รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

วันที่ประเมิน: 27 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านมีผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี ครบถ้วน และมีจำนวนผลงานวิชาการต่อท่านในปริมาณค่อนข้างสูงและสม่ำเสมอ

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 147 4.34
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 86
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.34
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 147 4.26
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 106
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 56
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 21
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 9
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 15
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 5
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 85.15
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.26
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.30 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาโดย
1. เพิ่มการประชาสัมพันธ์หลักสูตรผ่านช่องทางออนไลน์ โดยมีการทำสื่อเป็นชุดความรู้ 4 เรื่อง [1) ความรู้เรื่องโครงสร้างหลักสูตร 2) ความรู้ด้านแนวทางปฏิบัติวิชาชีพ 3) ความรู้ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4) ความรู้ด้านการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย]
2. มีการจัด Open House เปิดคณะสถาปัตย์ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้เข้าเห็นสถานที่ ห้องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การเรียน และรูปแบบการเรียนการสอน
3. โครงการส่งเสริมการตลาดแบบ Inbound marketing บูรณาการกับการเรียนการสอนตลอดจนส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมประกวด และส่งบทความวิชาการเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับหลักสูตร 

            ทำให้สามารถรับนักศึกษาได้ 172 คน เกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 150 คน


แนวทางเสริม
เพิ่มความชัดเจนในข้อปรับปรุงสำหรับปีการศึกษาถัดไป


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ แยกเป็น 3 ช่วงเวลาตลอดปีการศึกษา คือ ในภาค s/2565 มีโครงการ First Date โครงการสายใยแห่งรักแห่งผ้าแถบ ในภาค 1/2565 มีโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ กิจกรรมวิชาการระหว่างรุ่นพี่กับนักศึกษาใหม่ โดยใช้วิธีปรับพื้นฐานแบบรวมคละกันทั้งหมด และภาคการศึกษา 2/2565 ปรับพื้นฐานขั้นสุดท้ายตามโมดูลแยกเป็นบทเรียน 

- จุดเด่น
หลักสูตรได้จัดโครงการที่เสริมสร้างความพร้อมในการก้าวเข้าสุู่การเรียนในหลักสูตร โดยผ่านทางรุ่นพี่ และอาจารย์ เป็นต้น
- แนวทางเสริม
เพิ่มความชัดเจนในการบรรลุเป้าหมายให้เป็นรูปธรรมและแนวทาการปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรรายงานว่าภาพรวมของนักศึกษามีสมรรถนะที่ดีขึ้นตามเป้าหมายการเรียนรู้ โดยวิเคราะห์จากผลการเรียน มีจำนวนนักศึกษาใหม่ที่มีผลการเรียนเฉลี่ย 2.0 เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งหลักสูตรควรรายงานเป็นร้อยละ หรือแนวโน้มเปรียบเทียบกับปีการศึกษาที่ผ่านมา ตลอดจนสามารถรายงานถึงค่าอัตราคงอยู่ของนักศึกษาปี 1 ขึ้นปี 2 ว่าดีขึ้นจากร้อยละ 75.7 เป็นร้อยละ 82.6 เป็นต้น

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรีที่หลากหลายทั้งระบบอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาประจำชั้นปี อาจารย์ที่ปรึกษาสตูดิโอ ระบบ One Stop Service และ Smart Team มีผลประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาเฉลี่ย 35 ท่าน ในปีการศึกษา 2565 ที่คะแนนสูง 4.75 ดีกว่าปีการศึกษา 2564 ที่คะแนน 4.43 โดยมีปัจจัยความสำเร็จจากระบบ One Stop Service และ Smart Team ซึ่งสามารถลดปัญหา และดำเนินการประสานงานระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

- จุดเด่น
ได้รับความพึงพอใจของนักศึกษาในระดับดีมากจากระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่หลากหลายตามลักษณะของการให้คำปรึกษา
- แนวทางเสริม
เพิ่มความชัดเจนในการปรับปรุงกระบวนการในบางประเด็นโดยพิจารณาจากผลการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษา


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- แนวทางเสริม
การเพิ่มความชัดเจนในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 สำหรับนักศึกษาในแต่ละระดับชั้นปี


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่เห็นหลักฐานกิจกรรม/โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ Mapping กับทักษะต่างๆ ตลอดจนรายงานผลการประเมินฯ ถึงค่าร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ทำให้เกิดทักษะแต่ละประเภท เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงกิจกรรมดังกล่าว 

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2531 เป็นหลักสูตร 5 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2535)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 71.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 81.10
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 73.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 74.20
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 73.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 59.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.42
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.31
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.44
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีการวางแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นโดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2 ท่านที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น คือ ผศ.ดร.ไพกานท์ และ ผศ.กรพงศ์ [จากอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น 5 ท่าน] 
- หลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์และผลงานทางวิชาการ ในระดับนานาชาติ 6 ท่าน


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร่วมกับคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และคณะกรรมการวิชาการระดับคณะ อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง มีหลักฐานรายงานการประชุม มีข้อสังเกตว่าอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่เข้าร่วมประชุมเป็นระดับผู้อำนวยการหลักสูตร [ไม่พบรายงานการประชุมของกรรมการบริหารหลักสูตรตามที่อ้างในย่อหน้าที่ 2 หน้า 52]

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการวางแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นโดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2 ท่านที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น คือ ผศ.ดร.ไพกานท์ และผศ.กรพงศ์ [จากอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น 5 ท่าน] 
- หลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์และผลงานทางวิชาการ ในระดับนานาชาติ 6 ท่าน

- จุดเด่น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบของหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการอยู่ในระดับนานาชาติ และการก้าวเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่เป็นไปตามเป้าหมายของทั้งอาจารย์และหลักสูตร
- แนวทางเสริม
เพิ่มความชัดเจนในกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ รวมถึงการประเมินและการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการตามผลการประเมิน


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- พบเอกสารหลักฐานแผนการพัฒนาอาจารย์รายบุคคล แต่ควรนำมาสรุปผลการพัฒนาเทียบกับเป้าหมายรายบุคคลลงในเล่ม มคอ.7 เพื่อความชัดเจน
- ควรกำกับ ติดตาม และรายงานผลการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ


 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 4
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 3 0 1 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 3
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- 100, 80, 100

 
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- 4.31, 4.33, 4.42

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

33
25
75.76
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีความร่วมมือทางวิชาการ MOU ร่วมกับองค์กรภายนอกในการกำหนดเนื้อหาของสาระการเรียนรู้ผ่านรายวิชาต่างๆ เช่น กลุ่มรายวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม [ARC 301 และ ARC 401] MOU ร่วมกับบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกออกแบบโครงการสถาปัตยกรรมบนที่ดินของบริษัท และรายวิชาอื่นๆ อีก 4 รายวิชาที่ MOU ร่วมกับอีก 3 บริษัท
- การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดยการสนับสนุนให้ทำกิจกรรมการประกวดออกแบบ ร่วมกับสถาบันอื่นๆ และองค์กรภายนอก สรุปผลได้ ดังนี้
               1. ผลงานที่ดีที่สุด 3 รางวัล โดยตัวแทนนักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 3 คน จากการเข้าร่วมกิจกรรมเชิงปฏัติการ Transcending a (mere) void จัดโดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โดยความร่วมมือกับ Astrid Klein สถาปนิกผู้ก่อตั้งสำนักงาน ออกแบบ Klein Dytham Architecture ประเทศญี่ปุ่น
              2. รางวัลที่ 1 จากผลงาน “Sense of Sound” ในงาน ASA Workshop: โครงการปฏิบัติการ ออกแบบสถาปัตยกรรมระดับนิสิตนักศึกษา 65 (ASA  Architectural Design Student Workshop '22) “พึ่งพา-อาศัย: CO-with CREATORs” (ทีมงาน: มทร.พระนคร, ม.ขอนแก่น, มทร.รัตนโกสินทร์ ศาลายา, ม.มหาสารคาม, ม.รังสิต และ มทร.ธัญบุรี)
              3. นายยศนันทร์ ประเสริฐจริง นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้รับรางวัลชมเชยการประกวด SCG Home Experience Young Design Award 2023 ชื่อผลงาน “บ้านเติมสุข” วันที่จัดงาน 30 พฤษภาคม 2566 สถานที่จัดงาน SCG Home Experience
              4. นายเดชธนา ปัตตะพัฒน์และนายเขมชาติ รัตนพงศ์เสน ได้รับประกาศนียบัตรจากงาน Multigenerational Bathroom Space Design จัดโดย as : da american standard design award : asia pacific 2023

- หลักสูตรมีความครบถ้วนในการนำผลการประเมินจากหลายภาคส่วน รวมถึงการตอบโจทย์ในความทันสมัยตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาพิจารณาในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอน เพื่อตอบรับความต้องการในหลายภาคส่วน ได้แก่ สถานประกอบการ นักศึกษา เป็นต้น



 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรใช้ระบบการเรียนการสอนแบบ Studio ที่ทำให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนวิชาออกแบบทางสถาปัตยกรรมตั้งแต่ชั้นปีที่ 3 ถึง 5 ได้ตามความสนใจ [Sand Box Model] 
- หลักสูตรมีความร่วมมือทางวิชาการ MOU ร่วมกับองค์กรภายนอกในการกำหนดเนื้อหาของสาระการเรียนรู้ผ่านรายวิชาต่างๆ เช่น กลุ่มรายวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม [ARC 301 และ ARC 401] MOU ร่วมกับบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกออกแบบโครงการสถาปัตยกรรมบนที่ดินของบริษัท และรายวิชาอื่นๆ อีก 4 รายวิชาที่ MOU ร่วมกับอีก 3 บริษัท
- หลักสูตรใช้การประเมินแบบ Formative Assessment ในการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาผ่านกิจกรรมต่างๆ คือ กิจกรรม Class Pin Up, กิจกรรม Showcase และ กิจกรรม Academic Week ในการตรวจผลงานการออกแบบทางสถาปัตยกรรมของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึง 4 โดยทั้งผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรภายนอกร่วมกับอาจารย์ผู้สอนในคณะฯ และเปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนได้เข้าฟังการตรวจงาน ซึ่งถ้าเป็นไปได้ควรมีผลประเมินฯของกิจกรรมเหล่านี้ถึงค่าร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมและเกิดผลลัพธ์การเรียน
รู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมในปีถัดไป

มีความครบถ้วนเป็นเชิงรายละเอียดในการนำผลประเมินจากผู้เรียนมาพิจารณาในการปรับปรุงสาระรายวิชา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริงนั้นหลักสูตรได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับหลักการจัดการเรียนการสอนแบบ Outcome Base Education ที่มีการกำหนด CLO และ YLO อย่างชัดเจนในลักษณะที่เป็น Sand Box Model มีเป้าหมายการเรียนรู้ที่ทันสมัย [YLO 1 : Team Achievement, YLO 2 : To be Entrepreneurship, YLO 3 : Beyond Expectation, YLO 4 : Personal Achievement] ตอบโจทย์วิชาชีพการออกแบบสถาปัตยกรรมบนพื้นฐานของทฤษฎี ความคิดสร้างสรรค์ และพื้นฐานการทำธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ร่วมกับองค์กรภายนอก [ดังรายละเอียดหน้า 99 - 101] 
- นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 ได้เรียนในรายวิชาการออกแบบต่างๆ [หน้า 101] ภายใต้โจทย์ของผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ และอาคารสำนักงานเทศบาลเมืองสระบุรี นับเป็นการจัดการเรียนการสอนและมีผลประเมินฯ นำไปใช้ได้จริง
- หลักสูตรมีการสำรวจความต้องการของสถานประกอบสหกิจศึกษา แล้วนำมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ARC 594 หลักสูตรมีการอบรมเตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนสอบใบประกอบวิชาชีพสถาปนิกและมีการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรในการอบรมเตรียมความพร้อมการทำสหกิจศึกษาถึง 21 ครั้ง [ให้ดูจากตารางหน้า 103]

- มีความครบถ้วนในการพิจารณาปัจจัยแวดล้อมรวมถึงผลการประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ จัดให้มีการประชุมอาจารย์ผู้สอน เพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอนทุกปีการศึกษา โดยอาจารย์ทุกท่านจะศึกษาเป้าหมายของผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละวิชาในมคอ. 2 เพื่อให้เข้าใจโครงสร้างและกลไกหลักสูตรฯ (PLOs) ร่วมกัน รวมทั้งทราบทิศทางและกลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนตามเป้าหมายของแต่ละชั้นปี (YLOs) โดยหลักสูตรมีแนวทางการวางแผนการจัดอาจารย์ผู้สอน พิจารณาจากเกณฑ์คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์สอน ประสบการณ์ทำงาน ผลงานทางวิชาการ และมีการกำหนดเกณฑ์การตั้งคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ ตามหลักเกณฑ์การรับรองหลักสูตรของสภาสถาปนิก

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา และอาจารย์ผู้สอนทุกสตูดิโอในการวางแผนการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.4 โดยคำนึงถึงความทันสมัยของเนื้อหาวิชา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยนำข้อคิดเห็นจากผล มคอ.5 จากรายวิชาในปีการศึกษาที่ผ่านมานำมาปรับปรุงรูปแบบการสอนในปีการศึกษา 2565 แต่ควรรายงานถึงข้อคิดเห็นต่างๆ จาก มคอ. 5 ที่นำมาใช้ปรับปรุง มคอ.3 และติดตามการจัดการเรียนการสอนว่าได้มีการปรับปรุงตาม มคอ.3 ที่ปรับปรุงใหม่
- หลักสูตรจัดทำแผนการเรียนรู้ในการติดตามและตรวจสอบผลลัพท์ของลักษณะของผู้เรียนในแต่ละชั้นปีและคุณลักษณะของบัณฑิตที่จบการศึกษาตามเป้าหมายที่วางไว้ 


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในอนาคตหลักสูตรควรรายงานการประเมินความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอนตามเป้าหมายของแต่ละชั้นปี [YLO] เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนและการกำหนดอาจารย์ผู้สอนที่เหมาะสมแบบ Sand Box Model 

 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการบูรณาการการบริการวิชาการทางสังคมกับรายวิชา ARC 301 และมีการบูรณาการกับการวิจัย การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยผ่านรายวิชา ACR 102 และ ARC 402 มีการลงพื้นที่จริงในชุมชนระหว่างนักศึกษาร่วมกับอาจารย์เพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมบนพื้นที่จริงผ่านกระบวนการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล แล้วนำผลลัพธ์ไปปรับใช้ได้จริงในชุมชน สะท้อนเรื่องราวสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและความเป็นไทย ตลอดจนได้นำไปเผยแพร่เป็นผลงานทางวิชาการผ่านการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 2 บทความและตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 4 บทความ
- หลักสูตรให้ความสนใจและดำเนินการในการบูรณาการการเรียนการสอนกับการวิจัยและการบริการวิชาการ


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษา 2565 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับมาตรฐานจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ทำให้มีการวิพากษ์เพื่อเสนอแนะแนวทางการประเมินผลที่มีความเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ซึ่งการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ จะมีมิติในการเชื่อมโยงความรู้และทักษะเข้าด้วยกัน ผลการทวนสอบทำให้ทราบถึง วิธีการ และเครื่องมือในการประเมินที่เหมาะสม เช่น การกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินการเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มวิชารายชั้นปี เพื่อการมอบหมายงานที่ไม่ซ้ำซ้อน และการทำความเข้าใจเรื่องเนื้อหารายวิชาที่ต้องสอดคล้องกับระยะเวลาที่ใช้ในการทำงานของนักศึกษา เป็นต้น แต่ขาดการแสดงเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการกำกับมาตรฐานและรายงานการประชุม เป็นต้น

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากวิทยากรภายนอก ในการประเมินผลงานขั้นสุดท้ายของนักศึกษาทุกชั้นปี เพื่อให้เกิดการวิพากษ์หลักสูตรผ่านการทวนสอบผลงานของนักศึกษา เพื่อนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ โดยมีคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ ซึ่งทำหน้าที่กำกับดูแลการจัดการเรียนการสอน ร่วมวิพากษ์ผลการประเมินจากการประชุมทุกภาคการศึกษา

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มความชัดเจนในเรื่องการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบการรายงานสัมฤทธิผลรายวิชา [CLO] ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ และไม่พบการรายงานสัมฤทธิผล [YLO]
- ไม่พบรายงานการทวนสอบมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน


 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีการนำผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรไปปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น โดยในปีการศึกษา 2565 ได้เพิ่มงบลงทุนเปลี่ยนคอมพิวเตอร์ใหม่จำนวน 170 เครื่อง และประสานขอความอนุเคราะห์ศูนย์คอมพิวเตอร์มาปรับปรุงแก้ไขสัญญาณอินเตอร์เน็ต ทำให้ค่าความพึงพอใจนักศึกษาดีขึ้น
- มีแนวโน้มความพึงพอใจทั้งกลุ่มอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ต่างๆ ที่ดี


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
มีความครบถ้วนในข้อมูลสำหรับการสำรวจความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาและอาจารย์
แนวทางเสริม
ควรแยกผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เป็นแนวโน้มที่ดีขึ้นจากปีการศึกษา 2563 ถึง 2565 ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.11, 4.16 และ 4.36 ตามลำดับ
- มีผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เป็นแนวโน้มที่ดีขึ้นจากปีการศึกษา 2563 ถึง 2565 ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.06, 4.13 และ 4.56 ตามลำดับ
- มีผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ และอินเตอร์เน็ต เป็นแนวโน้มจากปีการศึกษา 2563 ถึง 2565 ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.27, 4.30 และ 4.27 ตามลำดับ
- มีผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการบริการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ และอินเตอร์เน็ต เป็นแนวโน้มที่ดีขึ้นจากปีการศึกษา 2563 ถึง 2565 ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.05, 4.12 และ 4.45 ตามลำดับ


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านมีผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี ครบถ้วน และมีจำนวนผลงานวิชาการต่อท่านในปริมาณค่อนข้างสูงและสม่ำเสมอ
  2. หลักสูตรมีการวางแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น โดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2 ท่าน ที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น คือ ผศ.ดร.ไพกานท์ และ ผศ.กรพงศ์ [จากอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น 5 ท่าน] 
  3. หลักสูตรมีแผนงานในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในการจัดการเรียนการสอน และการผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามความต้องการของหลายภาคส่วนได้แก่ สถานประกอบการ นักศึกษา เป็นต้น โดยหลักสูตรมีความร่วมมือทางวิชาการ MOU ร่วมกับองค์กรภายนอกในการกำหนดเนื้อหาของสาระการเรียนรู้ผ่านรายวิชาต่างๆ เช่น กลุ่มรายวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม [ARC 301 และ ARC 401] MOU ร่วมกับบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกออกแบบโครงการสถาปัตยกรรมบนที่ดินของบริษัท และรายวิชาอื่นๆ อีก 4 รายวิชาที่ MOU ร่วมกับอีก 3 บริษัท
  4. หลักสูตรมีการนำผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรไปปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น โดยในปีการศึกษา 2565 ได้เพิ่มงบลงทุนเปลี่ยนคอมพิวเตอร์ใหม่จำนวน 170 เครื่อง และประสานขอความอนุเคราะห์ศูนย์คอมพิวเตอร์มาปรับปรุงแก้ไขสัญญาณอินเตอร์เน็ต ทำให้ค่าความพึงพอใจนักศึกษาดีขึ้น และมีแนวโน้มความพึงพอใจทั้งกลุ่มอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ต่างๆ ที่ดี
  5. ในกระบวนการรับนักศึกษาได้มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรผ่านช่องทางออนไลน์ โดยมีการทำสื่อเป็นชุดความรู้ 4 เรื่อง [1) ความรู้เรื่องโครงสร้างหลักสูตร 2) ความรู้ด้านแนวทางปฏิบัติวิชาชีพ 3) ความรู้ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4) ความรู้ด้านการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย] และมีการจัด Open House เปิดคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้เข้าเห็นสถานที่ ห้องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การเรียน และรูปแบบการเรียนการสอน ตลอดจนมีโครงการส่งเสริมการตลาดแบบ Inbound marketing บูรณาการกับการเรียนการสอน ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมประกวด และส่งบทความวิชาการเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับหลักสูตร ทำให้สามารถรับนักศึกษาได้ 172 คน เกินกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 150 คน
  6. หลักสูตรมีหลากหลายกิจกรรมในการให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อให้มีคุณลักษณะตามศตวรรษที่ 21 และเพื่อการเข้าสู่การพัฒนาชุมชน รวมถึงการได้มีส่วนร่วมในการพัฒนางานวิชาการระดับนานาชาติ ควรนำมารายงานในตัวบ่งชี้ 3.2 หน้าที่ 43 โดยเชื่อมโยง [Mapping] กับทักษะต่างๆ ตามที่หลักสูตรระบุเอาไว้แล้วรายงานผลการประเมิน [เช่น ค่าร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดทักษะนั้นๆ เป็นต้น] เพื่อนำไปใช้ปรับปรุงการดำเนินการกิจกรรมต่างๆ ในปีการศึกษาถัดไป

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมีแนวทางการส่งเสริมการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาตามระยะเวลาของหลักสูตร โดยเฉพาะการกำกับติดตามการจัดทำวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา และปรับปรุงกระบวนการเตรียมความพร้อมเพื่อเพิ่มอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา
  2. หลักสูตรควรแสดงหลักฐานการรายงานสัมฤทธิผลรายวิชา [CLO] ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ และการรายงานสัมฤทธิผล [YLO] และการรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.34
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.26
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.66

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.30 4.30 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 2.67 - - 2.67 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 3.67 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.43 3.75 4.30 3.66 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก