รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ

วันที่ประเมิน: 5 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
นายปฏิพัทธิ์  ชัยวิเทศ สภาอนุมัติในปี 2566 
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 7 4.10
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 2
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.10
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ผลประเมินบัณฑิตมีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพเฉลี่ย  3.50
-ผลประเมินบัณฑิตมีความสามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ
             สื่อสารทางศิลปะและการออกแบบ นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเฉลี่ย 3.50
หลักสูตรสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 7 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 5
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 1
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.55 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จากตารางรับนักศึกษา ปีการศึกษา 2563-2566 แสดงจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นทุกปี ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 ถึง 2566 เนื่องจากหลักสูตรสาขาวิชาการออกแบบ ได้ปรับหลักสูตรเป็น หลักสูตรสอนเป็นภาษาอังกฤษ (หลักสูตรอินเตอร์) เปิดรับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรควรรายงานผลประเมินกระบวนการรับนักศึกษาเทียบกับเป้าหมายตัวชี้วัดทั้งเชิงปริมาณ(เทียบเป้าหมายกับ RQF2 และเชิงคุณภาพ(ร้อยละ นักศึกษาใหม่ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามที่หลักสูตรกำหนด)
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรควรรายงานการประเมินกระบวนการเตรียมความพร้อมในทุกด้านนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ
-หลักสูตรควรรยงานผลลัพธ์ของทุกกิจกรรมการเตรียมความพร้อมว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ เช่น ร้อยละของนักศึกษาใหม่ที่มีความพร้อมในด้านต่าง ๆ เมื่อผ่านกิจกรรมเตรียมความพร้อมต่าง ๆ เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการประเมิน อ.ที่ปรึกษาทุกภาคการศึกษา มีค่าความพึงพอใจโดยเฉลี่ยที่ 4.06

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จากหลักฐานการประเมิน dbs ไม่มีรายละเอียดผลการประเมินแยกหัวข้อการประเมินของอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นการสรุปคะแนนเหมือนใน RQF.7 ทำให้มองไม่เห็นจุดแข็งจุดอ่อนจากการประเมินที่จะนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการในรายข้อย่อยของระบบอาจารย์ที่ปรึกษา

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรสาขาวิชาการออกแบบ ได้มีโครงการต่างๆประจำปี เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  มีโครงการดังนี้
1.โครงการกิจกรรมสานสัมพันธ์เครือข่ายและทัศนศึกษาวิถีทางน้ำ นักศึกษานานาชาติ
ประจำปีการศึกษา 2566 
        โครงการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เช่น Life Literacy,  Career Skills,  Health Literacy เป็นการเพิ่มทักษะนอกห้องเรียน และเรียนรู้ต่างวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาต่างชาติ   
        ผลสรุปความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ 4.50 คะแนน โดยมีผู้เข้าร่วม 92 คน

2.โครงการสานสัมพันธ์ นักศึกษานานาชาติ สาขาวิชาการออกแบบ
         Design International Relationship Activity 2024
โครงการเชื่อมสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมและการปรับตัว การรู้จักกันระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง และเพื่อนนักศึกษานานาชาติภายในสาขาวิชาการออกแบบ เพื่อเป็นการส่งเสริม ให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ในการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย Media Literacy, Health Literacy, Life Literacy, 
       ผลสรุปความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ ได้ระดับ Excellent Good

3.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสริมหลักสูตรการเรียนรู้เชิงวัฒนธรรม : สเตนกลาส 
 โครงการเพื่อนักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับความเป็นมา กระบวนการและศิลปะวัฒนธรรมการทำกระจกสี แนวคิด การใช้ภูมิปัญญาเชิงวัฒนธรรม มาประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ  เรียนรู้จากประสบการณ์จริงและนำความรู้ที่ได้ต่อยอดสู่งานออกแบบ
ผลสรุปความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ 4.98 คะแนน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานผลลัพธ์ของการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่นอกเหนือจากคะแนนความพีงพอใจ โดยการรายงานค่าร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมเทียบกับนักศึกษากลุ่มเป้าหมายทั้งหมด(เชิงปริมาณ) และรายงานค่าร้อยละนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดทักษะต่าง ๆ เทียบกับตัวชี้วัดตามค่าเป้าหมาย(เชิงคุณภาพ) และรายงานการนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการออกแบบกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 23 โครงการ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในการปรับปรุงกระบวนการจะให้ความสำคัญศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หลักสูตรควรรายงานรายวิชาทั้งหมดที่มีส่วนในการส่งเสริมทักษะการวิจัยฯ และผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพดังกล่าวเทียบกับค่าเป้าหมาย เพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2530 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2533)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 56.25
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 73.80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แนวโน้มยังมีโอกาสแกว่ง สังเกตจากอัตราการคงอยู่ของปีการศึกษา2564 อยุ่ที่ร้อยละ 72 และ อัตราการคงอยู่ของปีการศึกษา2564 อยู่ที่ร้อยละ 68
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 28.57
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 50.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 47.61
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.37
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.38
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 3.84
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลประเมินด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อยู่ที่ 3.61 (ปีการศึกษา 2565 อยู่ที่ 4.50) ควรนำผลประเมินดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบการพิจารณาปรับปรุงกระบวนการตาม ตบช.3.2
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการวางแผนและลำดับขั้นในการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้ตามระยะเวลาที่สป.อว.กำหนด พร้อมทั้งเตรียมแผนให้อาจารย์ที่รับมาใหม่ มีผลงานวิชาการเพื่อให้สามารถมีคุณสมบัติในการเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรการออกแบบ มีการวางกลไกและวางแผนระยะยาวด้านอัตรากำลังอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มีการรับอาจารย์ใหม่ที่มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญ รวมทั้งมีการพัฒนาอาจารย์ที่มีอยู่เดิมอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีวุฒิการศึกษา มีแผนการขอตำแหน่งทางวิชาการที่เพิ่มขึ้น
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีหลักฐานการพัฒนาอาจารย์ครบทุกคน แต่ไม่มีการสรุปใน rqf.7 ถึงผลลัพธ์การพัฒนารายบุคคลเทียบกับเป้าหมายในการพัฒนา
2.หลักสูตรมีระบบและกลไกในการพัฒนาอาจารย์ทั้งด้านกาพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาการที่สามารถต่อยอดนำไปสุ่การขอตำแหน่งทางวิชาการรวมถึงกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านวิชาชีพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถต่อวิชาชีพ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรควรรายงานผลการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ตามหลักฐาน idp ในระบบ idp ของ hrd 
-หลักสูตรควร mapping กิจกรรมการพัฒนาอาจารย์ และกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ
-ผลลัพธ์จากการการบริหารและพัฒนาอาจารย์ที่สำเร็จชัดเจนเป็นรูปธรรมควร impact ให้ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 และ 4.3 ระดับคุณภาพที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมตามกัน

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรมีแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดอบหลักสูตรศึกษาปริญญาเอก หรือ การรับสมัครอาจารย์ใหม่พิจารณาคุณวุฒิปริญญาเอก
 
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 40.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 1
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
  ปีการศึกษา 2566  อาจารย์โลจนา  มะโนทัย  ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานสร้างสรรในระดับภูมิภาคอาเซียน 1 ผลงาน ดังนี้
          Manodhaya,L. (2023).  “Bionic Cat”   The 12th Rangsit University International Design Symposium “The devil is in the details” 29 April 2024. Pattana Gallery, Rangsit University, Pathum Thanee,  Thailand.

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีผลลัพธ์ 5 คะแนน แต่ตั้งข้อสังเกตุว่า อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีผลงานสร้างสรรค์ระดับนานาชาติน้อยมาก เมื่อเทียบกับทุกหลักสูตรอื่นใน ว.ออกแบบ
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.78 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 60.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.32
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.35
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

17
5
29.41
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรไปรายงานการปรับปรุงหลักสูตรที่จะใช้ในปีการศึกษา 2568
-หลักสูตรควรายงานการปรับปรุงกระบวนการที่เกิดขึ้นในปีการศึกษา 2566
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร โดย mapping กลุ้มรายวิชา กับ DOE3 ไว้อย่างชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรนำผลประเมิน learning outcome doe3 ที่เกิดขึ้นมารายงาน เพื่อปรับปรุงกระบวนการ mapping รายวิชากับ doe3
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรให้ความสำคัญและปรับให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยี แนวโน้มของโลกต้องพึงพาเทคโนโลยี ICT (Information Communication Technology) ให้ทันความต้องการของโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากการศึกษาความต้องการของนักศึกษาแต่ละรุ่น (Gennaration) และได้ให้ความสำคัญเรื่องภาษาที่จะใช้สื่อสาร ในปีการศึกษา 2566 ได้ปรับปรุงรายวิชาใหม่ 6 วิชา คือ
COD102 สีและแสงในงานออกแบบ
มีการสอนร่วมกับวิชา COD103 การออกแบบเบื้องต้น
COD110 แบรนด์และการเล่าเรื่อง
ได้มีการปรับตัวอย่างในการสอนที่ทันสมัย โดยมีการเปรียบเทียบตัวอย่างที่ทันสมัย รวมถึงการฝึกให้นักศึกษาได้ออกแบบสร้างแบรนด์ของตนเอง
COD108 การออกแบบวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
ปรับตัวอย่างในการเรียนการสอนที่ทันสมัย รวมถึงมีทัศนศึกษา Bangkok Design week 2024 รวมถึงให้นักศึกษาออกแบบโดยคำนึงถึงบริบทางวัฒนธรรม
DSG221 การออกแบบเชิงประสบการณ์  
ปรับตัวอย่างในการเรียนการสอนที่ทันสมัย รวมถึงมีทัศนศึกษา เพื่อสร้างและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
DSG241กระบวนทัศน์ในงานสร้างสรรค์ ปรับตัวอย่างในการเรียนการสอนที่ทันสมัย รวมถึงมีการทัศษนศึกษา ตลาดดอกไม้ เพื่อคนหาแรงบันดาลใจ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีค่าร้อยละจำนวนวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ ที่ 29.41 (เป้าหมายร้อยละ 80) จึงควรพิจารารณาการปรับปรุงรายวิชาให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริงเพิ่มได้มากขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกในการวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.หลักสูตรควรรายงานผลการกำหนดผู้สอนให้ชัดเจนเชื่อมโยงกับความเชี่ยวชาญ โดยอาจรายงานในรูปแบบตารางที่มีคอลัมน์รายวิชา คอลัมน์ชื่อผู้สอน และคอลัมน์ความเชี่ยวชาญที่มีรายละเอียดคุณวุฒิ ประสบการณ์สอนและการบริการวิชาการ ผลงานวิชาการ วิจัย และงานสร้างสรร เป็นต้น ซึ่งสามารถนำไปสู่การพิจารณาปรับปรุงรายชื่อผู้สอนในแต่ละรอบปีการศึกษา

2.เสนอให้พิจารณา ทบทวนภาระงานสอนอาจารย์ผู้สอน ที่มีภาระงาน 47.10 หน่วกิต ต่อปี 
 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรได้มีการประชุมพิจารณา เพื่อกำกับ ติดตาม และตรวจสอบ จากการจัดการเรียนการสอน ของปีการศึกษาเดิม 2566 ในช่วงปลายภาคการศึกษา โดยรวบรวมข้อควรปรับปรุงจากอาจารย์ผู้สอน และข้อคิดเห็นจากการประเมินของนักศึกษาในปีการศึกษา 2565 เพื่อนำมาใช้ในการทบทวนและวางแผนสำหรับการจัดการเรียนการสอนมาปรับใช้ในปีการศึกษาใหม่ 2566
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานสรุปข้อเสนอแนะปรับปรุงการจัดทำแผนการเรียนรู้ (rqf.3 และ rqf.4) และการจัดการเรียนการสอน อันสรุปมาจากรายงานผลการจัดการเรียนการสอน rqf.5 ของรอบปีการศึกษา 2565 ที่นำมาปรับ rqf.3 ของรายวิชาใด อย่างไร ในรอบปีการศึกษา 2566 ซึ่งจะทำให้สัมฤทธิผลการเรียนรู้ของรายวิชาดังกล่าวดีขึ้น
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ผ่านรายวิชาต่าง ๆ ตามที่รายงานไว้อย่างชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
นอกเหนือจากการายงานรายวิชาที่ทำการ mapping กับพันธกิจต่าง ๆ แล้ว หลักสูตรควรรายงานค่าร้อยละสัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์ของการ mapping รายวิชา เพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงกระบวนการต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หลักสูตรใช้หลักฐาน อผบ.5.3.02 การประเมินรายวิชาที่เปิดสอน เทอม 1 - 2 ปีการศึกษา 2566 ซึ่งเป็นการประเมินการจัดการเรียนการสอนโดยนักศึกษา หลักสูตรควรรายงานการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชาจาก RQF.5
-หลักสูตรควรแสดงเอกสารหลักฐาน rqf.3 และ rqf.5 ใน dbs
-หลักสูตรควรสรุปการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชาตามแบบฟอร์ม rqf.5 ถึงร้อยละนักศึกษาที่มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรมตามข้อย่อยที่ได้ mapping เอาไว้ เพื่อเปรียบเทียบปีต่อปี และนำผลประเมินไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และเตรียมความพร้อมรับการ pre audit   post audit ในอนาคต
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรฯ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา ร้อยละ 25   จำนวน 6 รายวิชา
แต่ไม่มีรายงานความเหมาะสมและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงเครื่องมือในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทำ RQF5 และ RQF6 ในทุกรายวิชา รวมถึงทุกหลักสูตรจะต้องจัดทำ RQF7 ให้แล้วเสร็จภายใน 2 สัปดาห์หลังสิ้นสุดปีการศึกษา โดยทางสำนักงานมาตรฐานวิชาการจะตรวจสอบติดตามการ upload ข้อมูลเข้าระบบฐานข้อมูลเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานที่กำหนด และตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยรังสิต

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรสรุปผลการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร  เพื่อให้ได้ข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนเพื่อคาดหวัง clo ylo และ plo ในอนาคต

หลักสูตรควรนำส่งรายงาน RQF.7 และ Upload รายการหลักฐาน ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแนวปฏิบัติสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
         
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
                    
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรนำส่งรายงาน RQF.7 และ Upload รายการหลักฐาน ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแนวปฏิบัติสำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 17 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 และ RQF.4 (ถ้ามี) จำนวน.5  วิชา คิดเป็นร้อยละ 25
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรออกแบบ มีการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ จำนวน 1 คน คืออาจารย์ ปฏิพัทธิ์ ชัยวิเทศโดยได้รับการปฐมนิเทศและคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคน ได้มีการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ทางวิชาการ/ วิชาชีพ ดังต่อไปนี้
  1. กิจกรรม Challeng Project by DIProm ผศ. ศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ
  2. แนวทางปฏิบัติการตรวจประกันคุณภาพ ผศ. ศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ
  3. แนวทางปฏิบัติการตรวจประกันคุณภาพ ผศ. ศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ เขต ศิริภักดี
  4. Digital Transformation ผศ. ศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ
  5. นโยบายการขับเคลื่อนและการส่งเสริมวิชาการวิจัย และพัฒนาบุคคลากรด้านสังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ครั้งสำคัญของประเทศ ผศ. ศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรออกแบบ มีบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน จำนวน 2 คน โดยได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/ วิชาชีพ จำนวน 5 ครั้งในปีการศึกษา 2566 คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรออกแบบ จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.28
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรออกแบบ จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.10
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรออกแบบมีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 17 รายวิชา โดยมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน จำนวน 17 รายวิชา ซึ่งรวมทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ย 4.12
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคะแนนเฉลี่ย 4.40
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 15 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 15
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรออกแบบได้มีการประชุมร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อสอบถามถึงความต้องการ  รวมถึงการรับฟังความเห็นของนักศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการที่แท้จริง  และได้จัดหาครุภัณฑ์ที่ไม่เพียงพอ ที่มีความต้องการใช้งาน เข้ามาทดแทน ทั้งนี้หลักสูตรมีโครงการสำหรับจัดซื้อครุภัณฑ์ทุกปี ได้มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ผุ้สอนต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น และเป็นปีแรกที่เริ่มมีการหาแหล่งทุนจากภายนอกมาสนับสุนเครื่องมือและอุปกรณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรสาขาออกแบบมีระบบการดำเนินงานของการจัดสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในระดับหลักสูตร โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เหมาะสม
-ปีการศึกษา 2566 ทางสาขาได้รับงบประมาณเพื่อปรับปรุงครุภัณฑ์ที่เก่าและซ่อมแซมไม่ได้ รวมถึงได้จัดหาเครื่องมือที่มีความทันสมัย มีความปลอดภัย มากขึ้นเพื่อรองรับนักศึกษาต่างชาติที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยอาจารย์ที่ดูแลในส่วนต่างๆได้มีการสอบถามความต้องการของอาจารย์ผู้สอน รวมถึงแนวโน้มการใช้งานของครุภัณฑ์ในโรงปฏิบัติงานส่วนต่างๆ โดยทางสาขาได้เพิ่มสัดส่วนของครุภัณฑ์ที่ต้องใช้เทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อตอบสนองความต้องการในอนาคต รวมทั้งการจัดซื้อเครื่องมือทดแทนมาเพิ่มเติม เช่น แป้นหมุนสำหรับการเรียนเซรามิก, เครื่องแว็คคั่ม ,แท่นเลื่อยฉลุ,เครื่องกลึงไม้,เครื่องขัดกระดาษทราย เป็นต้น 
-ปี2566 สาขาออกแบบมีโครงการ
จัดซื้อครุภัณฑ์สำหรับในโรงปฏิบัติงานเพื่อนวัตกรรมทางการสอนจัดซื้อเครื่องมือเพิ่มได้แก่เครื่องมือวัดอุณหภูมิและไมโครเวฟสำหรับอบแก้ว  เพื่อต่อยอดสำหรับนักศึกษาที่สนใจด้านจิวเวลรี่  
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเพิ่มงบประมาณเพื่อ พัฒนาเครื่องมือ อุปกรณ์ และปรับปรุงสภาพแวดล้อมโรงฝึกปฏิบัติการ
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรฯ มีการจัดหา จัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกให้เพียงพอกับการเรียนการสอน โดยในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรได้เปิดวิชา COD109 และ PRD323โดยใช้แลปคอมพิวเตอร์ตึกคุณหญิงพัฒนา ชั้น 6 เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
- หลักสูตร ได้เพิ่มช่องทางการเรียนการสอน โดยผ่าน โปรแกรม เช่น Google Meet , Zoom,        Google Classroom เป็นสื่อในการเรียนการสอน เพื่อความสะดวกในยุคดิจิทัล
 -หลักสูตรได้มีการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรม 3 มิติ Autodesk Fusion 360 ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง และเพียงพอกับการใช้งานของนักศึกษา นอกเหนือจากโปรแกรม 3 มิติแล้ว ทางสาขายังใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop และ Adobe Illustrartor ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง ได้รับการสนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งนี้นักศึกษาสามารถเข้าไปติดตั้งโปรแกรมดังกล่าวได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเพิ่มงบประมาณ พัฒนาคุณภาพเครื่องมือ อุปกรณ์ให้ทันสมัยสอดคล้องกับเทคโนโลยีปัจจุบัน
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-หลักสูตรมีกระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่ชัดเจน มีผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีแนวโน้มที่ดี
-หลักสูตรมีผลการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากการประเมินฯ ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมดังนี้
ด้านเวลาเปิด ปิดโรงปฏิบัติงาน
  •  ผู้เรียนต้องการให้กำหนดเวลาในการปิดใช้บริการที่เกินกว่าเวลา 16.30 น. ทางหลักสูตรฯ จัดอาจารย์ประจำโรงปฏิบัติงานดูแลนักศึกษาที่มีความจำเป็นต้องทำงานนอกเวลา เช่นนักศึกษาศิลปนิพนธ์
  • สาขาฯ จัดช่วงเวลาพักเที่ยงของเจ้าหน้าที่ประจำโรงปฏิบัติให้เหลี่อมเวลาโดยช่วงเวลา12.00-13.00 มีเจ้าหน้าที่อยู่ปฏิบัติการหนึ่งท่าน
  • ผู้เรียนมีความต้องการขอเข้าใช้โรงปฏิบัติงานนอกเวลา เป็นนักศึกษาชั้นปีที่4 เพื่อทำศิลปพนธ์ มีจำนวนนักศึกษาขอใช้งาน 10 คน 50% ของนักศึกษาชั้นปีที่4 (และได้จัด เจ้าหน้าที่อาจารย์ดูแลตลอดการปฏิบัติงาน)
 ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์
สาขาฯได้ทำการจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์เครื่องมือทดแทนมาเพิ่มเติม เช่น แป้นหมุน สำหรับการเรียนเซรามิก, เครื่องแว็คคั่ม ,แท่นเลื่อยฉลุ,เครื่องกลึงไม้,เครื่องขัดกระดาษทราย และเครื่องปริ้นสามมิติ เป็นต้น
หลักสูตร หาทุนสนับสนุนเครื่องมือจากภายนอก โดยในปีการศึกษา2566 ได้รับเงินสนันสนุนในการซื้อเครื่องมือเป่าแก้วจากผู้ปกครองนักศึกษาและโต๊ะสแตนเลสในการจัดวางอุปกรณ์ และได้รับการสนับสนุนวัสดุแท่งแก้วMulano Italyจากศิลปินชาวฮ่องกง Alexx Cheng  ทำให้มีเครื่องมือเพิ่มขึ้นและเพิ่มทางเลือกสำหรับนักศึกษาที่สนใจในวัสดุแก้ว
หลักสูตรได้จัดเวลา เพื่อเข้าใช้งาน ของการปฏิบัติงานนอกเวลาเรียนเป็นการชดเชยนักศึกษามีผลงานที่ดีอย่างเห็นได้ชัด และระหว่างปฏิบัติงานมีบรรยากาศการวิพากษ์วิจารณ์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับอาจารย์ มีผลให้ตัวนักศึกษาสร้างผลงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่
ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ที่ช่วยเหลือและสนับสนุนในการเรียนการสอนที่ดี
ด้านเครื่องมือ และอุปกรณ์ 
  • ผู้เรียนต้องการให้มีเครื่องมือ และอุปกรณ์ปริมาณที่เพียงพอต่อการใช้งาน มีการใช้งานที่ หลากหลาย ใช้ได้กับทุกวัสดุ ให้มีคุณภาพที่ดีมีความแม่นยำ และทันสมัยมากขึ้น ทางหลักสูตรฯ ได้ดำเนินการจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์ ซึ่งมีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อใช้ในการเรียนการสอนได้ทันทีโดยใช้งบครุภัณฑ์
  • สอบถามความต้องการในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ของนักศึกษาเพื่อให้ตรงกับความต้องการ ยกเว้นอุปกรณ์เครื่องมือที่มีการใช้งานเฉพาะบุคคลได้ชี้แจงให้นักศึกษาจัดหาอุปกรณ์เป็นการส่วนตัว
  • หาทุนจากภายนอกเพื่อสนับสนุนเครื่องมือและวัสดุ
ผลการจัดข้อร้องเรียน
  • นักศึกษามีความพึงพอใจเข้ามาใช้โรงปฏิบัติการนอกเวลามากขึ้นทำให้เกิดบรรยากาศการทำงานที่ดี เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี 
  • นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการข้อร้องเรียน
  • นักศึกษามีเครื่องมือและอุปกรณ์เพิ่มมากขึ้นเพียงพอต่อการใช้งาน
  • นักศึกษามีเครื่องมือในการจัดการวัสดุที่หลากหลายมากขึ้น เช่นด้านการขึ้นรูปแก้ว
ผลการปรับปรุงข้อร้องเรียนและการพัฒนา
นักศึกษามีเครื่องมือและอุปกรณ์เพิ่มมากขึ้นเพียงพอต่อการใช้งาน
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการจัดการข้อร้องเรียนโดยมีความพึงพอใจที่มีแนวโน้มดีขึ้น สามปีต่อเนื่องจากการที่หลักสูตรพยายามปรับปรุงและจัดการระบบสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีการปรับปรุงให้มีความเป็นนานาชาติมากขึ้น สามารถรับนักศึกษาต่างชาติได้ต่อเนื่องมาสามปีการศึกษา ควรได้รับการสนับสนุนทางด้านระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย เช่น การปรับปรุงระบบการลงทะเบียนที่มีความซับซ้อนและไม่เหมาะกับนักศึกษาต่างชาติ การปรับปรุงระบบเอกสารที่ยังเป็นภาษาไทยเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น
  2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานสร้างสรรค์ที่มีการนำมาบูรณาการในการเรียน การสอน โดยเฉพาะการพัฒนาชุมชน ด้วยการให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการทำงานตั้งแต่เริ่มต้นจนสำเร็จเป็นผลงาน ควรให้มีการต่อยอดในเรื่องการเผยแพร่ผลงานให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะในรูปแบบต่างๆ เช่นบทความทางวิชาการ นิทรรศการ เป็นต้น
  3. หลักสูตรมีคะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 ในระดับดีมาก แต่มีผลประเมินบัณฑิตต่อความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพเฉลี่ย  3.50 และมีผลประเมินบัณฑิตต่อความสามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปะและการออกแบบ นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเฉลี่ย 3.50 หลักสูตรสามารถใช้ผลประเมินดังกล่าวเป็นข้อมูลประกอบการปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
  4. หลักสูตรออกแบบได้มีการประชุมร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อสอบถามถึงความต้องการ  รวมถึงการรับฟังความเห็นของนักศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการที่แท้จริงในการปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้  และได้จัดหาครุภัณฑ์ที่ไม่เพียงพอ ที่มีความต้องการใช้งาน เข้ามาทดแทน ทั้งนี้หลักสูตรมีโครงการสำหรับจัดซื้อครุภัณฑ์ทุกปี ได้มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ผุ้สอนต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น  และเป็นปีแรกที่เริ่มมีการหาแหล่งทุนจากภายนอกมาสนับสุนเครื่องมือและอุปกรณ์

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรขอตำแหน่งวิชาการให้เป็นไปตามที่ปรากฎในแผนพัฒนา
  2. หลักสูตรควรรายงานการประเมินกระบวนการเตรียมความพร้อมในทุกด้านนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ และรายงานผลลัพธ์ของทุกกิจกรรมการเตรียมความพร้อมว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ เช่น ร้อยละของนักศึกษาใหม่ที่มีความพร้อมในด้านต่าง ๆ เมื่อผ่านกิจกรรมเตรียมความพร้อมต่าง ๆ เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ
  3. จากหลักฐานการประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาในระบบ dbs พบว่าไม่มีรายละเอียดผลการประเมินแยกหัวข้อการประเมินของอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นการสรุปคะแนนเหมือนใน RQF.7 ทำให้มองไม่เห็นจุดแข็งจุดอ่อนจากการประเมินที่จะนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการในรายข้อย่อยของระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
  4. หลักสูตรควรรายงานผลลัพธ์ของการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่นอกเหนือจากคะแนนความพีงพอใจ โดยการรายงานค่าร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมเทียบกับนักศึกษากลุ่มเป้าหมายทั้งหมด(เชิงปริมาณ) และรายงานค่าร้อยละนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เกิดทักษะต่าง ๆ เทียบกับตัวชี้วัดตามค่าเป้าหมาย(เชิงคุณภาพ) และรายงานการนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการออกแบบกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
  5. หลักสูตรควรสรุปการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชาตามแบบฟอร์ม rqf.5 ถึงร้อยละนักศึกษาที่มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรมตามข้อย่อยที่ได้ mapping เอาไว้ เพื่อเปรียบเทียบปีต่อปี และนำผลประเมินไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และเตรียมความพร้อมรับการ pre audit   post audit ในอนาคต
  6. ควรปรับปรุง พัฒนาสภาพแวดล้อมโรงฝึกปฏิบัติงานให้ทันสมัย เหมาะสมกับสาขาการออกแบบนานาชาติ
  7. ควรรายงานผลการประเมินคุณภาพการสอน ให้ครบถ้วนทุกรายวิชา พร้อมแสดงสรุปค่าเฉลี่ยให้เห็นชัดเจน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.10
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.78
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.45

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.55 4.55 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 2.93 - - 2.93 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 2.97 3.75 4.55 3.45 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก