยติดตามผลบัณฑิต ข้อความนี้หมายถึงอะไร
หน้า 127 คำว่าระดับคณะ หมายถึงระดับภาควิชาหรือไม่ (ข้อสังเกต)


 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
พิจารณาปัญหาตามสภาพจริงของแต่ละรายวิชานำไปแก้ไข
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบุเวลาที่ใช้จริง เพื่อทำให้เห็นว่าได้ทำตามแผน ปฏิบัตตรงตามกำหนด อย่างเป็นรูปธรรม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการดำเนินการประชุมที่สม่ำเสมอตลอดปีการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
พิจารณาการปฐมนิเทศ ต้องระบุหัวข้อหรือไม่
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
N/A
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
N/A
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีทรัพยกร สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างเห็นได้ชัดเจน
2.มีการจัดทำสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่หลายหลาย แลพทำให้ผู้ใช้เกิดความพึงพอใจ โดยเฉพาะห้องเรียนดนตรีจีนที่ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่ายในการจัดตั้ง ความพึงพอใจของนักศึกษาอยู่ในระดับสูง 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีสิ่งสนับสนุนฯ และทรัพยากรที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน โดยมีการจัดสรรที่ดีทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานวิชาการนอกมหาวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีจำนวนสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสม เพียงพอ ส่งผลให้นักศึกษาผลิตผลงานวิชาการที่มีคุณภาพ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คะแนนประเมินความพึงพอใจทั้งของอาจารย์และนักศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดีมากต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจมีการนำข้อเสนอแนะจากการสำรวจความพึงพอใจมาปรับปรุงและรายงานผลต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ของหลักสูตรมีการเผยแพร่ผลงานวิชาการที่ดีทั้งปริมาณและคุณภาพ สามารถดำเนินการผลักดันให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการได้
  2. หลักสูตรมีความเข้มแข็งทางวิขาการ เห็นได้จากการจัดกิจกรรมต่างๆ และส่งนักศึกษาประกวดทักษะในรายการต่างๆ ส่งผลให้ นักศึกษามีผลงานวิชาการที่ได้มาตรฐาน สามารถเผยแพร่ในวงวิชาการ หรือเวทีวิจัยได้

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. กำหนดแนวทางการรักษาอัตราการคงอยู่และการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษา โดยเฉพาะการกำหนดปัจจัยที่ควบคุมได้ เช่น การเทียบโอนรายวิชา การเปลี่ยนแปลงรายวิชาบังคับก่อน เพื่อรับมือกับปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
  2. ควรมีมาตรการเพื่อรักษาการคงอยู่ของอาจารย์ให้ต่อเนื่อง

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.86
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.33
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.63

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.93 4.93 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.11 - - 3.11 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.05 4.00 4.93 3.63 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก