รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์

วันที่ประเมิน: 8 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์สุมนา ผลงานทางวิชาการ 
ผศ..สุปรียา สุธรรมธารีกุล มีผลงานในรอบ 5 ปี จำนวน 3 ชิ้น ?
รายการที่ 3 หาไม่เจอ ว่าเป็นวันเดือนปี ?
(3) สุปรียา สุธรรมธารีกุล. (2560). การวิจัยการเพิ่มคุณค่าวัสดุใช้แล้วเพื่อสร้างสรรค์รูปแบบใหม่และชีวิตใหม่ด้วยแนวคิดดีคอนสตรัคชั่น: วารสารวิชาการศิลปะและการออกแบบ, มหาวิทยาลัยรังสิต.

อ.พชร รัตนคุปต์ มีผลงานในรอบ 5 ปี จำนวน 3 ชิ้น
รายการที่ 3 ต้องเอาออก
(3) Rattanakup, P.  (2558).  To Hide or not to Hide [Fashion]. International Creative Arts Exhibition The 4th Rangsit University International Design Symposium: Rangsit University. => เอาออก

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์สุมนา ผลงานทางวิชาการ
ผศ..สุปรียา สุธรรมธารีกุล มีผลงานในรอบ 5 ปี จำนวน 3 ชิ้น ?
รายการที่ 3 หาไม่เจอ ว่าเป็นวันเดือนปี ?
(3) สุปรียา สุธรรมธารีกุล. (2560). การวิจัยการเพิ่มคุณค่าวัสดุใช้แล้วเพื่อสร้างสรรค์รูปแบบใหม่และชีวิตใหม่ด้วยแนวคิดดีคอนสตรัคชั่น: วารสารวิชาการศิลปะและการออกแบบ, มหาวิทยาลัยรังสิต.
อ.พชร รัตนคุปต์ มีผลงานในรอบ 5 ปี จำนวน 3 ชิ้น รายการที่ 3 ต้องเอาออก
(3) Rattanakup, P.  (2558).  To Hide or not to Hide [Fashion]. International Creative Arts Exhibition The 4th Rangsit University International Design Symposium: Rangsit University. => เอาออก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์สุมนา 
-ข้อข้างบนนำหน้าด้วยอาจารย์ หรือ ผศ. แต่ข้อนี้ใส่คำนำหน้า นาง นาย
-เอกสารหน้า 13 ไม่มีอาจารย์กำจร และในเล่มเอกสาร ระบุว่า -> ในปีการศึกษา 2564 มีอาจารย์ประจำหลักสูตร 1 คน ลาออก (อ.กำจร แซ่เจียง) 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
อาจารย์สุมนา เอกสารหน้า 14 ระบุว่ามีอาจารย์พิเศษ 3 คน ใน DBS ก็มี 3 คน
1. นางกรพินธุ์ ฤทธิบุตร
2. นายนพเดช สวยสม
3. นายไกรกช เสรีดีเลิศ
แต่ในหน้า 24 ไม่ใส่ข้อมูล
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 24 4.54
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 6
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.54
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 24 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 18
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 7
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 8
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 3
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.77 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา หลักสูตรดำเนินการประชาสัมพันธ์ โดยการจัดกิจกรรม Open House มีโครงการทดลองเรียน (So Real) มีการให้คำแนะนำและคำปรึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอนในหลักสูตร เปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจที่เข้าเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการ และทดลองใช้อุปกรณ์ มีการมอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่จะเข้าใหม่ หลักสูตรรับนักศึกษาหลักสูตรนานาชาติ มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2564 พบว่าคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.09 คะแนน
ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการรับนักศึกษา พบว่าคะแนนความพึงพอใจ ปีการศึกษา 2565 อยู่ในระดับ 4.17 คะแนน (ถ้ามีข้อมูลปีการศึกษา 2563 ประกอบด้วยว่าดีขึ้นในปี 2564 และ 2565 ด้วย จะเป็นแนวโน้มว่าดีขึ้น)

ผศ.ชินภัศร์ ในเล่ม มคอ.7 ยังไม่ได้ใส่คะแนนในช่อง ผลประเมินตนเอง ซึ่งหลักสูตรมีคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการรับนักศึกษาเพิ่มขึ้นจากปี 2564 นักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2565 มีจำนวนมากกว่าในปีการศึกษา 2564
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา
-หลักสูตรมีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน
-ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเตรียมความพร้อมนักศึกษาของหลักสูตรแฟชั่นดีไซน์ ปีการศึกษา 2564 พบว่า ได้คะแนนประเมิน 3.94

ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเตรียมความพร้อมนักศึกษาของหลักสูตรแฟชั่นดีไซน์ ปีการศึกษา 2565 พบว่า ได้คะแนนประเมิน 4.06
(ถ้ามีข้อมูลปีการศึกษา 2563 ประกอบด้วยว่าดีขึ้นในปี 2564 และ 2565 ด้วย จะเป็นแนวโน้มว่าดีขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์สุมนา หลักสูตรมีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน มีการสร้างความร่วมมือกับชุมชน กับผู้ประกอบการ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบแฟชั่น เพื่อเพิ่มมูลค่าของกับวัตถุดิบจากชุมชน มีการดำเนินโครงการร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนให้แก่นักศึกษา
ผศ.ชินภัศร์
 หลักสูตรมีวิชา FAS 421 การออกแบบที่สร้างความร่วมมือกับชุมชน ร่วมกิจกรรม Made in Lak Hok ในโครงการ "แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการพัฒนาสุขภาวะ จังหวัดปทุมธานี" และโครงการอื่นๆ อีกหลายโครงการ ทั้งนี้มีการร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Bunka Gakuen University ประเทศญี่ปุ่น และ มหาวิทยาลัย Univerritas Ciputra Surabaya ประเทศอินโดนีเซีย
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา 
-มีการสร้างความร่วมมือกับชุมชน กับผู้ประกอบการ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบแฟชั่น เพื่อเพิ่มมูลค่าของกับวัตถุดิบจากชุมชน
ดำเนินการโครงการร่วมกับมหาวิทยาลัย Bunka Gakuen University ประเทศญี่ปุ่น ร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Universitas Ciputra Surabaya ประเทศอินโดนีเซีย
-ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของหลักสูตร ในปีการศึกษา 2564 จากการประเมิน พบว่ามีคะแนนอยู่ใน 4.14
-ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของหลักสูตร ในปีการศึกษา 2565 จากการประเมิน พบว่ามีคะแนนอยู่ใน 4.21
(ถ้ามีข้อมูลปี 2563 ด้วยจะได้เห็นชัดเจนขึ้นในเรื่องแนวโน้ม)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา เข้าร่วมโครงการ Creative Young Designers จัดขึ้นโดยบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม (ประเทศไทย) จำกัด ทำความร่วมมือกับกลุ่มทอผ้าภูริษาผ้าไทย จ.หนองบัวลำภู โดยให้นักศึกษาลงพื้นที่ทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มทอผ้าภูริษาผ้าไทย และเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณบ้านโนนกอก จ.หนองบัวลำภู เยี่ยมชมขั้นตอนการผลิตผ้า พร้อมทั้งพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้ประกอบการเพื่อนำความรู้มาต่อยอดในการออกแบบเละพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าทอมือและขยายโอกาสช่องทางการตลาดให้แก่ชุมชน นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนให้แก่นักศึกษา
-สร้างแบรนด์ Primtawan โดยนักศึกษาจากโครงการสร้างอาชีพและรายได้แนวใหม่ฯ โดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และมีการออกแบบ จำหน่ายผลิตภัณฑ์
-หลักสูตรร่วมมือกับเทศบาลตำบลหลักหก(MOU) จัดให้มีการอบรมการพิมพ์ผ้าด้วยวัสดุจากธรรมชาติ (eco print) ให้กับประชาชนผู้สนใจในเขตเทศบาลหลักหก โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการฝึกการพิมพ์แบบ eco print เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการพิมพ์และถ่ายทอดเทคนิคการพิมพ์ให้แก่บุคคลทั่วไปในชุมชน

-ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติของหลักสูตร ในปีการศึกษา 2564 จากการประเมิน พบว่ามีคะแนนอยู่ใน 3.94
ปีการศึกษา 2565 จากการประเมิน พบว่ามีคะแนนอยู่ใน 4.04
(ถ้ามีข้อมูลปี 2563 ด้วยจะได้เห็นชัดเจนขึ้นในเรื่องแนวโน้ม)


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2544 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2547)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 80.60
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 77.10
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 57.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 75.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 71.40
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 51.10
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.11
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.11
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.16
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา 
-
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีความเชี่ยวชาญด้านแฟชั่น
-อาจารย์ประจำหลักสูตร ได้แสดงผลงานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา หลักสูตรฯ ได้รับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนมากขึ้น จึงควรมีอาจารย์ในหลักสูตรฯ ที่คอยกำกับดูแลนักศึกษาต่างชาติ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ชินภัศร์ แนะนำให้เขียนแผนพัฒนา 5 ปี สำหรับอาจารย์รายบุคคล เพิ่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ชินภัศร์ อาจารย์ที่มีตำแหน่งวิชาการมีจำนวนน้อย ควรเร่งวางแผนการเพิ่มตำแหน่งวิชาการให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 3
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.22 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์สุมนา มีการรายงานผลการดำเนินงานครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ และมีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การคงอยู่ 100%
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.07 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

27
27
100.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์สุมนา หลักสูตรมีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน หลักสูตรมีการออกแบบหลักสูตร ที่มีการสร้างความร่วมมือกับชุมชน กับผู้ประกอบการ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบแฟชั่น เพื่อเพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบจากชุมชน ผลงานของนักศึกษาได้ถูกเผยแพร่ และถูกนำไปใช้เป็นสินค้าต้นแบบสำหรับผู้ประกอบการ และนำไปใช้ได้จริง
ผศ.ชินภัศร์ ทุกวิชามีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา มีการสร้างความร่วมมือกับชุมชน กับผู้ประกอบการ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบแฟชั่น เพื่อเพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบจากชุมชน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา โครงการออกแบบที่ร่วมมือกับผู้ประกอบการ ของรายวิชา FAS 421 ในโครงการ Creative Young Designers ผลงานของนักศึกษาได้ถูกเผยแพร่ และถูกนำไปใช้เป็นสินค้าต้นแบบสำหรับผู้ประกอบการ และนำไปใช้ได้จริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา 
-
การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ หน้า 74 เปลี่ยนเป็น -> ไม่มี และลบส่วนที่ไม่ใช้ออก
-รายวิชาที่ไม่ได้เปิดสอนตามแผนการศึกษา และเหตุผลที่ไม่ได้เปิดสอน หน้า 75 เปลี่ยนเป็น -> ไม่มี และลบส่วนที่ไม่ใช้ออก
-เอกสารหน้า 80 จากการประเมินการเรียนการสอนโดยนักศึกษา ในปีการศึกษา 2565  หลักสูตรฯ มีรายวิชาที่เปิดสอนทั้งหมด [24] รายวิชา ผลการประเมินคุณภาพการสอน มีระดับคะแนนเฉลี่ย [4.57] คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 ** แก้เป็น  27 วิชา **
รายการเอกสารหลักฐาน 

1.ฟชบ.5.1.04มคอ.3 และ มคอ.4  ภาคเรียนที่ 1/2565 และ 2/25565 ** ต้อง login ถึงจะเปิดได้**
2.ฟชบ.5.1.05มคอ.5 และ มคอ.6  ภาคเรียนที่ 1/2565 และ 2/2565 ** ต้อง login ถึงจะเปิดได้**

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์สุมนา มีการผนวกรายวิชาของหลักสูตรกับการบริการวิชาการ และการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย ทำให้เกิดแนวทางของโครงการที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น มีความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่เข้าถึงท้องถิ่น มีผลงานของโครงการที่เป็นรูปธรรม เช่น การจัดสัมมนาเชิงปฎิบัติการที่ให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป การทดลองสร้างแบรนด์ที่มีการผลิต และจำหน่ายสินค้าจริง    
ผศ.ชินภัศร์ การเรียนการสอนมีโครงการที่ร่วมกับผู้ประกอบการที่เข้าถึงท้องถิ่นหลายโครงการ และมีการทำความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศที่ญี่ปุ่นและอินโดนีเซีย
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา 
-
มีการสร้างความร่วมมือกับชุมชน กับผู้ประกอบการ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบแฟชั่น เพื่อเพิ่มมูลค่าของกับวัตถุดิบจากชุมชน นำความรู้มาต่อยอดในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าทอมือและขยายโอกาสช่องทางการตลาดให้แก่ชุมชน นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนให้แก่นักศึกษา
-ทดลองสร้างแบรนด์ Primtawan โดยนักศึกษาจากโครงการสร้างอาชีพและรายได้แนวใหม่ฯ โดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และมีการออกแบบ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคนิคการพิมพ์ลวดลายจากใบไม้ ดอกไม้ในท้องถิ่น และมีการเข้าร่วมขายสินค้าในงาน "Made In Lak-Hok" ภายใต้โครงการ "แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการพัฒนาสุขภาวะจังหวัดปทุมธานี" มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
-ร่วมมือกับเทศบาลตำบลหลักหก(MOU) จัดให้มีการอบรมการพิมพ์ผ้าด้วยวัสดุจากธรรมชาติ (eco print) ให้กับประชาชนผู้สนใจในเขตเทศบาลหลักหก โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการฝึกการพิมพ์แบบ eco print เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการพิมพ์และถ่ายทอดเทคนิคการพิมพ์ให้แก่บุคคลทั่วไปในชุมชน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา เอกสารหน้า 101 ในปีการศึกษา 2565  มีการเพิ่มรายวิชา FAS 377 การตกแต่งพื้นผิวผ้า รับผิดชอบโดย อ.ลัดดาวัลย์ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ด้านการปักประดับ  FAS 382 วัสดุเพื่องานแฟชั่น รับผิดชอบโดย อ.กำจร ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านผ้าและสิ่งทอ
แต่ในหน้า 59 -> ในปีการศึกษา 2564 มีอาจารย์ประจำหลักสูตร 1 คน ลาออก (อ.กำจร แซ่เจียง)
รายการเอกสารหลักฐาน 
ฟชบ.5.2.04มคอ.3 ภาคเรียนที่ 1/2565 และ 2/2565 ** ต้อง login ถึงจะเปิดได้**

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
รอเหตุผล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน
ผศ.ชินภัศร์ (ระบุคะแนน 4.00) มีการประเมินผู้เรียนโดยผู้ใช้บัณฑิต คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ และคณะกรรมการมาตรฐานวิชาการ ในปีการศึกษา 2565
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา เอกสารหน้า 116 ในปีการศึกษา 2565 ได้มีการทวนผลสัมฤทธิ์การประเมินรายวิชา โดยจัดตั้งกรรมการเพื่อทวนผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาในสัดส่วนร้อยละ 25 ของรายวิชาทั้งหมดในหลักสูตร จากการทวนผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาจำนวน 12 วิชา ได้แก่รายวิชา  **  ทวนสอบ 12 วิชา จาก 27 วิชา  คิดเป็น  44.44% **
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา
ครั้งที่ 1/2565 วันที่ 7 มิถุนายน 2565
ครั้งที่ 2/2565 วันที่ 11 กรกฎาคม 2565
** ไม่มี ครั้งที่ 3 **
ครั้งที่ 4/2565 วันที่ 10 สิงหาคม 2565
ครั้งที่ 5/2565 วันที่ 11 ตุลาคม 2565
ครั้งที่ 6/2565 วันที่ 21 ธันวาคม 2565
ครั้งที่ 7/2565 วันที่ 18 มกราคม 2566
ครั้งที่ 8/2565 วันที่ 22 มีนาคม 2566
ครั้งที่ 9/2565 วันที่ 23 พฤษภาคม 2566
เอกสารที่เหลือ ก็เหมือนกัน
ฟชบ.3.1.01 รายงานการประชุมสาขาแฟชั่นดีไซน์ 
ฟชบ.3.2.01 รายงานการประชุมสาขาแฟชั่นดีไซน์ 2565 
ฟชบ.3.3.01 รายงานการประชุมสาขาแฟชั่นดีไซน์
ฟชบ.4.1.01 รายงานการประชุมสาขาฯ
ฟชบ.5.1.02 รายงานการประชุมสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์
ฟชบ.5.2.01รายงานการประชุมสาขาแฟชั่นดีไซน์
ฟชบ.5.3.01รายงานการประชุมสาขาแฟชั่นดีไซน์
ฟชบ.5.4.01รายงานการประชุมสาขาแฟชั่นดีไซน์
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา ฟชบ.5.4.03 มคอ.3 และ มคอ.4  ภาคเรียนที่ 1/2565 และ 2/2565 * ต้อง login ถึงเปิดได้*
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา ฟชบ.5.4.04 มคอ.5 และ มคอ.6  ภาคเรียนที่ 1/2565 และ 2/2565 * ต้อง login ถึงเปิดได้*
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา หลักสูตรฯ ได้มีการทวนผลสัมฤทธิ์การประเมินรายวิชา โดยจัดตั้งกรรมการเพื่อทวนผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาในสัดส่วนร้อยละ 25 เปลี่ยนเป็น 44.44
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา ฟชบ.5.4.07 มคอ.3 และ มคอ.4  ภาคเรียนที่ 1/2565 และ 2/2565 * ต้อง login ถึงเปิดได้*
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์สุมนา กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และบุคลากรสายสนับสนุนฯ [ถ้ามี]
(ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร) แทน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน (เข้าร่วม) รวมทั้งเอกสาร หน้า 135  ด้วย
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร มีคะแนนเฉลี่ย 4.12 จากคะแนนเต็ม 5
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ มีคะแนนเฉลี่ย 4.54 จากคะแนนเต็ม 5
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา มีคะแนนเฉลี่ย 4.57 จากคะแนนเต็ม 5
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน มีคะแนนเฉลี่ย 3.93 จากคะแนนเต็ม 5
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
รอเหตุผล รอปรับแก้
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์สุมนา หลักสูตรนำแนวทางข้อเสนอแนะจากการประเมินฯ มาปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565 นอกจากส่งผลให้การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีระดับคะแนนที่สูงขึ้นจากปีการศึกษาที่แล้ว นักศึกษาสามารถนำผลการปรับปรุงไปสร้างผลงาน บริการวิชาการ หรืออื่นๆ ได้หรือไม่ ขอให้เขียนเพิ่มในส่วนนี้ เพื่อจะทำให้ได้คะแนน 4 ตามที่หลักสูตรต้องการ
ผศ.ชินภัศร์ มีจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนเพียงพอเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน คะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ในปี 2565 สูงขึ้นกว่าปี 2564 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีการสร้างความร่วมมือกับชุมชน กับผู้ประกอบการ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบแฟชั่น เพื่อเพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบจากชุมชน ผลงานของนักศึกษาได้ถูกเผยแพร่ และถูกนำไปใช้เป็นสินค้าต้นแบบสำหรับผู้ประกอบการ และนำไปใช้ได้จริง สามารถนำมาพัฒนาการเรียนการสอนได้เป็นรูปธรรม รวมทั้งมีการทำความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศที่ญี่ปุ่นและอินโดนีเซีย
  2. อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้มีประสบการณ์เชี่ยวชาญในวิชาชีพ
  3. หลักสูตรมีห้องปฏิบัติการและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัยและเพียงพอต่อการเรียนการสอน
  4. หลักสูตรมีผลการประเมินความพึงพอใจในด้านต่างๆ โดยภาพรวมดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ศึกษาต่อ และเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
  2. ควรมีแผน 5 ปี สำหรับการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.54
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.22
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.83

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.77 4.77 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.07 - - 3.07 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.32 4.25 4.77 3.83 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก