รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์

วันที่ประเมิน: 6 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์สามารถเพิ่มวุฒิการศึกษาได้อีก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้สอนมีคุณวุฒิตรง และได้แนบหลักฐานรายละเอียดเป็นที่เรียบร้อย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิตรง และได้แนบหลักฐานไว้แล้ว
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
มีการปรับปรังหลักสูตรตามกำหนดระยะเวลา ครั้งล่าสุด พ.ศ. 2563 และจะครบรอบระยะเวลาปรับปรุง ใน พ.ศ. 2568
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 22 4.54
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 8
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.54
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
นักศึกษาเป็นผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม (Innovative Co-Creator) และ มีความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) อยู่ในระดับสูมาก ถ้าแสดงหลักฐานเป็นรูปธรรมจะดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ด้านความรู้และทักษะทางปัญญา หลักสูตรสามารถพัฒนานักศึกษาให้มีระดับคะแนนที่สูงขึ้นได้อีก
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 22 4.06
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 17
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 4
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 6
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 3
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 3
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 81.25
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.06
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.30 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ได้ 3 คะแนน
1.หลักสูตรควรตั้ง KPI การรับ นศ.ใหม่ ให้มีคุณสมบัติที่เป็นไปตามหลักสูตรกำหนด มีความพร้อมในการเรียน มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ แล้ววัดผลคิดเป็นค่าร้อยละเทียบกับ จำนวน นศ.ที่เข้ามาใหม่ 
2.ควรมีกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อม แล้ววัดผลสัมเร็จกิจกรรมแบบ Before / After ว่า นศ. มีความพร้อมเป็นไปตามค่าเป้าหมายหรือไม่ เช่น ค่าร้อยละ 80
3.หากหลักสูตรมีกระบวนการรับและเตรียมความพร้อมนักศึกษาที่ดี  ย่อมต้องรักษาอัตราสำเร็จและตกออกได้ ซึ่งควรดูผลเป็นแนวโน้ม 3 ปี ซึ่งจะสัมพันธ์กับตัวบ่งชี้ 3.3

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ยอดรับนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2566 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2565 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ยอดนักศึกษารับเข้าของปีการศึกษา 2565 ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในปีการศึกษา 2566  หลักสูตรควรปรับปรุงกลไกการคงอยู่ อาทิ การเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาให้เข้มข้นมากกว่าเดิมและทำอย่างจริงจัง
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ที่ดำเนินการในปัจจุบัน ทำได้ดี แต่ยังไม่เพียงพอต่อการรักษาสถานภาพการคงอยู่ของนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดังนั้น หลักสูตรต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาโมเดลการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาอย่างจริงจัง เป็นรูปธรรม ที่จะทำให้นักศึกษาทุกทุกคนสามารถมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาได้ในระดับไม่ต้องลุ้นตกออก หรือ drop out กลางเทอม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ได้ 3 คะแนน
1.นศ.ได้รับการพัฒนาศักยภาพ จนเกิด Leaning Outcome ที่หลักสูตรได้รายงานมาดังกล่าว หลักสูตรได้ตั้ง นศ. กลุ่มเป้าหมายไว้ที่เท่าไหร่ และนศ.เกิด Leaning Outcome คิดเป็นร้อยละเท่าไหร่ ซึ่งหลักสูตรควรบรรลุเป้าหมายร้อยละ 80 จึงจะชัดเจนเป็นรูปธรรม
2.ควรมีการประชุมกรรมการบริหารหลักสูตร และระบุการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ว่ามีทักษะกิจกรรมอะไรบ้าง พร้อมกับ Mapping กิจกรรมเข้ากับตัวชี้วัดความสำเร็จ โดยใส่ข้อมูลค่าความสำเร็จเป็นร้อยละ และแสดงให้ชัดว่ากิจกรรมอะไรที่ทำให้นศ.เกิดทักษะตรงนั้นขึ้นอย่างชัดเจน 


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรปรับปรุงแนวทางการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดยพัฒนารูปแบบ การเรียนรู้ ขั้นตอนการดำเนินงาน การลงพื้นที่สำรวจความต้องการของตลาด ชุมชน ผู้ประกอบการในแต่ละพื้นที่ ก่อให้เกิดรูปแบบที่เป็นรูปธรรมกล่าวคือ นักศึกษาสามารถผลิตผลงานได้อย่างเหมาะสม เพื่อขายและผลิตจริงออกสู่ ชุมชน ในเชิงพาณิชย์
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้อธิบายเพิ่มเติมถึงบทบาทผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรเกี่ยวกับการให้คำปรึกษาและเป็นอาจารย์พี่เลี้ยงให้แก่นักศึกษาในการสร้างสรรค์ผลงานที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและตลาด
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีความสร้างสรรค์และมีประโยชน์ต่อสังคม

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรต้องให้ความสำคัญในการกำหนด Theme ของศิลปนิพนธ์ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทุกโครงการ โครงใดไม่สอดคล้อง ไม่ควรอนุมัติให้ทำ

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
งานออกแบบและสร้างสรรค์โครงการศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ส่วนใหญ่ (เกือบ 70%) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้จริง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในปีการศึกษาถัดไป หลักสูตรไม่ควรอนุมัติให้นักศึกษาดำเนินการโครงการที่ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ควรตีกรอบการพัฒนา ออกแบบ แะสร้างสรรค์ โครงการไว้ตั้งแต่แรกเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2530 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2533)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 66.67
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 51.22
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 64.44
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีอัตราคงอยู่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แสดงว่ามีการเตรียมความพร้อมนักศึกษา และการให้คำปรึกษา อยู่ในระดับดีมีประสิทธิภาพ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้ตีกรอบโครงงานทุกโครงงานของนักศึกษาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 61.54
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 48.78
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 46.67
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.11
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.16
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.14
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักศูตรควรปรับปรุงกระบวนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพราะได้คะแนนประเมินน้อยที่สุดในผลการประเมินทั้ง 4 ด้าน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ได้ 3 คะแนน
หลักสูตรมีการกำหนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของ อาจารย์ประจำหลักสูตรที่ช่วยส่งเสริมให้อาจารย์มีคุณภาพทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน ควบคู่ไปกับ การอบรมเพื่อเพิ่มศักยภาพและคุณภาพของอาจารย์ ประกอบกับมีการจัดแผนระยะเวลาแต่ละบุคคล ซึ่งหลักสูตรไม่มีหลักฐานแผนพัฒนาอาจารย์เป็นรายบุคคล และไม่พบหลักฐานอาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าร่วมแสดงผลงานสร้างสรรค์ งานประชุมวิชาการนานาชาติ วิทยาลัยการ ออกแบบเพิ่มขึ้น รวม 6 คน จึงไม่ปรากฎผลจากการปรับปรุงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม 

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.เพิ่มกลไกการติดตามความก้าวหน้าในการเตรียมความพร้อมอาจารย์เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ
2.เพิ่มแผนการศึกษาต่อของอาจารย์
3.ควรมีการวางแผนลำดับการพัฒนาอาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรให้พร้อมที่จะเป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการจัดสรรภาระงานให้แก่อาจารย์แต่ละท่านชัดเจน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มกลไกและระบบติดตามสัมฤทธิ์ผลของภาระงานที่จัดสรรให้แก่อาจารย์แต่ละคน 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ทำได้ดีมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรมคืออาจารย์ 6 คน มีผลงานนำเสนอในที่ประชุมวิชาการนานาชาติ วิทยาลัยการออกแบบ และ 1 ใน 6 ได้รับรางวัลผลงานสร้างสรรค์ยอดเยี่ยม รวมทั้งได้ตีพิมพ์ผลงานสร้างสรรค์ในวารสาร Journal of Contemporary Social Sciences and Humanities, Volume 10, Number 1 (January - June), 2023 ( TCI1 )
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ควรจัดทำกำหนดการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร (ผศ. สุปรียา สุธรรมธารีกุล และ อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์) ให้เห็น Schedule ที่ติดตามผลได้
2.ควรมีแผนการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านในด้านการศึกษาต่อ และควรกระตุ้นให้ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ผลิตผลงานทุกคน เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1.เพิ่มแผนการศึกษาต่อของอาจารย์
2.เพิ่มกำหนดการยื่นขอตำแหน่งทางวิชากรของอาจารย์ประจำหลักสูตร (ผศ. สุปรียา สุธรรมธารีกุล และ อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์) ให้เห็น Schedule ที่ติดตามผลได้
3.เพิ่มกลไกและระบบติดตามสัมฤทธิ์ผลของภาระงานที่จัดสรรให้แก่อาจารย์แต่ละคน

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คุณวุฒิตรงทุกคน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ทำแผนศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในสาขาที่เป็นคุณวุฒิตรง
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้จัดทำแผนยกระดับให้อาจารย์ทุกคนมี timeline ที่ชัดเจนในการขอตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 1 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 5
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 116.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สามารถนำเสนอผลงานทางวิชาสู้สาธาณะผ่านวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลการอ้างอิงดัชนีวารสารไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 1 คน และที่ประชุมวิชาการนานาชาติ  จำนวน 5 คน ครบทุกคน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรรายงานมาว่า "ปีการศึกษา 2566 มีการเปลี่ยนรายชื่อผู้รับผิดชอบหลักสูตร  1 คนเนื่องด้วยอาจารย์เสกสฤษฎ์ ธนประสิทธิกุล  ขอลาออก จึงเปลี่ยนเป็น ดร.ชไมพร มิตินันท์วงศ์ ซึ่งมีส่วนในการบริหารหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 9 เดือน ดังนั้น อัตราคงอยู่จึงเท่ากับ 100"

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.88
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.91
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.67
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ทุกคนผลิตผลงานวิชาจนสามารถเผยแพร่สู่สาธาระ แสดงถึงความรับผิดชอบ การจัดสรรเวลา และการทุมเท
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มความเพียรยกระดับผลงานทางวิชาการเข้าสู่การตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม มีผลการดำเนินงานเชิงผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมาย เทียบกับ KPI

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

41
9
21.95
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ได้ 3 คะแนน
1.ควรรายงานผลการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย เช่น ความต้องการของนักศึกษา การมีส่วนร่วมของสถานประกอบการ ในการปรับเนื้อหารายวิชา ตลอดจนการประเมินสัมฤทธิผลการเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการออกแบบหลักสูตรหรือปรับปรุงเนื้อหารายวิชา เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงแนวทางการออกแบบเนื้อหารายวิชาในรอบถัดไป
2.รายวิชาที่มีการปรับปรุงเนื้อหาให้ค่าร้อยละต้องเป็นไปตามเป้าหมาย KR ของแผนยุทธ์ศาสตร์มหาวิทยาลัย


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรร่วมมือกับผู้ประกอบการให้หลากหลายพื้นที่มากขึ้น
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
รายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนครอบคลุมครบ 3 ด้าน (Learner Person, Co-Creator, Active Citizen)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรออกแบบกลไกที่ผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ จะใช้พัฒนาผู้เรียนให้ครบทั้ง Learner Person, Co-Creator, Active Citizen ให้ชัดเจนและทำได้จริง
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการเชิญกลุ่มผู้ใช้บัณฑิต (ศิษย์เก่า ผู้ประกอบการธุรกิจแฟชั่น ผู้เชี่ยวชาญและนักออกแบบแฟชั่นที่มีชื่อเสียง) ร่วมวิพาษย์หลักสูตร และการพัฒนาการเรีนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เน้นสหกิจศึกษาแบบเข้มข้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีการวางตัวผู้สอนชัดเจนตามหมวดหมู่รายวิชาผู้สอนที่เชี่ยวชาญ
2.เปิดโอกาสให้อาจารย์ในสาขาได้พัฒนารายวิชาเลือกให้มีคุณภาพ ทั้งนี้ยังเชิญอาจารย์พิเศษที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ มุมอง และวิสัยทัศน์เกี่ยวกับรายวิชานั้น ๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ควรนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ให้มากขึ้น
2.ควรแสดงการกำหนดผู้สอนให้ครอบคลุมทุกรายวิชา เพื่อใช้ประเมินการจัดผู้สอนต่อไป และวัดผลจากความพึงพอใจ นศ. ว่าอาจารย์ได้ผลดีมั้ย แล้วนำผลมาปรับปรุง ซึ่งผลประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตร มีแนวโน้มไม่ดีเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการจัดตารางการใช้ห้องเรียนนอกเวลาราชการ หลัง 17.00 น. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใช้ห้องเรียน ได้อย่างทั่วถึง ในกรณีที่นักศึกษาต้องทำงานเร่งด่วน หรือต้องการใช้ห้องปฎิบัติการพร้อมกันหลายชั้นปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ควรมีการประเมินผลลัพธ์จากการใช้ชั้นเรียนนอกเวลาทำการของนักศึกษา เนื่องจากผลลัพธ์มีนัยสำคัญถึงความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผู้เรียน รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของหลักสูตร
2.ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหลังจากทำเล่มขึ้นระบบ ผู้รับผิดชอบ ต้องรายงานผลการตรวจสอบด้วย ต้องตรวจว่า มคอ.3นั้น ได้ถ่ายทอดความรับผิดชอบของ Learning outcome และ mapping กับ มคอ.2 มาครบหรือไม่ และนำสู่การจัดการเรียนการสอนได้ครบหรือไม่
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีความร่วมมือกับผู้ประกอบการในการกำหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ นำาทักษะการออกแบบไปใช้ได้จริงและทำางานออกแบบร่วมกับผู้ประกอบการ รวมทั้งกำหนดให้มีโครงงานออกแบบที่สร้างความร่วมมือกับชุมชนในแต่ละท้องถิ่น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จัดทำระบบติดตามผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม มีผลการดำเนินงานเชิงผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมาย เทียบกับ KPI
2.มีการนำผลประเมินจากคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการและผลประเมินคุรภาพจาก นักศึกษาปี 2566 มาปรับปรุงพัฒนาการสอน

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรกำหนดกรอบแนวคิดในการจัดทำโครงงานของนักศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่จะก่อผลลัพธ์แก่ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen)
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการจัดตั้งคณะกรรมการฯ ทวนสอบบนผลสัมฤทธิ์รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดดำเนินการเรียนการสอนทั้งหมด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลจากการทวนสอบควรนำมาเป็นบรรทัดฐานในการปรับปรุงการเรียนการสอนของรายวิชาต่อไป
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีรายวิชาหลากหลายครอบคลุมทักษะวิชาชีพที่สำคัญต่อการทำธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการทางแฟชั่นได้ทั้งในและต่างประเทศ ตัวอย่างเช่น รายวิชา COD107 การจัดการธุรกิจการออกแบบ, รายวิชา COD109 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบ, รายวิชา FAS 481 การจัดรูปแบบแฟชั่น, รายวิชา FAS 234 การสร้างแพทเทิรน์เสื้อผ้า, รายวิชา COD 104 English for Design
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมี workshop ในรายวิชาเหล่านี้ รายวิชา COD107 การจัดการธุรกิจการออกแบบ, รายวิชา COD109 คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบ, รายวิชา FAS 481 การจัดรูปแบบแฟชั่น, รายวิชา FAS 234 การสร้างแพทเทิรน์เสื้อผ้า, รายวิชา COD 104 English for Design

ในปีการศึกษาถัดไป หลักสูตรควรนำส่งรายงาน RQF.7 และ Upload รายการหลักฐาน ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแนวปฏิบัติสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สามัคคีชุมนุมร่วมมือร่วมใจขับเคลื่อนหลักสูตรดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีส่วนร่วมครบ 100% ทุกครั้ง จะดีไม่น้อย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ RQF.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อัปเดตแนวโน้มแฟชันโลกเข้าสู่กระบวนการเรีนการสอน ด้วยการเปิดรายวิชา Special Topics in ..............
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีรายวิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (COD 391 การฝึกงานวิชาชีพ) คิดเป็นร้อยละ 80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรพัฒนาระบบอัตโนมัต้เพื่อการบริหารจัดการการฝึกงานวิชาชีพของผู้เรียน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในปีการศึกษาถัดไป หลักสูตรควรนำส่งรายงาน RQF.7 และ Upload รายการหลักฐาน ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแนวปฏิบัติสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 จำนวน 12 วิชา คิดเป็นร้อยละ 25
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด มากกว่าร้อยละ 80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ทำแบบสำรวจความต้องการทั้งของผู้เรียนและผู้สอนเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการวางแผนการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
สร้างแบบประเมินความพีงพอใจ เพื่อสำรวจความพึงพอใจที่แท้จริง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คุณวุฒิตรง มีความเชี่ยวชาญมีประสบการณ์สูง และมีผลงานโดดเด่น
  2. มีผลงานวิชาการเผยแพร่สู่สาธารณะบนแพลตฟอร์มที่น่าเชื่อถือทั้งบนเวทีระดับชาติและระดับระหว่างประเทศ
  3. หลักสูตรปรับประยุกต์เข้ากับยุคสมัยของการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยี และในรายวิชาประสานความร่วมมือกับชุมชนในเรียนการสอนเพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามยุทธศาสตร์ชาติ
  4. หลักสูตร มีกิจกรรมและโครงการพัฒนานักศึกษาจำนวนมากทั้งในและต่างประเทศ โดยกิจกรรมเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาและเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมด้วย

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. เพิ่มคุณวุฒิอาจารย์ผู้รับผิดชอบและอาจารย์ประจำหลักสูตร
  2. ควรเพิ่มแผนในการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการให้ชัดเจน รวมทั้งกำกับติดตามผล และจัดทำแผนเร่งรัดให้อาจารย์ขอผลงานวิชาการเพิ่มจาก 1 คนที่มีอยู่เดิม ให้ได้อย่างน้อยอีก 1 คน
  3. อาจารย์ต้องยกระดับผลงานวิชาการให้สามารถตีพิมพ์ในรูปแบบตำราทางวิชาการให้ได้อย่างน้อย 1 เรื่อง ในปีการศึกษา 2567-2568

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.54
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.06
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.50

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.30 4.30 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 2.67 - - 2.67 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.63 - - 3.63 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.13 3.75 4.30 3.50 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก