รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนตะวันออก

วันที่ประเมิน: 3 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ระบุอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน ประกอบด้วย
1) รศ.ภก. ดร. สุรพจน์ วงศ์ใหญ่ คุณวุฒิปริญญาเอก มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (ค.ศ.2022)
2) อ.สัณหจุฑา พวงมาลา คุณวุฒิปริญญาโท มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 6 เรื่อง (พ.ศ.2565)
3) อ.สมพร ผลกระโทก คุณวุฒิปริญญาโท มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (ค.ศ.2022)
4) อ.ภญ.ดร.ณิราวรรณ์ กิจประไพอำพล คุณวุฒิปริญญาเอก มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (ค.ศ.2021)
5) อ.ภญ.รัตติยา ตั้งบูชาเกียรติ คุณวุฒิปริญญาโท มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (พ.ศ.2565)

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ระบุอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน ประกอบด้วย
1) รศ.ภก. ดร. สุรพจน์ วงศ์ใหญ่ คุณวุฒิปริญญาเอก มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (เรื่องล่าสุด ค.ศ.2022)
2) อ.สัณหจุฑา พวงมาลา คุณวุฒิปริญญาโท มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 6 เรื่อง (เรื่องล่าสุด  พ.ศ.2565)
3) อ.สมพร ผลกระโทก คุณวุฒิปริญญาโท มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (เรื่องล่าสุด ค.ศ.2022)
4) อ.ภญ.ดร.ณิราวรรณ์ กิจประไพอำพล คุณวุฒิปริญญาเอก มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (เรื่องล่าสุด ค.ศ.2021)
5) อ.ภญ.รัตติยา ตั้งบูชาเกียรติ คุณวุฒิปริญญาโท มีผลงานวิจัยย้อนหลังในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 3 เรื่อง (เรื่องล่าสุด พ.ศ.2565)

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตรวจสอบความสอดคล้องของรายการหลักฐาน กับรายละเอียดที่ระบุไว้ในหน้า 10-13 และท้ายเล่ม
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ในตารางอาจารย์ผู้สอน ระบุอาจารย์ผู้สอนไว้ 5 ท่าน (ไม่ได้ระบุ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ผู้สอน)
1. ภญ. ยุพาภรณ์ สำเภาพันธ์ คุณวุฒิปริญญาโท
2. ดร. ฐาปนาวรรณ นาสมยนต์ คุณวุฒิปริญญาเอก
3. ดร. วาลุกา พลายงาม คุณวุฒิปริญญาเอก
1. อ.ภญ.ยุพาภรณ์ สำเภาพันธ์ คุณวุฒิปริญญาโท (ตัวเลขหน้าชื่อไม่ถูกต้อง ขอความกรุณาแก้ไขเพื่อความสมบูรณ์ของรายงาน มคอ.7)
4. ดร. นันทพงศ์ ขำทอง คุณวุฒิปริญญาเอก (ตัวเลขหน้าชื่อไม่ถูกต้อง ขอความกรุณาแก้ไขเพื่อความสมบูรณ์ของรายงาน มคอ.7)


 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
1.หลักสูตรได้เปิดดำเนินการเรียนการสอนในครั้งแรกตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1/ ปีการศึกษา 2546 โดยได้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนดดังนี้
ครั้งที่ 1 ในปี 2559 ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี 2560
ครั้งที่ 2 ในปี 2561 ปรับปรุงเพื่อ ใช้ในปี 2562
ครั้งที่ 3 ในปี 2563 ปรับปรุงเพื่อ ใช้ในปี 2564
2.จะครบกำหนด 5 ปี ในการปรับปรุงหลักสูตร
ปีการศึกษา 2569
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 1 3.92
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 1
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 3.92
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ในรายงานระบุจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 1 คน แต่ในตาราง ตบช.3.3 ผลที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา ไม่สามารถระบุจำนวน 1 คนได้จริง และไม่ทราบว่าเป็นนักศึกษาที่รับเข้าศึกษาในปีการศึกษาใด เนื่องจากในตารางนั้นไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564 นอกจากนี้ในตาราง ข้อมูลนักศึกษา (หน้า 19) พบว่า ไม่ได้ระบุ และเชื่อมโยงกับการสำเร็จการศึกษา จำนวน 1 คน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานเป็นแบบประเมิน หากมีการเพิ่มเติมตารางสรุป จะทำให้รายการหลักฐานมีความสมบูรณ์ขึ้น
นอกจากนี้ ผู้ประเมินไม่สามารถระบุได้ว่า แต่ละข้อคำถามในแบบสอบถามผู้ใช้บัณฑิต นั้นเป็นการประเมินผลการเรียนรู้ในองค์ประกอบใด
ขอหน้าสรุปผลการประเมินคุณภาพบัณฑิตที่จำแนกตาม LO

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 1 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 0
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในรายงานการประเมินตนเอง ระบุ "ในปีการศึกษา 2565 มีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจำนวนทั้งหมด 1 คน มีจำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ จำนวน 1 คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้สำเร็จการศึกษา โดยมีบัณฑิตที่ได้งานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ประกอบอาชีพอิสระ) จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม"
ข้อมูลไม่สอดคล้องกับข้อมูลในตาราง ตบช.3.3 และตารางข้อมูลนักศึกษา (หน้า 19) เนื่องจากอาจจะเป็นผู้ที่เข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา 2560 (หรือไม่??) หรือเป็นผู้ที่เข้าศึกษาปี 2560?? แต่ปี 2560 น่าจะมีผู้สำเร็จการศึกษา 7 คน (หรือไม่??) บัณฑิตเป็นผู้เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2559 ซึ่งไม่ปรากฎในตารางในเล่ม มคอ.7 ปีการศึกษา 2565 แต่จากเล่ม มคอ.7 ปี 2564 พบว่ามี นศ รหัส 59 กำลังศึกษาในชั้นปีสุดท้ายในปีการศึกษา 2565 คาดว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษา 1 คนตามที่หลักสูตร ระบุไว้ขอให้หลักสูตรเพิ่มบรรทัดของข้อมูลปีการศึกษา 2559 เพื่อให้สอดคล้องกับคำบรรยาย และข้อมูลประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.46 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หน้า 20 ระบุ "นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่เรียนต่อชั้นปีที่ 2 เฉลี่ย 86.67" แต่ความจริงไม่สามารถคำนวณได้ เนื่องจาก ข้อมูลปีล่าสุดเป็นปีการศึกษา 2565 และปี 2564, 2563, 2562 ไม่มีนักศึกษาที่รับเข้าศึกษา
-หลักสูตรมีแนวทางอย่างไรในการดำเนินการตามการวิเคราะห์ "ปัจจัย/สาเหตุที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา" ทั้งประเด็นการประชาสัมพันธ์ (ข้อ 1) = ดำเนินการประชาสัมพันธ์ด้วยวิธีการอื่นเพิ่มเติม นอกเหนือจากการประชาสัมพันธ์ที่ไปออกโรงเรียนพร้อมกับมหาวิทยาลัย?? และเศรษฐานะ (ข้อ 3) = การมีทุนการศึกษา / กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา?? [หากหลักสูตรมีการดำเนินการตามนี้น่าจะส่งผลต่อการดำเนินงานของหลักสูตรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น]
-หน้า 20 หลักสูตรระบุว่าหลักสูตรได้รับการรับรองการเป็นสถาบันได้รับอนุญาตให้ถ่ายทอดความรู้สำหรับฝึกอบรมในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (ประเภท ก) เรียบร้อยแล้ว และปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับวิชาชีพการแพทย์แผนไทย (ประเภท ก) ด้านเภสัชกรรมและเวชกรรมไทย แสดงว่า หลักสูตรเป็นหลักสูตรประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ หรือไม่ ขอความกรุณาตรวจสอบกับ สมว. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากหน้าเล่มระบุว่าหลักสูตรเป็นหลักสูตรประเภทวิชาการ ทั้งนี้อาจจะส่งผลต่อคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน อย่างไรก็ตาม หลักสูตรฯ เป้นหลักสูตรก่อนเงื่อนไข ของเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรใหม่...จึงอาจจะเพียงแค่เตรียมความพร้อม?? ขอความกรุณาตรวจสอบประเด็นนี้ 
-เป้าหมายของ ตบช.นี้ คือการที่หลักสูตรสามารถคัดเลือกผู้เรียนที่มีความพร้อม/ศักยภาพ/ความเหมาะสม/เจตคติ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร ในรายงานการประเมินตนเองหลักสูตรระบุ ความสำเร็จของการดำเนินงานตาม ตบช.นี้คือ มีจำนวนเป็นไปตามเกณฑ์ คือ ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตร มีผู้เข้าเรียน 15 คน...ดังนั้น จึงมีข้อสังเกต ว่า หลักสูตรจะประเมินได้อย่างไรว่า ผู้เรียนที่เข้ามาศึกษาในหลักสูตรจากระบบและกลไกการรับนักศึกษาที่หลักสูตรระบุไว้นั้น เป็นผู้ที่มีความพร้อม/ศักยภาพ/ความเหมาะสม/เจตคติ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร จริงตามที่หลักสูตรคาดหวัง เสนอแนะให้หลักสูตรมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ความสามารถในการเรียน ผลการเรียนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 อัตราการลาออก อัตราการสำเร็จการศึกษาตรงเวลา หรืออื่น ๆ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประเมินระบบและกลไกการรับนักศึกษาของหลักสูตร และใช้เป็นแนวทางในการปรับองค์ประกอบของการรับนักศึกษา เช่น การปรับองค์ประกอบของการสัมภาษณ์ การยกระดับเกณฑ์การรับเข้าศึกษา ฯลฯ
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาในด้านวิชาการ ให้แก่ผู้เรียนที่มีผลการเรียนต่ำ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรมีการปรับพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ในการแก่ผู้เรียนที่มีผลการเรียนต่ำ จึงมีข้อสังเกตว่า เมื่อมีการปรับพื้นฐานแล้ว หลักสูตรทราบได้อย่างไรว่า ผู้เรียนมีความพร้อมในการศึกษาจริง หากหลักสูตรมีข้อมูลเชิงประจักษ์ในประเด็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียน อาทิ ความสัมพันธ์ของผลการสอบรายวิชาปรับพื้นฐานกับผลการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาในหลักสูตร จะช่วยยืนยันว่า กระบวนการปรับพื้นฐานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรืออาจจะเป็นข้อมูลจากการประเมินตนเองของนักศึกษา ที่เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามหรือการสัมภาษณ์ ก็น่าจะช่วยให้หลักสูตรใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการเตรียมความพร้อมแก่ผู้เรียนได้
-หลักสูตรมีเกณฑ์อย่างไรในการคัดเลือกผู้เรียนที่มีความจำเป็นต้องเข้ารับการเตรียมความพร้อม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่แน่ใจว่าหลักสูตรให้ดูรายการหลักฐานใด เนื่องจากรายการหลักฐานเป็น PDCA โครงการหลายโครงการ และไม่ทราบว่าโครงการใดที่เป็นโครงการด้านการเตรียมความพร้อมนักศึกษา
การระบุรายการหลักฐานในเล่ม กับรายการหลักฐานในระบบ DBS ไม่ตรงกัน (ใน DBS ระบุ พอบ.3.1.02 PDCA โครงการ ขณะที่ในรายงานการประเมินตนเอง ระบุ พอบ. 3.1.02 แบบประเมินผลกิจกรรมของนักศึกษา)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 23 ระบุ "ในปี 2565 ทางหลักสูตรมีการกำหนดให้นักศึกษาทั้งหมดที่ตกค้างและไม่สามารถจบการศึกษาตามกำหนดได้อยู่ในความดูแลของหัวหน้าหลักสูตร จำนวน 1 คน และนักศึกษาสามารถจบการศึกษาได้ภายในปีการศึกษา" แต่ในรายงานตาราง พบว่าในปีการศึกษา 2565 ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษา

หน้า 24 ระบุ "การจัดการเรียนการสอนการสอบออนไลน์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ครบถ้วนในช่วงของการระบาดของเชื้อ covid-19" ไม่แน่ใจว่า หมายถึงปีการศึกษาใด เนื่องจาก หลักสูตรไม่มีการรับนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2560 - 2564 
หลักสูตรน่าจะรายงานการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในปีการศึกษา 2565 ที่ผ่านมา เนื่องจาก นักศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 1 น่าจะยังไม่ได้ฝึกปฏิบัติงานในแหล่งฝึก จนทำให้ต้องมีการเตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาที่จะไปฝึกปฏิบัติงาน

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-สำหรับ นศ ที่อยู่ในชั้นปีที่ 1 หลักสูตรดำเนินการอย่างไรในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านการสร้างผลงานวิจัย ที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ??
นักศึกษาที่รับเข้าปี 2560 น่าจะไม่อยู่ในหลักสูตรแล้วในปีการศึกษา 2565??
-ประเด็นนี้ขอให้หลักสูตรเพิ่มเติมการรายงานผลการดำเนินงานที่ได้ดำเนินการไปในปีการศึกษา 2565
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-ในรายงานหลักฐานระบุ แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ครอบคลุมด้านต่าง ๆ 8 ด้าน แต่ไม่พบว่ามีการประเมินเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา อาทิ ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา หรืออื่น ๆ ตามประเด็นที่เกี่ยวข้องใน ตบช นี้
-ในรายการหลักฐาน พอบ.3.1.02 PDCA โครงการ ไม่สามารถเชื่อมโยงได้ว่าเป็นโครงการใดที่สอดคล้องกับ ตบช นี้

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2545 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2548)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 86.67
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษา 2563 และ 2564 ไม่มี นักศึกษาในหลักสูตร 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ไม่มีนักศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 ผู้ที่สำเร็จการศึกษาล่าสุดคือปีการศึกษา 2563 จำนวน 7 ราย (ร้อยละ 50) แต่หลักสูตรระบุว่า ปีการศึกษา 2565 มีผู้สำเร็จการศึกษา 1 ราย ไม่แน่ใจว่าเป็นผู้ที่เข้าเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษาใด
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.47
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.50
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.63
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานส่วนที่เป็นองค์ประกอบของการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในประเด็นต่าง ๆ ตามประเด็นที่ระบุไว้ในหน้า 26 ไม่สอดคล้องกับรายการหลักฐาน พอบ.3.2.02 สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ทั้งองค์ประกอบของการประเมิน และคะแนนประเมิน ขอให้ตรวจสอบความถูกต้องของคะแนนประเมิน เนื่องจากร้องยืนยันใน ข้อ 3
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 27 ระบุ "หลักสูตรฯ มีระบบและกลไก ขั้นตอนกระบวนการในการสรรหา เพื่อรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร " และ "โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร" รบกวนแก้ไข
 
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ตามหลักการ KSA (K – Knowledge คือ ความรู้S –Skills คือ ทักษะและ A – Attribute Data คือ ลักษณะเฉพาะ ส่วนบุคคล ที่หลักสูตรได้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรนั้น หลักสูตรได้มีการนำไปใช้อย่างไรในการพัฒนาอาจารย์ โดยเฉพาะประเด็น A รวมทั้งหลักการนั้นสอดคล้องกับแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคลที่ระบุไว้หรือไม่ หากขยายความประเด็นตรงนี้ได้ และอธิบายการนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างชัดเจนในประเด็นนี้ น่าจะทำให้ผลการดำเนินการของหลักสูตรมีความชัดเจนขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 40.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้งหมด 5 คน โดยมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  2 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก ได้แก่ รศ. ดร. ภก. สุรพจน์ วงศ์ใหญ่ และดร. ภญ. ณิราวรรณ์ กิจประไพอำพล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีระบบและกลไกในการส่งเสริมสนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก 
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  1 คน ดำรงตําแหน่งทางวิชาการ โดยดำรงตําแหน่งรองศาสตราจารย์ คือ รศ. ดร. ภก. สุรพจน์ วงศ์ใหญ่
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ส่งเสริมสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 1 0 1 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 48.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีอัตราการคงอยู่ ปี 2563 60% ปี 2564 100% ปี 2565 100% และความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คะแนนประเมินในรายการหลักฐาน (4.84) และในรายงานการประเมินตนเองไม่สอดคล้องกัน (4.80)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตรวจสอบผลการประเมิน และการคำนวณที่ปรากฎในรายการหลักฐาน
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.63 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

12
12
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 44 ผลการประเมินคุณภาพการสอน น่าจะแยกเป็นภาคเรียน และใช้คะแนนเฉลี่ย เพื่อให้สามารถประเมินผลได้สะดวก
ทุกรายวิชามีแผนการปรับปรุงในแบบเดียวกัน คือ "เนื้อหาสาระรายวิชาและเทคนิคการสอน" 
หน้า 46 ระบุ "การประเมินคุณภาพการสอนปีการศึกษา 2566 ใช้แบบประเมินจากส่วนกลางของมหาวิทยาลัยในรูปแบบคะแนนเต็ม 5.00 ทั้งนี้ทางหลักสูตรได้คะแนนเฉลี่ยปี 2565" แต่การประเมินคุณภาพการสอน ดำเนินการในปีการศึกษา 2565??
 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 60 ระบุ " มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการตั้งแต่ปี 2563เรื่อยมาจนถึงปี 2564 นศ. ได้ทำสหกิจศึกษากับทางโรงงานผลิตยาสมุนไพร Sun-herb manufacturing ของมหาวิทยาลัย เนื่องจากการระบาดของโควิด 19 ทำให้ไม่สามารถออกไปภายนอกในช่วงนั้นได้ จึงทำกับโรงงานของมหาวิทยาลัย โดยได้รับโจทย์จากโรงงานให้ นศ. ทำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่โรงการต้องการ 2 ชนิด คือ ยาสมุนไพร และ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร นศ. ได้นำองค์ความรู้ที่เรียนมาทั้งหมดทำผลิตภัณฑ์ออกมาเป็นที่พึงพอใจของอาจารย์ที่ดูแลที่โรงงาน" ไม่แน่ใจว่าในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรดำเนินการอย่างไร??
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-เพิ่มเติมตารางระบุการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Co-creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หน้า 62 ระบุ "จากการสำรวจความต้องการของนักศึกษา ทำให้ปีการศึกษานี้เรามีโครงการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก่อนออกฝึกงาน โดยได้รับความอนุเคราะห์จากโรงงานผลิตยาสมุนไพร Sun-herb manufacturing  ของมหาวิทยาลัย สังกัดวิทยาลัยเภสัชศาสตร์ ในการรับนักศึกษาเข้าลองฝึกงานจริงเป็นเวลา 2 เดือน" ไม่ควรอยู่ประเด็นการกำหนดผู้สอน ควรไปอยู่ประเด็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนมากกว่า
-การกำหนดผู้สอน มีการรายงานในประเด็นที่เกี่ยวข้องเฉพาะ PD ขาด CA ขอให้รายงานเพิ่มเติม
-เป้าหมายของประเด็นนี้ คือ หลักสูตรได้มีการกำหนด/คัดเลือก ผู้สอน อย่างไร ให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญ สามารถจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนได้ จนบรรลุความต้องการของผู้เรียน และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ระบุในหลักสูตร ดังนั้น การประเมินผล และการปรับปรุงกระบวนการ จึงต้องประเมินและปรับปรุงกระบวนการ ในส่วนนี้

 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หน้า 63  "มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน" ขอให้รายงานกระปรับปรุงกระบวนการจากผลการประเมินการจัดทำการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และมคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน ไม่ใช่การประเมินผลการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ขอให้รายงานกิจกรรมการดำเนินการที่ดำเนินการไปในปีการศึกษา 2565
หน้า 65 ระบุ "หลักสูตรฯ ได้ดำเนินการบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การบริการวิชาการทางสังคม และการวิจัย จนเกิดเป็นศูนย์การแพทย์แผนตะวันออก ที่ให้บริการด้านสุขภาพทางคลินิก ให้กับบุคคลทั้งภายในและภายนอก เป็นต้นแบบให้ศิษย์เก่า หน่วยงานต่างๆ ขอมาเยี่ยมชมและศึกษาดูงาน และสามารถดำเนินการตามได้จริง สามารถเปิดเป็นคลินิกของวิทยาลัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ" หากหลักสูตรขยายความเชื่อมโยงกับการดำเนินงานที่หลักสูตรดำเนินการไปในปีการศึกษา 2565 จะทำให้การรายงานชัดเจนขึ้น

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
พอบ. 5.2.04    โครงการบริการวิชาการและจิตอาสาทางการแพทย์แผนตะวันออก ไม่แน่ใจว่าโครงการลำดับที่เท่าใด

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ขาดการรายงานในประเด็น "ผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ "
-หน้า 66 ระบุ "มีรายวิชาที่ปรับวิธีการสอนโดยการนำเทคโนโลยีมาช่วยในการเรียนการสอนในรูปแบบเกม และมีการบันทึกวีดีโอการสอนให้นักศึกษาย้อนกลับไปดูทบทวนได้ มีเพจรายวิชาต่างๆ เป็นสื่อกลางระหว่างผู้สอนและผู้เรียนใช้นำเสนอสื่อการสอนของอาจารย์ สื่อความรู้ ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้อง ผลงานของนักศึกษา ข้อคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษา และมีรายวิชามีการปรับวิธีการสอนโดยการตั้งคำถามนำให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และโต้ตอบระหว่างผู้เรียนผู้สอนนำไปสู่การสร้างความตระหนักรู้และเข้าใจอย่างแท้จริง การปรับเปลี่ยนรูปแบบการประเมินที่หลากหลายในการวัดประเมินผลนักศึกษา ทำให้มีผลการเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา" ขอให้ระบุการปรับปรุงกระบวนการประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น การใช้ DOPs, WPBA, OSCE, Portflios etc.ที่สะท้อนการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLO) ของหลักสูตร

 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หน้า 67 ระบุ "มีการปรับปรุงกระบวนการวัดประเมินผลผู้เรียนรู้ จากระบบการสอบวัดประเมินผลในช่วงกลางภาค ปรับเปลี่ยนเป็นการวัดผลการทดสอบในระหว่างช่วงการเรียนการสอน การเพิ่มคะแนนในส่วนของกิจกรรมในชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษามีความตั้งใจในการเรียนรู้ และอาจารย์ผู้สอนได้เพิ่มการปฏิบัติการควบคู่กับการบรรยายในวิชาการแพทย์แผนตะวันออก เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้ด้านวิชาชีพ ที่สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้จริง และมีการสอบแบบออนไลน์ซึ่งเป็น new normal ของการเรียนในยุคปัจจุบัน" ขอให้รายงานการปรับปรุง "การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา" ว่าหลักสูตรดำเนินการอย่างไร ในการตรวจสอบ PLOs และ CLOs ว่าผลการประเมินเป็นไปอย่างถูกต้อง สะท้อนผลการเรียนรู้ที่แท้จริงของผู้เรียนหรือไม่ 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หน้า 68 ระบุ "จากข้อคิดเห็นและข้อเสนอเกี่ยวกับคุณภาพ และแผนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาหลักสูตร ตามรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับ หลักสูตร IQA ทางหลักสูตรฯ ได้ดำเนินการยื่นขอการรับรองสถาบันที่จัดอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สาขาการแพทย์แผนไทยประเภท ก. จากสภาวิชาชีพเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้หลักสูตรฯ ยังได้ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดวิชาชีพ" ไม่สอดคล้องกับประเด็นประเมิน ขอให้รายงาน "การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)" ว่าหลักสูตรมีการกำกับติดตามการจัดทำ มคอ.5 6 และ 7 อย่างไร เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนด รวมทั้งคุณภาพของรายงานดังกล่าว ตลอดจนการประเมินเพื่อปรับปรุงกระบวนการกำกับติดตามนั้น ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรได้ข้อมูลป้อนกลับของการจัดการเรียนการสอนในหลักสุตรที่มีความตรงประเด็น 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)


 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เชื่อมโยงไปยังระบบของ สมว. แต่เข้าไปตรวจสอบไม่ได่ว่ามีการ upload ครบทั้ง 12 รายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2565 หรือไม่
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เชื่อมโยงไประบบฐานข้อมูลของ สมว.
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
มีการทวนสอบตามรายการหลักฐาน 8 รายวิชา
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ปีที่แล้วไม่มีนักศึกษาปีที่ 4 จึงต้องใช้ผลการประเมินความพึงพอใจของบัณฑิต ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ประเมินบัณฑิต 1 คน จากผู้สำเร็จการศึกษา 1 คน ได้คะแนน 3.95

[ตรวจสอบจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมดก่อน]
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
จัดการเรียนการสอน 12 รายวิชา
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่ระบุผลการประเมิน 4.63
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เปิดโอกาสให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำงบประมาณการดำเนินงานของคณะวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีโครงการแผนยกระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ โครงการมหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ปี 2563 : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมีการเข้าตรวจสอบคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มเติมผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา และอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ในรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา พบว่า
ด้านปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน/กระบวนการเรียนรู้ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.60
ไม่แน่ใจว่า ผลการประเมิน 4.63 มาจากแหล่งใด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. มีการเชื่อมโยงการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรกับการสอบขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย (เวชกรรมไทยและเภสัชกรรมไทย))
  2. เป็นหลักสูตรที่มีความเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และภูมิปัญญาการแพทย์แผนตะวันออก จึงควรมีการส่งเสริมสนับสนุนศาสตร์สาขาและองค์ความรู้แก่สาธารณะ

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรมีแนวทางอย่างไรในการดำเนินการตามการวิเคราะห์ "ปัจจัย/สาเหตุที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา" ทั้งประเด็นการประชาสัมพันธ์ (ข้อ 1) = ดำเนินการประชาสัมพันธ์ด้วยวิธีการอื่นเพิ่มเติม นอกเหนือจากการประชาสัมพันธ์ที่ไปออกโรงเรียนพร้อมกับมหาวิทยาลัย?? และเศรษฐานะ (ข้อ 3) = การมีทุนการศึกษา / กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา?? [หากหลักสูตรมีการดำเนินการตามนี้น่าจะส่งผลต่อการดำเนินงานของหลักสูตรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น]
  2. หลักสูตรควรมีแนวทางในการวางแผนเพื่อให้มีผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 3.92
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.52

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.46 4.46 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.63 - - 3.63 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.27 3.50 4.46 3.52 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก