รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและภัตตาคาร

วันที่ประเมิน: 10 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 5 คน ครบถ้วน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ได้ระบุชื่อ และคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรนี้เพียงหลักสูตรเดียว และมีผลงานวิชาการอย่างน้อย 1 เรื่อง ในรอบ 5 ปี 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลา 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 38 4.68
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 38
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.68
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 38 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 38
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 21
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 11
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 4
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 2
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.84 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯมีว่าการดำเนินการการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ผ่านช่องทางออนไลน์ของสาขาดีอยู่แล้ว 
- มีกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดึงกลุ่มเป้าหมายเข้ามามีส่วนร่วมกับหลักสูตร เพื่อสร้างการจดจำ เช่น กิจกรรม Walk-in Open House 2022 และกิจกรรม Sit-In RSU Hotel & Restaurant 2023 
- หลักสูตรมีระบบและกลไกการรับนักศึกษา
- หลักสูตรได้มีแสดงถึงความพยายามในการปรับปรุงกระบวนการในการประชาสัมพันธ์เพื่อนำมาซึ่งจำนวนนักศึกษา หากผลลัพธ์จำนวนรับเข้ายังไม่เป็นไปตามเป้า  
- หลักสูตรอาจปรับแนวการทำตลาด โดยเน้นจุดเด่น จุดแตกต่างของ มรส กับหลักสูตรของสถาบันอื่นให้ชัดเจนขึ้น
- โดยในขณะที่การรับนักศึกษาเน้นยอด และรอให้ยอดขึ้น หลักสูตรอาจนำเสนอคุณภาพของนักศึกษาที่ได้มา ในมุมมองของ Quality แทน Quantity ได้เช่นกัน (หากมี) ซึ่งจะนำมาสู่ Quantity ต่อไป ผ่านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมายที่ชุดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ทำการตลาดให้เพิ่มมากขึ้น วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
- เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้รวดเร็ว และตรงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น
- เข้าใจว่าเป็นเทรนด์ในปัจจุบันที่ ตลาดงานด้านธุรกิจบริการเป็นงานที่ไม่ได้รับควาทนิยมเท่าที่ควร อาจสร้างความตระหนักรู้ และแสดงให้เห็นถึงจุดเด่น จุดต่าง และจุดขายของงานในธุรกิจบริการกับกลุ่มเป้าหมาย ก็อาจจะส่งผลให้มีนักศึกษามากขึ้นในปีต่อไป

 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไล และการนำไปใช้ มีการประเมินและปรับปรุง นำมาซึ่งความพึงพอใจของนักศึกษาที่ดีขึ้น  



 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการพัฒนาระบบและกลไก รวมทั้งดำเนินการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่เหมาะสมต่อยุคปัจจุบันในศตวรรษที่ 21 อย่างต่อเนื่อง ผ่านความร่วมมือกับผู้ประกอบการ เน้นประสบการณ์จริง รวมทั้งมีการบูรณาการพัฒนาดังกล่าวเข้ากับรายวิชาอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
อีกทั้งมีการส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาในด้านงานวิจัย โดยบูรณาการเข้ากับรายวิชาอย่างชัดเจนเช่นกัน

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไก ในการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ผ่านทั้งระบบอาจารย์ที่ปรึกษา กิจกรรม homeroom และมีช่องทางในการให้คำแปรึกษา ส่งผลให้ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการให้คำปรึกษามีคะแนนสูงขึ้น
- มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่ดี อันสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา
- ผลการประเมินความพึงพอใจในระบบการให้คำปรึกษาอยู่ในระดับดีมาก สูงกว่าปีที่ผ่านมา
- มีช่องทางหลากหลายช่องทางให้นักศึกษาได้ปรึกษา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาในการติดต่อ อ. ที่ปรึกษาได้ตลอดเวลา


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการพัฒนาระบบและกลไก รวมทั้งดำเนินการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่เหมาะสมต่อยุคปัจจุบันในศตวรรษที่ 21 อย่างต่อเนื่อง ผ่านความร่วมมือกับผู้ประกอบการ เน้นประสบการณ์จริง รวมทั้งมีการบูรณาการพัฒนาดังกล่าวเข้ากับรายวิชาอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม
- มีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม โดยได้จากนายจ้างหรือหัวหน้างานเป็นผู้ประเมินพนักงานซึ่งเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจาก หลักสูตร

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบ กลไก และนำไปใช้ในเชิงปฏิบัติ ที่เกิดขึ้นกับรายวิชาต่างๆ ที่หลักสูตรได้มอบหมายให้นักศึกษาทำการค้นคว้าอิสระ และเกิดเป็นผลงานสร้างสรรค์ 
- มีการกำหนดแนวทางในการดำเนินการในรายวิชาที่จะพัฒนาผลงานการค้นคว้าอิสระเพื่อพัฒนาเป็นงานวิจัย และนำผลการวิจัยไปนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ 

- หลักสูตรมีการส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาในด้านงานวิจัย นำเสนอผลงาน สู้เวทีระดับชาติและนานาชาติ โดยบูรณาการเข้ากับรายวิชา ควรมีการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติเข้ากับหัวข้อวิจัยให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรมีการวางแผนเพิ่มเติมในส่วนของรายวิชาอื่นๆ ที่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งจะเป็นผลดีกับหลักสูตรในด้านงานวิจัย และพัฒนานักศึกษาให้มีศักยภาพในด้านนี้มากขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2552)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 81.90
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 90.20
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 72.30
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-จำนวนนักศึกษามีอัตราการคงอยู่โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562-2565
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 52.80
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 51.20
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 46.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.40
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.53
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.64
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- มีอาจารย์จบปริญญาเอกเพิ่ม 1 คน
- มีอาจารย์ได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัย 
- มีระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์อย่างเป็นรูปธรรม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการพัฒนาอาจารย์เพื่อคุณวุฒิที่สูงขึ้น ได้มีการปรับกลไก สนับสนุนให้อาจารย์สำเร็จการศึกษาปริญญาเอกได้เพิ่มจำนวน 1 คน ในปี 2565
- หลักสูตรมีการปรับปรุงการพัฒนาอาจารย์อย่างต่อเนื่อง ไม่เพียงคุณวุฒิ แต่เป็นทักษะอาจารย์เพื่อเข้าสู่มาตรฐานฝีมือวิชาชีพทุกท่าน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับ กระบวนการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของทางวิทยาลัยฯ และมหาวิทยาลัย
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  และดำเนินการต่อระบบและกลไก ในปี 65 ไม่มีการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่านใหม่

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีภาระงานด้านบริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคมครบทุกคน ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่ดี
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการบริหารอาจารย์ มอบหมายภาระงานชัดเจน และครบด้านตามพันธกิจของหลักสูตร ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มีการติดตาม ประเมิน หารือเพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหารอาจารย์อย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่ระดับความพึงพอใจที่สูงขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรมีแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ตามมาตรฐานวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับงบประมาณจากวิทยาลัย และจัดสรรงบประมาณสำหรับการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ไว้อย่างเหมาะสมและเพียงพอ ในการเข้าอบรม สัมมนา ศึกษาต่อ รวมถึงส่งเสริมให้มีการสร้างผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
-หลักสูตรมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกเพื่อพัฒนาอาจารย์อยู่เสมอ เพื่อให้ทันต่อวิทยาการสมัยใหม่  รวมทั้งการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่มาตรฐานวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรมและสำเร็จ
-สนับสนุนงบประมาณเผยแพร่งานวิจัย และการขอทุนวิจัย และให้บริการวิชาการ อีกทั้งมีแผนพัฒนาอาจารย์และในปี  2565 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอยหลักสูตรได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้น 1 คน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรพัฒนาอาจารย์ให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 0 1 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.80 4.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 16.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 4.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อาจารย์ประจำหลักสูตรควรผลิตผลงานวิชาการอย่างน้อยคนละ 0.4 เพื่อให้เป็นไปข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยรังสิต และจะทำให้ค่าคะแนนตัวบ่งชี้นี้เพิ่มขึ้น 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.56 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อัตราการคงอยู่และความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มดีขึ้นทั้ง 3 ปี
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ มีอัตราการการคงอยู่ร้อยละ 100 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563-2565
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร มีแนวโน้วสูงขึ้น 3 ปีต่อเนื่อง 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.85 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

33
27
81.82
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- มีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ประกอบการธุรกิจ MOU ทำให้ทางหลักสูตรมีรายวิชาใหม่ที่ได้พัฒนาร่วมกัน ที่ตรงตามเทรนด์ของธุรกิจบริการในปัจจุบัน 
- หลักสูตรมีการดำเนินการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมส่งเสริมนักศึกษาเพื่อให้บรรลุตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และผลลัพธ์การเรียนรู้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน 
- หลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจด้านการศึกษาอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งมากกว่าปี 2564 นับว่ามีแนวโน้มที่ดีขึ้น 
- หลักสูตรมีการปรับปรุงและประเมินสาระหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เน้นความทันสมัย วิทยาการที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน มีความร่วมมืออย่างเป็นรูปธรรมกับองค์กรภายนอกจัดทำหลักสูตร และบูรณาการเข้ากับรายวิชาอย่างชัดเจน เพื่อยกระดับมาตรฐานวิชาชีพ สู่ระดับสากล
- มีการปรับสาระรายวิชา ของวิชาจำนวนกว่าร้อยละ 80 ในหลักสูตร เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนในสิ่งที่ทันสมัยและใช้ได้จริงมากขึ้น และมีผลสะท้อนจากผู้เรียนที่ดีมากขึ้นจากปีก่อน  เห็นผลการปรับปรุงชัดเจนอย่างเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการประชุมหารือเพื่อออกแบบหลักสูตรและรายวิชาเป็นกระบวนการ
- มีการทำความร่วมมือกับสถานประกอบการ นายเลิศบัตเลอร์ ซึ่งเป็นแนวโน้วที่ดีและตรงต่อตลาดงานในปัจจุบันด้านการให้บริการกลุ่มนักท่องเที่ยวแบบหรูหรา และมีการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นร่วมกันไปแช้วจำนวน 1 ครั้ง เมื่อผลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา รวมถึงกลุ่มวิชาการให้บริการบนเรือสำราญ ซึ่งถือว่าตรงต่อตลาดงานปัจจุบันในธุรกิจบริการอีกด้วย
- หลักสูตรฯ มีการปรับรายวิชาในหลักสูตรฯให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และยังมีรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการกับ บริษัท นายเลิศ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด เปิด
- หลักสูตรสามารถดำเนินการปรับเปลี่ยนสาระรายวิชาได้ตามแผน เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน มีการปรับสาระรายวิชา ของวิชาจำนวนกว่าร้อยละ 80 ในหลักสูตร เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนในสิ่งที่ทันสมัยและใช้ได้จริงมากขึ้น และมีผลสะท้อนจากผู้เรียนที่ดีมากขึ้นจากปีก่อน เห็นผลการปรับปรุงชัดเจนอย่างเป็นรูปธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อธิบายในรายละเอียดได้ค่อนข้างละเอียด ทำให้เห็นว่าหลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย และตรงต่อความต้องการของตลาดแรงงานจริงๆ 
- แม้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามวงรอบในปี 2564 แต่หลักสูตรยังคงประเมินและปรับปรุงเพิ่มในรอบปีโดยเน้นความต้องการของผู้เรียน และร่วมมือกับสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยเน้นความทันสมัยตามสถานการณ์ปัจจุบันเป็นหลัก รวมทั้งเตรียมการหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพ Butler services และมีการบูรณาการเข้ากับรายวิชาของหลักสูตร เพื่อให้ นศ สามารถได้รับประสบการณ์นี้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน ครบถ้วน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- ผลงานเป็นที่ประจักษ์ ที่มีการมอบหมายให้นักศึกษามีส่วนร่วมกับสถานประกอบการ และธุรกิจโรงแรมได้นำผลงานของนักศึกษาไปใช้ประโยชน์ได้จริง 
- หลักสูตรมีการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ และภาคธุรกิจ และได้บูรณาการเนื้อหาและประสบการณ์ที่จำเป็นในสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งความต้องการของภาคธุรกิจเข้าในการเรียนการสอนรายวิชาอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกระดับมาตรฐานการเรียนรู้สู่ผลลัพธ์ในระดับสากล มีผลงานที่ได้นำไปใช้จริงในสถานประกอบการ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- เป็นเรื่องที่ดีที่หลักสูตรคำนึงถึงการวางตัวผู้สอนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับเป้าหมายในการพัฒนาอาจารย์ให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
- มีระบบและกลไก และการนำไปปฏิบัติ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไกในการกำกับติดตามการจัดทำแปนการเรียนรู้ และมีการนำผลที่รายงานใน มคอ 5 มาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนต่อไปใน มคอ 3 เทอม/ปี ถัดไป
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการศึกษา 2565 หลักสูตรได้ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีการบูรณาการกับการวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม ผ้่รหัสข้อวิจัยในรายวิชาต่างๆ และ IS รวมทั้งมีการบูรณาการงานบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย เข้ากับรายวิชาจำนวนมาก อย่างเป็นรูปธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- มีการปรับปรุงกระบวนการการประเมินผลการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ เพิ่มเติมตามที่รายงาน เพื่อพัฒนาให้ดีขึ้น 
- มีการวัดผลที่ทำร่วมกันระหว่างหลักสูตรและสถานประกอบการ 
- หลักสูตรมีการปรับปรุงการประเมินผู้เรียนในรายวิชา โดยเน้นการประเมินจากงานที่มอบหมายให้ ซึ่งงานต่างๆนี้จะเป็นงานที่ใช้ได้จริงในภาคธุรกิจ ในสถานประกอบการณ์ และดำเนินการร่วมกับสถานประกอบการ จึงเป็นการปรับการประเมินผู้เรียนโดยเน้นถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ใช้ได้จริงในการปฏิบัติงานของวิชาชีพที่เรียนไป
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อธิบายครบตามผลการดำเนินงานการประเมินผู้เรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ และครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน
- หลักสูตรมีการปรับปรุงการประเมินผู้เรียนในรายวิชา โดยเน้นการประเมินจากงานที่มอบหมายให้ ซึ่งงานต่างๆนี้จะเป็นงานที่ใช้ได้จริงในภาคธุรกิจ ในสถานประกอบการณ์  และดำเนินการร่วมกับสถานประกอบการ จึงเป็นการปรับการประเมินผู้เรียนโดยเน้นถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ใช้ได้จริงในการปฏิบัติงานของวิชาชีพที่เรียนไป
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการตรวจสอบการประเมินตามข้อกำหนด
- มีการทวนสอบตามข้อกำหนดและอธิบายรายละเอียดค่อนข้างละเอียดในผลการทวนสอบแต่ละรายวิชาที่รายงานการทวนสอบ (ร้อย 30.30)
- มีการทวนสอบผลการเรียนรู้ที่นอกเหนือจาก มคอ.5 โดยคณะกรรมการทวนสอบที่หลักสูตรฯได้แต่งตั้งขึ้น 

 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการประเมินการเรียนการสอน และมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก 
- การจัดทำ มคอ 5 และ 7 เป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย และอยู่ภายในระยะเวลาที่กำหนด



 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับคะแนนความพึงพอใจของบัณฑิตใหม่ต่อคุณภาพหลักสูตร เท่ากับ 4.61
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับคะแนนความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตใหม่ เท่ากับ 4.68
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนทุกรายวิชามีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.63
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เท่ากับ 4.58
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษา และอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้ง 3 ปี (2563-2565) และห้องปฏิบัติการยังใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมต่างๆของ หลักสูตร และวิทยาลัยฯ อีกทั้งจังได้ใช้ในการอบรมเชิงปฏอบัติการต่างๆจากหน่วยงานภายนอก
- หลักสูตรมีการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทั้ง digital platform ที่ทันสมัย มี courseware เพื่อช่วยในการเรียนการสอน และมีการพัฒนาสถานที่ฝึกปฏิบัติของนักศึกษาโดยปรับปรุงสู่ระดับมาตรฐานสากลมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันยุคทันสมัย ตามสาระรายวิชาและการปรับปรุงกกระบวนการเรียนการสอน อีกทั้งมีความร่วมมือกับสถานประกอบการณ์ภายนอกเพื่อใช้ facilities ต่างๆในสถานที่จริง เพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้นักศึกษามีความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อ
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกการดำเนินงานในด้านส่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีส่วนร่วมกับวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในการกำกับและดูแลให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่เพียงพอต่อนักศึกษา 
- ในปี 2565 มีการ update ปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อยู่อย่างต่อเนื่อง ทั้งระบบปฏิบัติการที่ทันสมัยที่ใช้ในธุรกิจปัจจุบัน รวมทั้งอุปกรณ์ปฏิยัติการต่างๆ รวมทั้งในปีนี้ได้มีการจัะดทำสื่อการสอน online เพิ่มเติม และการเพิ่มการฝึกปฏิบัติ ณ สถานประกอบการจริงที่มีมาตรฐานระดับสากล การศึกษาดูงานอย่างเต็มรูปแบบ หลังจากประสบสถานการณ์ COVID-19 ในปีที่ผ่านมา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- พัฒนา ปรับปรุงให้คงมาตรฐานที่ดีอยู่เสมอ ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสำนักมาตรฐานฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน 
- ควรได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยในการพัฒนา/ปรังปรุงห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศให้ใช้การได้ และทันสมัย เพื่อรองรับการเรียนการสอน และให้เพียงพอต่อการใช้งาน 


 
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และหอ้งปฏิบัติการสำหรับฝึกปฏิบัติ ที่เพียงพอสำหรับการสอนที่ครอบคลุมในทุกส่วนของหลักสูตร 
- มีการพัฒนา coureware เพื่อเสริมเนื้อหาการเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปรับปรุง platform ของระบบที่ใช้ในธุรกิจให้ทันสมัยและตรงตามที่ใช้อยู่ในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการนำผลการประเมินความพึงพอใจเข้าท่ีประชุมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อเสนอแนวทางการปรับ ปรุงและแก้ไข โดยมีขั้นตอน การดำเนินงานที่ชัดเจน
- คะแนนความพึงพอใจของสิ่งสนับสนุนฯดีขึ้นตลอด 3 ปี
- หลักสูตรมีผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ดีขึ้นในทุกๆปีอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีความร่วมมือจากสถานประกอบการและร่วมกันออกแบบหลักสูตรที่ตรงต่อความต้องการของตลาดงานในธุรกิจบริการในปัจจุบัน
  2. อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ดีอย่างต่อเนื่อง
  3. หลักสูตรมีความชัดเจนในการบูรณาการประเด็นความทันสมัย และการพัฒนานักศึกษาเข้ากับรายวิชา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรพัฒนาเรื่องแผนการรับนักศึกษา ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ดีขึ้น และรวดเร็วขึ้น
  2. ควรพัฒนาอาจารย์ให้มีผลงานทางวิชาการในแต่ละปีการศึกษาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย และจะสืบเนื่องไปสู่การนำผลงานไปใช้ในการเข้าสู่กระบวนการขอตำแหน่งทางวิชาในอนาคตได้
  3. ควรมีแผนสนับสนุนให้อาจารย์มีคุณวุฒิที่สูงขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.68
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.56
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.02

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.84 4.84 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.85 - - 3.85 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.65 4.25 4.84 4.02 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก