รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ

วันที่ประเมิน: 31 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 6 4.80
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 4
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.80
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จากการเปรียบเทียบแบบประเมิน บัณฑิตปีการศึกษา 2564 ความพึงพอใจของผู้ว่าจ้างให้คะแนนสูงขึ้นกว่า คะแนนของบัณฑิตปีการศึกษา 2563 ทุกข้อ ยกเว้น ข้อ 2. ทักษะทางปัญญา ลดลงเล็กน้อย แต่คะแนนรวมมากว่า จาก 4.70 คะแนน เพิ่มขึ้น 4.80 คะแนน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 6 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 5
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 3
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.90 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          1. หลักสูตรสามารถเพิ่มยอดนักศึกษา เป็น 78 คนจากที่ตั้งเป้าไว้ในมคอ 2 ที่ 30 คน
          2. หลักสูตรช่วยเพิ่มยอดนักศึกษา ระดับปริญญาโท โดยนำเสนอหลักสูตร 4 ปี DESIGN 3+1 PATHWAY
          3. หลักสูตรสาขาวิชาการออกแบบ ได้ปรับเป็นหลักสูตรนานาชาติ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2565
          4. ผลสรุปการประเมินความพึงพอใจ โครงการพัฒนาสมรรถนะสากลเครือข่ายนานาชาติ ได้คะแนน 4.47
          5. ผลสรุปการประเมินความพึงพอใจ โครงการเตรียมความพร้อมผู้นำค่ายอาสา ได้คะแนน 4.33
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
          1. ทางหลักสูตรสาขาการออกแบบได้ปรับหลักสูตรเพื่อรับนักศึกษามากขึ้น โดยเสนอขายหลักสูตร ตรี +โท เรียน 4 ปี เช่น นักศึกษานานาชาติ ต่อ MFA ซึ่งมีนักศึกษาสมัครเข้ามาเรียนในปีการศึกษา 2565 จำนวน 34 คน
          2. แต่นักศึกษาจีนเหมาจ่ายไม่มีนักศึกษาใหม่มาสมัครในปีการศึกษา 2565 แต่มีนักศึกษานานาชาติเพิ่มมากขึ้นจาก 20 คนในปีการศึกษา 2564 มาเป็น 34 คนในปีการศึกษา 2565

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การรับนักศึกษา มีการปรับจากการรับนักศึกษาไทยที่มีจำนวนน้อย ไปสู่การรับนักศึกษาต่างชาติ ที่เป็นการแก้ไขปัญหายอดเด็ก ซึ่งมีแนวทางแก้ปัญหาที่ดี ขณะนี้เห็นการวางระบบ และมีการนำไปปฏิบัติแล้ว แต่ยังไม่เห็นผลการประเมิน ปรับปรุงพัฒนากระบวนการ ไปจนถึงผลของการปรับปรุง (อาจจะนำเสนอได้ในการปรับปรุงในปีต่อๆไป)
 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีโครงการเตรียมความพร้อม ประกอบด้วยโครงการพัฒนาสมรรถนะสากล เครื่อข่ายนานาชาติ และโครงการเตรียมความพร้อมผู้นำค่ายศิลปะอาสามีส่วนทำให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษารหัส 65 มีค่าร้อยละ 84.6 ดีกว่าอัตราการคงอยู่ของนักศึกษารหัส 64 ที่ร้อยละ 73.07 อย่างไรก็ตามหลักสูตรควรรายงานผลการประเมินโครงการโดยสรุปความเห็นของนักศึกษาและอาจารย์ถึงแนวทางในการปรับปรุงกิจกรรมการเตรียมความพร้อมเพื่อเพิ่มอัตราการคงอยู่ให้สูงขึ้นในปีการศึกษาถัดไป

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อาจมีการนำเสนอโครงการของสาขาเอง และ เห็นผลเป็นรูปธรรม สร้างเสริมความพร้อมของนักศึกษาไทยร่วมไปกับนักศึกษาต่างชาติ
- นอกจากนำเสนอเสริมสร้างการเตรียมความพร้อมด้านการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิลยาลัยแล้ว ควรนำเสนอการเตรียมความพร้อมในด้านพื้นฐานของวิชาการและวิชาชีพด้วย

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรไม่ได้รายงานผลประเมินอาจารย์ที่ปรึกษา และไม่พบเอกสารหลักฐานการประเมินฯ
- หลักสูตรไม่ได้รายงานระบบกลไก ในการควบคุมดูแลให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา

- ยังไม่เห็นการนำผลประเมินไปปรับปรุงพัฒนา จนเห็นผลเป็นรูปธรรมในปีการศึกษาถัดมา ครบกระบวนการ โปรดเปรียบเทียบแต่ละปีการศึกษา ให้เห็นผล การประเมิน การปรับปรุง การนำไปพัฒนา และนำเสนอ

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีโครงการความร่วมมือพัฒนานักศึกษาสาขาการออกแบบสู่สากล ประจำปีการศึกษา 2565และโครงการโครงการ Phra Nakhon Cultural Trip ประจำปีการศึกษา 2565 แต่ไม่มีการรายงานผลประเมินถึงค่าร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดทักษะต่างๆ ตามที่ Mapping เอาไว้เพื่อนำผลประเมินฯไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินการกิจกรรมโครงการในปีการศึกษาถัดไป
- ยังไม่เห็นการนำผลประเมินไปปรับปรุงพัฒนา จนเห็นผลเป็นรูปธรรมในปีการศึกษาถัดมา ครบกระบวนการ โปรดเปรียบเทียบแต่ละปีการศึกษา ให้เห็นผล การประเมิน การปรับปรุง การนำไปพัฒนา และนำเสนอ
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรเน้นการพัฒนาศักยภาพฯ ผ่านรายวิชา PRD 496 ศิลปนิพนธ์เป็นหลัก มีการแสดงชื่อหัวข้อศิลปนิพนธ์แต่ไม่ได้ Mapping กับยุทธศาสตร์ชาติ
- ยังไม่เห็นการนำผลประเมินไปปรับปรุงพัฒนา จนเห็นผลเป็นรูปธรรมในปีการศึกษาถัดมา ครบกระบวนการ โปรดเปรียบเทียบแต่ละปีการศึกษา ให้เห็นผล การประเมิน การปรับปรุง การนำไปพัฒนา และนำเสนอ เช่น การกำหนดให้มีรายวิชาที่ใช้ในการพัฒนาให้นักศึกษามีศักยภาพการวิจัย (Research Methodology) แล้ววัดค่าร้อยละนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดศักยภาพวิจัยว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ เพื่อนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงกระบวนการ
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2530 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2533)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 57.89
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 53.84
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 59.37
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 36.84
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 30.77
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 50.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-

 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 3.62
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.37
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.31
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการรับอาจารย์ประจำหลักสูตรใหม่เพิ่มขึ้น 1 ท่านในปีการศึกษา 2565 เนื่องจากมีนักศึกษานานาชาติเพิ่มมากขึ้น ทำให้สัดส่วนของอาจารย์ต่อนักศึกษายังคงอยู่ที่ 1:23

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดภาระงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรแต่ละท่านไว้ชัดเจน ทั้งภาระงานสอน ภาระงานด้านผลงานวิชาการ ภาระงานการดูแลนักศึกษา และภาระงานในการดำเนินการโครงการพัฒนาต่างๆของหลักสูตร
- หลักสูตรแก้ปัญหาการที่มีนักศึกษาชาวต่างชาติจำนวนมากในหลักสูตร ดังนี้
           1.หลักสูตรได้แก้ปัญหาในการพัฒนาภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนให้อาจารย์เร่งพัฒนาด้านภาษาอังกฤษเพิ่มเติมโดยเข้าร่วมโครงการพัฒนาด้านภาษาที่ฝ่ายวิชาการของวิทยาลัยการออกแบบจัดขึ้น
         2.การจัดจ้างล่ามแปลภาษาทุกรายวิชาที่มีนักศึกษาต่างชาติ โดยเฉพาะล่ามภาษาจีน เพิ่มเติมจากการสอนเป็นภาษาอังกฤษผลที่เห็นเป็นรูปธรรมคือ ไม่มีนศต่างชาติ ร้องเรียนเรื่องไม่เข้าใจในการเรียนการสอน และผลประเมินการสอนในรายวิชา DSG 121 การออกแบบที่มนุษย์เป็นกลางสำหรับนักศึกษาต่างชาติ ได้ผลประเมิน4.68 ในระดับดีมาก โดยได้แก้ปัญหาจากความไม่เข้าใจ  เรื่องภาษาไปได้ระดับหนึ่ง

- มีการจัดกลุ่มอาจารย์ที่ดี ตามโครงส้รางหลักสูตร ทำให้ต่อไปในอนาคตน่าจะมีการบริหารจัดการกำลังอาจารย์ได้เหมาะสมตามโครงสร้างหลักสูตร เป็นแนวทางที่ดี ขอให้พัฒนาต่อไป อาจะมีการวางแผนการเชื่อมโยงบุคลากรจากภายนอก เช่น อาจารย์ผู้สอนจากสาขาอื่นๆ อาจารย์พิเศษ วิทยากร เข้ามาในโครงสร้างนี้ด้วย 


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่พบแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคล [IDP] ที่ครอบคลุมคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ (พบแผนเฉพาะด้านงานสร้างสรรค์และการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ และในปีการศึกษา 2565 มีแผนพัฒนาเป็นรายบุคคลไม่ครบทุกท่าน มีเพียงแค่ 2 ท่านเท่านั้น) และเอกสารหลักฐาน อผบ.4.1.02 การพัฒนาตนเองสาขาออกแบบ เมื่อเปิดไฟล์ใน DBS พบว่าเป็นเกณฑ์นการประเมินบุคลากร
- เห็นด้วยกับการพัฒนาด้านภาษาอังกฤษ เพราะเป็นแนวทางหลักที่สำคัญที่สุดของหลักสูตร เนื่องจากเปิดรับนักศึกษาต่างชาติเป็นหลัก ดังนั้นขอให้เสนอระบบกลไก การจัดการ กระบวนการ หรือการพัฒนา อาจารย์ในด้านนี้ให้ชัดเจนละเอียดในปีต่อๆไป (กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอาจมีกิจกรรมที่เกียวกับพัฒนาด้านภาษาด้วย)
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในระบบ DBS ไม่พบ อผบ. 4.1.02 การพัฒนาตนเอง สาขาออกแบบ แต่ในระบบ DBS พบเป็น อผบ.4.1.02 เกณฑ์พิจารณาความดีความชอบ
 

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรวางแผนพัฒนาอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกให้เป็นรูปธรรม 
 
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ดำเนินการให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ พัฒนาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชา ค่ากำหนดแผนพัฒนาตนเอง ค่าเป้าหมาย และผลให้เป็นรูปธรรม โดยการเฝ้าติดตามและรายงานผลทุกภาคการศึกษาฯ
 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.22 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
100, 80, 100

 
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.23, 4.32, 4.35

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในระบบ DBS ไม่พบ อผบ.4.3.01แบบประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.74 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

38
6
15.79
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- พบการปรับปรุงกระบวนการของปีการศึกษา 2565 แต่ไม่พบในเรื่องของการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาที่เชื่อมโยงมาสู่การออกแบบปรับปรุงหลักสูตรหรือเนื้อหารายวิชาให้เป็นไปตามความต้องการของการวิเคราะห์ Stakeholder เพื่อจะได้นำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการต่อไป

 
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- พบการปรับปรุงรายวิชาให้มีเนื้อหาทันสมัย ร้อยละ 15 จากเป้าหมาย  แต่ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายของ KR [ร้อยละ 80] และไม่พบการรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในส่วนที่ได้มีการปรับปรุงรายวิชาที่มีเนื้อหาที่ทันสมัยทั้ง 6 รายวิชา เพื่อนำผลประเมินฯ ไปปรับปรุงกระบวนการในรอบถัดไป
 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้กำหนดรายวิชาที่ทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน ตามมคอ 2 และได้กำหนดรายวิชารายวิชาที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านมาครบถ้วน แต่มีข้อสังเกตุว่าเป็นข้อมูลที่กำหนดเอาไว้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2564 ทั้งนี้หลักสูตรมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตราฐานการเรียนรู้ก็ควรจะรายงานถึงการทบทวนความเหมาะสมของการ Mapping ดังกล่าวในปีการศึกษา 2565
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในระบบ DBS ไม่พบ
1. อผบ.5.1.01 มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6
2. อผบ. 5.1.04 ผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3. อผบ. 5.1.05 แบบประเมินผู้ใช้บัณฑิตประเมินบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ แต่ในระบบพบว่ารายการเอกสารหลักฐาน อผบ.5.1.05 เป็นสรุปแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย


 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
            1. การกำหนดผู้สอน หลักสูตรได้แบ่งเนื้อหารายวิชาเป็น 3 กลุ่มรายวิชา ทำให้การดำเนินงานการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะหลักสูตรสามารถควบคุมดูแลการสอนในแต่ละกลุ่มรายวิชา ได้มากขึ้น สามารถเชื่อมโยงบูรณาการรายวิชาเข้าด้วยกันได้สะดวกขึ้น รวมทั้งยังเห็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบในแต่ละหมวดวิชาอย่างชัดเจน
            2. ตามที่หลักสูตรมีการวางระบบและกลไกในการกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ โดยให้นักศึกษายื่นหัวข้อและลำดับการเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านกรรมการศิลปนิพนธ์ ปีที่ผ่านมา กรรมการได้จัดการประชุมเพื่อพิจารณาหัวข้อและความรู้ความสามารถที่เหมาะสมของอาจารย์ที่ปรึกษา ทำให้การดำเนินงานของศิลปนิพนธ์เป็นไปได้ด้วยดี 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลของการกำกับติดตามทำให้อาจารย์จัดทำ มคอ.3 สำเร็จตามกำหนดครบทุกรายวิชา และมีความถูกต้องเหมาะสมกับคำอธิบายรายวิชาและแผนที่การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา ในปีการศึกษา 2565 ได้เตรียมความพร้อมในเรื่องของการจัดการเรียนการสอน คณาจารย์ในสาขาวิชาและนอกสาขาวิชาได้มีการเตรียม มคอ.3 สำหรับการเรียนการสอน วางแผน การเรียนการสอน มีการเชื่อมโยงบูรณาการ กับโครงการต่างๆที่อยู่ในแผนงบประมาน และ สรุปการเรียนการสอนผ่าน มคอ.5 ได้ตรงตามเวลาที่กำหนด

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จากการรวมกลุ่มเรียนนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ นักศึกษาไทยมีการร้องเรียนว่าเรียนเรื่องการใช้ภาษาในการสอนที่เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด ทำให้นักศึกษาไทยไม่เข้าใจบทเรียนในวิชาต่างๆ ตามข้อร้องเรียน ทางสาขาได้มีการจัดการประชุมเร่งด่วนเรื่องที่นักศึกษาไทยร้องเรียน และได้สรุปว่า ในปีการศึกษา 2566 ทางสาขาจะจัดการเรียนการสอนแยกเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

 
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรรายงานการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ทางหลักสูตรได้ดำเนินกิจกรรมตามบันทึกข้อตกลง โดยได้จัดสัมมนาเชิงปฎิบัติการโครงการ ร่วมกับคณาจารย์จากต่างประเทศในรายวิชา COD111 วัสดุและกรรมวิธีการผลิต เพื่อเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ให้แก่นักศึกษาไทยและต่างประเทศ แต่ไม่มีการประเมินผลว่ามีผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาที่บูรณาการกับพันธกิจแต่ละด้าน นอกจากนี้หลักสูตรยังได้รายงานการนำนักศึกษาออกแบบบริการวิชาการด้านการออกแบบร่วมกับคณะบัญชี  สารสนเทศ  แพทย์แผนไทย  การท่องเที่ยว เป็นการนำนักศึกษาจากทุกคณะนำความรู้ความสามารถเฉพาะของแต่ละคณะพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับชุมชนจำนวน5 ชุมชน ดังต่อไปนี้
1.วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรและผลไม้แปรรูป
2.วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านสวยใสพัฒนา
3.วิสาหกิจชุมชนบ้านฟ้าเบเกอรี่
4.วิสาหกิจชุมชนแปรรูปสัตว์น้ำบ้านสำพะเนียง
5.วิสาหกิจชุมชนโคกหนองนาโมเดลตำบลม่วงงาม
แต่ไม่การรายงานผลการประเมินถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาที่เข้าร่วมในกิจกรรมทั้ง 5 โครงการวิสาหกิจ


 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1. ในระบบ DBS ไม่พบ อผบ.5.2.01 กิจกรรมพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และบุคคลากรสายสนับสนุน
2. ในระบบ DBS ไม่พบ อผบ.5.2.03 รายงานการประชุมสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ 65 ในระบบ DBS พบเป็น อผบ.5.2.03 ตารางสอน s/2565
3. ในระบบ DBS ไม่พบ อผบ.5.2.04 ตารางสอน 2/2565 ในระบบ DBS พบเป็น อผบ.5.2.04 การประเมินรายวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2565
*** ข้อ 3 กับข้อ 5 และข้อ 4 กับ 6 รหัสเอกสารซ้ำ ตรวจสอบข้อมูลให้ตรงกับระบบ DBS ***


 

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรไม่ได้รายงานการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบ TQF 5 และ DOE 3 ของรายวิชาต่างๆ ที่จัดการเรียนการสอน [ทั้งนี้หลักสูตรสามารถสรุปถึงการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ดังกล่าวจากรายงานมคอ 5 ทั้งหมด] เพื่อให้สามารถเปรียเทียบถึงสัมฤทธิผลการเรียนรู้ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตรว่าดีขึ้นกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมาอย่างไร หลักสูตรนำเสนอการทวนสอบ 6 รายวิชา แต่ไม่มีรายละเอียดว่าแต่ละวิชารับผิดชอบ PLO (จุดดำ) นั้นมีสัมฤทธิผลของนักศึกษาที่มีค่าร้อยละผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละความรู้ ทักษะ เป็นอย่างไร เปรียบเทียบกับปีการศึกษาที่ผ่านมาแล้วดีขึ้นหรือไม่ ต้องปรับปรุงเนื้อหากระบวนการจัดการเรียนการสอนต่อไปอย่างไร
 
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เห็นการปฏิบัติที่ชัดเจนดีมาก แต่อาจจะยังไม่ค่อยเห็นการประเมินปัญหา และการปรับปรุงพัฒนาจนเห็นผลเป็นรูปธรรมในปีการศึกษาถัดมา ครบกระบวนการ โปรดเปรียบเทียบการปรับปรุงในแต่ละปีการศึกษา ให้เห็นผล การประเมิน การปรับปรุง การนำไปพัฒนา และนำเสนอ
 
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ทุกรายวิชาในจำนวนร้อยละ 25 ของรายวิชาในหลักสูตรฯมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ โดยผ่านการรับรองจากคณะกรรมการทวนสอบฯ
จากข้อสังเกตของคณะกรรมการกำกับมาตรฐานหลักสูตร  มีความเห็นว่า ผลการดำเนินการเรียนการสอนโดยรวมนับว่าดี แต่มีข้อเสนอแนะในเรื่องของแผนการจัดการสำหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนอ่อน ในการหาวิธีช่วยให้นักศึกษากลุ่มดังกล่าว มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ยังมีข้อเสนอแนะในเรื่องการเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาที่มีคุณภาพดีผ่านทางสื่อช่องทางต่างๆ ทั้งนี้ทางสาขาฯและคณะฯเองยังได้ประโยชน์นอกเหนือจากการเผยแพร่องค์กรให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางต่อสาธารชน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เห็นการปฏิบัติที่ชัดเจนดีมาก แต่อาจจะยังไม่ค่อยเห็นการประเมินปัญหา และการปรับปรุงพัฒนาจนเห็นผลเป็นรูปธรรมในปีการศึกษาถัดมา ครบกระบวนการ โปรดสรุปผลจากการประเมินผ่านการทวนสอบผลสัมฤทธิ์และการประเมินโดยกรรมการกำกับมาตรฐานในปีการศึกษาก่อนเปรียบเทียบกับปีการศึกษาใหม่ ให้เห็นผล การประเมิน การปรับปรุง การนำไปพัฒนา 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในระบบ DBS ไม่พบ
1. อผบ. 5.3.02 แบบประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู
2. อผบ. 5.3.04 มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6

 

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ในระบบ DBS ไม่พบเอกสารหลักฐาน อผบ. 5.4.01 รายงานประชุม สาขาออกแบบปีการศึกษา 2565

 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
                     
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ย 4.80 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ในระบบ DBS ไม่พบ อผบ. 5.4.15 แบบประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

 
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีกระบวนการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้แล้วทำการประเมินความพึงพอใจของทั้งนักศึกษาและอาจารย์พบว่ามีแนวโน้มความพึงพอใจที่ดีจากปีการศึกษา 2563 - 2565 ดังนี้
ความพึงพอใจของนักศึกษา 4.10, 4.20, 4.27
ความพึงพอใจของอาจารย์ -, 4.21, 4.30


 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรออกแบบได้มีการประชุมร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อสอบถามถึงความต้องการ  รวมถึงการรับฟังความเห็นของนักศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการที่แท้จริง  และได้จัดหาครุภัณฑ์ที่ไม่เพียงพอ ที่มีความต้องการใช้งาน เข้ามาทดแทน ทั้งนี้หลักสูตรได้มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ผุ้สอน และได้ทำการเสนอแผนปรับปรุงในปีต่อๆไป

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯ มีการจัดหา จัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกให้เพียงพอกับการเรียนการสอน โดยในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรได้เปิดวิชา COD109 และ PRD323 โดยใช้แล๊ปคอมพิวเตอร์ตึกคุณหญิงพัฒนา ชั้น 6 เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
ทางหลักสูตร ได้เพิ่มช่องทางการเรียนการสอน โดยผ่าน โปรแกรม เช่น Google Meet , Zoom, Google Classroom เป็นสื่อในการเรียนการสอน เพื่อความสะดวกในยุคดิจิทัล
ทางหลักสูตรได้มีการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรม 3 มิติ Autodesk Fusion 360 ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง และเพียงพอกับการใช้งานของนักศึกษา นอกเหนือจากโปรแกรม 3 มิติแล้ว ทางสาขายังใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop และ Adobe Illustrartor ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง ได้รับการสนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งนี้นักศึกษาสามารถเข้าไปติดตั้งโปรแกรมดังกล่าวได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีกระบวนการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้แล้วทำการประเมินความพึงพอใจของทั้งนักศึกษาและอาจารย์พบว่ามีแนวโน้มความพึงพอใจที่ดีจากปีการศึกษา 2563 - 2565 ดังนี้
ความพึงพอใจของนักศึกษา 4.10, 4.20, 4.27
ความพึงพอใจของอาจารย์ -, 4.21, 4.30


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-ในระบบ DBS ไม่พบอผบ.6.1.01 แผนครุภัณฑ์ 3 ปี 

 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรสาขาการออกแบบได้ปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษา เพื่อรับนักศึกษามากขึ้น ผ่านหลักสูตร ตรี +โท เรียน 4 ปี เช่น นักศึกษานานาชาติ ต่อ MFA ซึ่งมีนักศึกษาสมัครเข้ามาเรียนในปีการศึกษา 2565 จำนวน 34 คน (แต่นักศึกษาจีนเหมาจ่ายไม่มีนักศึกษาใหม่มาสมัครในปีการศึกษา 2565) และมีนักศึกษานานาชาติเพิ่มมากขึ้นจาก 20 คนในปีการศึกษา 2564 มาเป็น 34 คนในปีการศึกษา 2565 ทำให้มีนักศึกษาใหม่รวมเป็น 78 คนมากกว่าเป้าหมายการรับที่ 30 คน
  2. หลักสูตรมีโครงการความร่วมมือพัฒนานักศึกษาสาขาการออกแบบสู่สากล ประจำปีการศึกษา 2565และโครงการโครงการ Phra Nakhon Cultural Trip ประจำปีการศึกษา 2565 แต่ไม่มีการรายงานผลประเมินถึงค่าร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดทักษะต่างๆ ตามที่ Mapping เอาไว้เพื่อนำผลประเมินฯไปใช้ในการปรับปรุงการดำเนินการกิจกรรมโครงการในปีการศึกษาถัดไป
  3. หลักสูตรมีกระบวนการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้แล้วทำการประเมินความพึงพอใจของทั้งนักศึกษาและอาจารย์พบว่ามีแนวโน้มความพึงพอใจที่ดีจากปีการศึกษา 2563 - 2565 ดังนี้ ความพึงพอใจของนักศึกษา 4.10, 4.20, 4.27 ความพึงพอใจของอาจารย์ -, 4.21, 4.30
  4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ มีผลงานวิชาการฯทั้งในระดับนานาชาติ และระดับชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรไม่ได้รายงานระบบกลไก ในการควบคุมดูแลให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา และไม่ได้รายงานผลประเมินอาจารย์ที่ปรึกษา ตลอดจนไม่พบเอกสารหลักฐานการประเมินฯ
  2. ไม่พบแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคล [IDP] และเอกสารหลักฐาน อผบ.4.1.02 การพัฒนาตนเองสาขาออกแบบ เมื่อเปิดไฟล์ใน DBS พบว่าเป็นเกณฑ์นการประเมินบุคลากร
  3. จากการรวมกลุ่มเรียนนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ นักศึกษาไทยมีการร้องเรียนว่าเรียนเรื่องการใช้ภาษาในการสอนที่เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด ทำให้นักศึกษาไทยไม่เข้าใจบทเรียนในวิชาต่างๆ ตามข้อร้องเรียน ทางสาขาได้มีการจัดการประชุมเร่งด่วนเรื่องที่นักศึกษาไทยร้องเรียน และได้สรุปว่า ในปีการศึกษา 2566 ทางสาขาจะจัดการเรียนการสอนแยกเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.80
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.22
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.46

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.90 4.90 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 2.74 - - 2.74 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 2.89 3.75 4.90 3.46 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก