วันที่ประเมิน: 4 สิงหาคม 2566, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 60 | 4.17 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 14 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.17 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 60 | 4.89 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 45 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 10 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 27 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 6 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 97.73 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 4.89 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการกำหนดคุณสมบัตินักศึกษาใหม่ และระบบกลไกการรับนักศึกษาใหม่ชัดเจน- มีโครงการที่เป็นการประชาสัมพันธ์หลักสูตรหลายโครงการทั้ง open house, so real workshop boot camp และโครงการ ปชส.หลักสูตรผ่านการเผยแพร่ผลงานศิลปะผ่านสื่อออนไลน์ ควรมีการรายงานการประเมินโครงการ และแนวทางการนำผลประเมินมาปรับปรุงโครงการดังกล่าว - มีการการสำรวจของนักศึกษาปีที่ 1 ในช่วงกลางเทอม 1 ปีการศึกษา 2565 มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 68 คน โดยใช้ Google Form สร้างแบบสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการรับนักศึกษา โดยมีผลคะแนนประเมินเท่ากับ 4.38 ซึ่งอยู่ในระดับดี โดยมีหัวข้อ / รายละเอียดของคะแนนดังนี้ - ช่องทางการรับนักศึกษา 4.48 - ขั้นตอนการรับนักศึกษา 4.51 - การแนะนำเกี่ยวกับหลักสูตร 4.47 - การแนะนำเกี่ยวกับการลงทะเบียน 4.37 - การแนะนำเกี่ยวกับทุนการศึกษา 4.09 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีโครงการเตรียมความพร้อมฯหลายโครงการทั้งที่ร่วมกับคณะ และที่หลักสูตรดำเนินการเองดังนี้1. โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาใหม่ บรรลุเป้าหมาย นศ.เข้าร่วม 190 คน จาก 232 คน คะแนนประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเท่ากับ 4.46 2. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ในระดับวิทยาลัย บรรลุเป้าหมายการเข้าร่วมของ นศ 150 คน จาก 232 คน คะแนนประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเท่ากับ 4.03 3. กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ของหลักสูตรนิเทศศิลป์ บรรลุเป้าหมายการเข้าร่วมของ นศ.นิเทศศิลป์ 72 คน จาก 114 คน คะแนนประเมินความพีงพอใจของนักศึกษาเท่ากับ 4.03 4. โครงการพิธีไหว้ครู ครอบครูช่าง บรรลุเป้าหมายการเข้าร่วมของนักศึกษา187 คน จาก 263 คน คะแนนประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเท่ากับ 4.25
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
หลักสูตรฯ มีการส่งเสริม การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยโครงการสนับสนุนจำนวนมาก ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน
- ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เท่ากับ 4.26ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบกลไกการควบคุมดูแลฯครอบคลุมทั้งนักศึกษาใหม่ นักศึกษาเดิม ตลอดจนนักศึกษาที่ผลการเรียนอ่อนที่ชัดเจน- ปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละชั้นปีจัดประชุมนักศึกศึกษาในชั้นปีอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง และเรียกพบนักศึกษาที่มีผลการเรียนที่มีค่าเฉลี่ยไม่ถึง 2.00 เพื่อวางแผนการลงทะเบียนเรียน ทั้งนี้หลักสูตรฯ Post และ Update ข้อมูลให้นักศึกษาทาง Facebook แต่ละรุ่นอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลทั่วถึงกัน ทำให้นักศึกษาทุกชั้นปี สามารถติดต่อสื่อสารกับอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ - หลักสูตรฯได้มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ในปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.26 ซึ่งควรมีการรายงานแนวโน้ม และความต้องการหรือข้อเสนอแนะการปรับปรุงระบบอาจารย์ที่ปรึกษาโดยนักศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการ mapping กิจกรรมโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษากับ 5 ทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่ชัดเจน(ควรเป็น 7 ด้านเหมือนตอนสรุปผลประเมินหรือไม่)- จากการสำรวจของนักศึกษา จำนวน 36 คน ในช่วงกลางเทอม 2ปีการศึกษา 2565 มีผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมีผลสรุปคะแนนประเมินเท่ากับ 4.11 ซึ่งอยู่ในระดับดี - จากผลประเมินนักศึกษาต่อการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21มีคะแนนเฉลี่ย 7 ด้าน เท่ากับ 4.67 อยู่ในระดับดีมาก เนื่องด้วยเป็นการประเมินนักศึกษาปีที่ 3 ซึ่งมีหลายโครงการและหลากหลาย สอดแทรกอยู่ในรายวิชาของนักศึกษาปีที่ 3 ทำให้การส่งเสริมทักษะด้านต่างๆของศควรรษที่ 21 สัมฤทธ์ผล อย่างไรก็ตาม คะแนนด้านทักษะทวิภาษา การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษมีคะแนน 3.98 น้อยกว่าทักษะอื่น ๆ ทางหลักสูตรฯจะเสริมสร้างทักษะในด้านภาษาอังกฤษให้มากขึ้นในปีการศึกษา 2566 ต่อไป ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯ ได้ให้ความสำคัญการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ โดยทางหลักสูตรฯ มีกระบวนการผลักดันให้นักศึกษา ชั้นปีที่ 3 เข้าร่วมโครงการมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคมฯ ซึ่งผลงานสร้างสรรค์ของโครงการเป็นการแก้ปัญหาสังคม ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ พร้อมกันนี้ ได้นำเนื้อหาของยุทธศาสตร์ชาติเข้าในชั้นเรียนของนักศึกษาปีที่ 4 ในวิชาเตรียมการศิลปนิพนธ์ในเทอม 1 ปีการศึกษา 2565 เพื่อให้นักศึกษา ได้นำเสนอหัวข้อที่เป็นประโยชน์และตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ และขอรายงานผลงานวิจัยสร้างสรรค์ของนักศึกษาซึ่งเป็นงานศิลปนิพนธ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 74.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 78.30
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 68.20 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 46.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 53.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 41.20 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.56
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.58
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.51
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- แนวโน้มดีด้วยเกณฑ์ใหม่ พ.ศ.2565- ในสิ้นปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ ได้รวบรวมข้อร้องเรียนในด้านต่างๆ และได้จัดประชุมในการจัดการกับข้อร้องเรียนของนักศึกษา สรุปดังนี้ - เรื่องนักศึกษาของใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์นอกเวลาเรียน ได้แก่ปัญหาโดยนักศึกษาสามารถเข้าใช้งานได้โดยให้นักศึกษากรอกแบบฟอร์มและให้อาจารย์ที่ปรึกษาเซ็นต์รับรอง - เรื่องนักศึกษาขอให้มีพื้นที่ส่วนกลางในการทำงานและสันทนาการ ทางสาขาฯ ได้แจ้งเรื่องไปยังวิทยาลัยฯ เพื่อประสานกับทางมหาวิทยาลัยฯ ในการจัดสถานที่ ในปีการศึกษาหน้า - เรื่องของความสกปรก เลอะเทอะในห้องปฎิบัติการภาพพิมพ์ สีต่าง ๆ ที่ใช้ในการพิมพ์ กลิ่นจากน้ำยาล้าง สี ในปีการศึกษา 2565 ได้แก้ปัญหาโดยจัดเวรให้นักศึกษาดูแลทำความสะอาด และเปิดหน้าต่างเพื่อระบายอากาศ ให้ตรวจสอบและรายงานทุกครั้งหลังใช้งาน - เรื่องนักศึกษาสูบบุหรี่บนระเบียงชั้น 8 ทำให้กลิ่นบุหรี่เข้ามาในห้องเรียน วิธีแก้ปัญหาคือ ให้เพื่อนที่สูบบุหรี่ ลงไปสูบบุหรี่ในที่ที่วิทยาลัยฯ จัดดไว้ให้ และติดป้ายห้ามสูบบุหรี่
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและ หัวหน้าหลักสูตร ที่ชัดเจน- มีขั้นตอนการดำเนินการในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่ชัดเจน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรฯ มีการวางแผนระยะยาวด้านอัตรากำลังของอาจารย์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษาและมีแผนการบริหารอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยมีส่วนร่วมจากการบริหารของวิทยาลัยฯ หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกการบริหารกำลังคนที่มีประสิทธิภาพสามารถรักษาอาจารย์ฯที่มีศักยภาพให้คงอยู่กับหลักสูตร- ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ นำระบบและกลไกการกำหนดภาระหน้าที่งานช่วยบริหารภายในหลักสูตร ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ ได้อย่างชัดเจนและครบถ้วนทุกด้าน - หลักสูตรฯ มีการบริหารอาจารย์ที่ชัดเจน ทั้งภาระงานสอน และงานช่วยบริหาร โครงการต่างๆ ทำให้ภาระกิจต่างๆสำเร็จลุล่วง บรรลุตามเป้าหมาย อีกทั้งอาจารย์มีส่วนร่วมในงานที่ส่งเสริมงานประกันคุณภาพมากขึ้น ทั้งนี้ หลักสูตรฯ ได้ดำเนินการบริหารอาจารย์ไปตามแผน ทำให้มีค่าประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการบริหารจัดการหลักสูตรฯ เพิ่มมากขึ้นทำให้มีแนวโน้มที่ดีขึ้นดังนี้ ปีการศึกษา 2565 มีคะแนนเท่ากับ 4.28 อยู่ในค่าระดับดี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้พิจารณาแผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่าน สรุปเป็นแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรายบุคคลเป็นตารางแผนห้าปีตามรายการพัฒนาครอบคลุมเก้าด้านที่ชัดเจน- หลักสูตรได้กำกับติดตามและรายงานผลการพัฒนาตนเองของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านไว้อย่างชัดเจน - ในปีการศึกษา 2565 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ หลักสูตร มีการรายงานครบทั้ง 3 ประเด็น ได้แก่การรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร การบริหารอาจารย์ การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ โดยมี มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรมจากการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการจากผลการประเมินพบว่า อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรส่งผลงานสร้างสรรค์ในระดับนานาชาติ 2ท่าน โดย ปิดงานวิจัย 1 ท่าน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ส่งบทความวิชาการสืบเนื่องจากการประชุมระดับนานาชาติ 1 เรื่อง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2 ท่าน ยื่นเรื่องเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ผู้สอนส่งผลงานออกแบบสร้างสรรค์ในระดับนานาชาติ 3 ท่าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 2 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 40.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 2 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 3 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 0 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 3 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 60.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 1 | 0 | 0 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 2 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 2.40 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 48.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ทางหลักสูตรฯ มีการดำเนินการเรียนการสอนทุกวิชาโดยมีโครงงานย่อย โครงงานกลางภาค และโครงงานปลายภาค ให้สอดคล้องกับ การออกแบบหลักสูตร (PLO) และสาระของรายวิชา (CLO) อีกทั้งหลักสูตรฯ มีความร่วมมือกับสถานประกอบการในรายวิชาต่างฯ เช่น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรรายงานการออกแบบปรับปรุงเนื้อหารายวิชาที่มีการสำรวจความต้องการของผู้เรียนซึ่งสามารถดำเนินการได้ทุกปี ระบุรายวิชา เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดผลประเมิน เพื่อนำสู่การปรับปรุงกระบวนการ |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จากคำแนะนำของผู้ประกอบการและศิษย์เก่า หลักสูตรฯ ได้ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานการออกแบบในยุคของสังคมออนไลน์ และการทำธุรกิจดิจิทัลนี้ โดยการพัฒนานักศึกษาในทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้นโดยเสนอวิชาขึ้น 2 วิชา ดังนี้ 1. วิชา DMR 213 การสร้างคอนเทนต์ทางการตลาดและสื่อสังคมออนไลน์ได้พัฒนาเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายแนวคิดลักษณะและประเภทของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์และการสร้างสรรค์ กระบวนการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ การสร้างแบรนด์แห่งนวัตกรรม นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการบริการ ความล้มเหลวและความเสี่ยงต่อนวัตกรรม องค์กรนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 2. วิชา DBS 412 นวัตกรรมและกลยุทธ์สำหรับธุรกิจดิจิทัล ได้พัฒนาเนื้อหาเกี่ยวกับ แนวความคิดของนวัตกรรม กระบวนการการพัฒนานวัตกรรม รูปแบบของนวัตกรรมภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี รวมถึงการศึกษาการจัดการความรู้ การสร้างองค์การเพื่อการพัฒนาข้อมูลเพื่อเป็นความรู้สำหรับการทำงาน และทำให้เกิดองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิผล กลยุทธ์ของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งขององค์การและการแสวงหาโอกาสในตลาดของธุรกิจดิจิทัล พัฒนาทักษะในการกำหนดกลยุทธ์ธุรกิจดิจิทัล ที่จะสามารถเป็นผู้นำธุรกิจในสินค้าและบริการ ซึ่งใช้ช่องทางการตลาดธุรกิจดิจิทัลได้ อีกทั้งมีรายวิชาที่จัดโครงการเข้าไปในชั้นเรียน เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนที่ทันสมัยมากชึ้นได้แก่ vcd252, vcd475 เป็นต้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นในการนำมาใช้ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาแล้ว ในอนาคตอาจรายงานผลประเมินผู้ใช้บัณฑิตหรือ stakeholder ต่อ ylo plo ของนักศึกษา หรือ บัณฑิตในส่วนของความรู้ ทักษะ หรือ สมรรถนะที่ทันสมัยเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริงมาเป็นส่วนของการวิเคราะห์ปรับปรุงเนื้อหารายวิชา |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
_ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2565 ก่อนเปิดภาคเรียน หลักสูตรฯ ได้มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในเรื่องของการทบทวนวิชาที่เปิดสอนทุกวิชา - วิชาการฟิกเคลื่อนไหว ให้อาจารย์พิเศษสอนทั้ง 2 กลุ่ม- วิชาออกแบบจัดตัวอักษรให้อาจารย์พิเศษสอน1 กลุ่ม - วิชาการออกแบบเบื้องต้น ทางสาขาฯ นำรายวิชาจากหมวดพื้นฐานมาเปิดสอนเองเพื่อจะได้ดูแลใกล้ชิดและให้โครงงานสัมพันธ์กับวิชาชีพ - วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการออกแบบ ให้อาจารย์ผู้สอนที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดี ได้แก่ ผศ.ชินภัศร์ กันตะบุตร และ ผศ.ดร.สิรดา ไวยาวัจมัย เป็นผู้สอน - ส่วนวิชาอื่นๆให้คงอาจารย์ผู้สอนไว้อย่างเดิม ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ มีการทบทวนกระบวนการ กำหนดผู้สอน จึงได้ปรับปรุงและดำเนินการ การจัดกลุ่มวิชาเพื่อให้สอดคล้องและครอบคลุมวิชาต่างๆในหลักสูตร และผู้รับผิดชอบร่วมกัน จาก 4 กลุ่ม (กลุ่มวิชาการออกแบบกราฟิก กลุ่มวิชาการออกแบบโฆษณา กลุ่มวิชาการออกแบบสื่อมัลติมีเดีย และกลุ่มวิชาพื้นฐานชองสาขาฯ) ควรเพิ่มอีก 1 กลุ่ม เป็น 5 กลุ่ม นั้นควรมีการรายงานผลการปรับปรุงดังกล่าว เช่น คะแนนประเมินการสอนรายกลุ่ม เป็นต้น เพื่อใช้ประกอบการปรับปรุงกระบวนการต่อไป |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรพบปัญหาในการกำกับ ติดตาม ในปีการศึกษา 2565 จึงได้มีการปรับปรุงการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และมคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน ใน 2 ประเด็นคือ 1. ปรับจาก อาจารย์ผู้รับชอบเป็นผู้ Upload ข้อมูล เป็นเจ้าหน้าที่ประจำสาขาเป็นผู้ Upload ข้อมูล และบันทึกรายงานต่อหัวหน้าสาขาเพื่อกำกับ ติดตาม2. การดำเนินการจัดทำ มคอ.3 และ มคอ.5 และการ Upload ได้สำเร็จตามกำหนดเวลาหรือไม่ ให้มีผลต่อการประเมินบุคลากรปลายปีการศึกษา หลักสูตรควรรายงานผลการดำเนินการจากการปรับปรุงกระบวนการดังกล่าว |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
การจัดการเรียนการสอนที่มีบูรณาการกับการวิจัย หลักสูตรฯ ได้ให้อาจารย์ผู้สอนนำเอาผลงานออกแบบสร้างสรรค์ที่ผ่านกระบวนการวิจัยการออกแบบ โดยแสดงในงานประชุมวิชาการด้านการออกแบบระดับนานาชาติ เช้าในชั้นเรียนเป็นกรณีศึกษาและกิจกรรมการเรียนในวิชาต่างๆ ได้แก่ 1. วิชา VCD 232 การออกแบบภาพประกอบผู้รับผิดชอบ อ.วิชัย เมฆเกิดชู ได้นำผลการออกแบบสร้างสรรค์หัวข้อ Digital Illustration ที่ได้จัดแสดงในงานวิชาการการออกแบบระดับนาชาติ The 10th RSU International Design Symposium ‘’Work in progress 10:” มาเป็นกรณีศึกษาในชั้นเรียนให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการออกแบบ และในเรื่องความคิดสรางสรรค์ในเนื้อหาภาพ และ เทคนิคของการสร้างภาพ โดยให้นำความรู้ที่ได้มาพัฒนางานของตนเอง 2. วิชา VCD 242 การออกแบบกราฟิกปฏิสัมพันธ์ ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร.สิรดา ไวยาวัจมัย ได้นำผลการออกแบบที่เตรียมจ้ดแสดงในงานวิชาการการออกแบบระดับนาชาติ The International Academic Forum “ The 14th Asian Conference on Efucation” (ACE2022), Tokyo Japan หัวข้อ “Creative Design Guideline : Online Platform to encourage Lifelong Learning Among Thai Digital Natives.” มาเป็นกรณีศึกษาในชั้นเรียน ให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการออกแบบ และในเรื่องความคิดสรางสรรค์ในการออกแบบกราฟิบอินโฟ และการนำเสนอผลงานบนสื่อออนไลน์ โดยให้นำความรู้ที่ได้มาพัฒนางานของตนเอง 3. วิชา COD 109 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ ผู้รับผิดชอบ วันทวี สิมชมภู ได้นำผลการออกแบบสร้างสรรค์หัวข้อ Digital Illustration ที่เตรียมจ้ดแสดงในงานวิชาการการออกแบบระดับนานาชาติ The 10th RSU International Design Symposium‘’Work in progress 10” มาเป็นกรณีศึกษาในชั้นเรียน ให้ นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการออกแบบ และในเรื่องความคิดสรางสรรค์ในเนื้อหาภาพ และ เทคนิคการใช้ เครื่องมือต่างๆ และการลงสีในคอมพิวเตอร์ โดยให้นำความรู้ที่ได้มาพัฒนางานของตนเอง
หลักสูตรได้บูรณาการกับการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและความเป็นไทย เข้าในรายวิชาออกแบบ ดังนี้ 1. วิชา RSU 149 วัฒนธรรมวิจักษ์อาจารย์ผู้สอนได้ให้โครงงานในการออกแบบโดยให้นักศึกษาเลือกพัฒนาผลงานออกแบบประยุกต์จากวัฒนธรรมไทยที่สนใจใน 4 ภาค และออกบูธนำเสนอผลงานทางวัฒนธรรมต่างๆภายใต้ ธีมงาน "Cultural Diversity Showcase EP.2" ในพื้นที่หอศิลป์พัฒนา 2. วิชา VCD 130 การออกแบบและจัดตัวอักษรอาจารย์ผู้สอนได้ให้โครงงานในการออกแบบตัวอักษรภาษาไทย โดยได้แรงบันดาลใจจากวัฒนธรรมและความเป็นไทย นักศึกษาเริ่มจะต้องค้นคว้าศึกษาประวัติความเป็นมาตามหัวข้อเกี่ยวกับที่กำหนดขึ้นฝ่านกระบวนการออกแบบ 3. วิชา VCD 253 การออกแบบกราฟิกเพื่อบรรจุภัณฑ์ อาจารย์ผู้สอน ให้นักศึกษาทำโครงานกิจกรรมเสริมสร้างและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น “ออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น” ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ให้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปสัตว์น้ำบ้านสำพะเนียง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จากจุดเด่นของการบูรณาการรายวิชากับพันธกิจทั้งสามในรายวิชาต่างๆ นั้นถ้าได้รายงานร้อยละสัมฤทธิผลของนักศึกษาตามวัตถุประสงค์ของการบูรณาการก็จะมีความชัดเจนเป็นรูปธรรมมากขึ้นและสามารถนำผลประเมินไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มรายวิชาบูรณาการดังกล่าวต่อไป |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรรายงานว่ามีการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ผ่าน 4 ช่องทาง แต่ไม่รายงานถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ว่าดีกว่าปีที่ผ่านมาอย่างเห็นได้ชัด หรือผลการทวนสอบแสดงให้เห็นถึงการมีทักษะในด้านต่างๆ ของนักศึกษาเป็นไปตามที่คาดหวัง |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรรายงานไปที่ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชาvcd232 vcd251 vcd252 vcd324 vcd130 vcd242 vcd222แต่หลักสูตรควรรายงานถึงการมีการตรวจสอบเครื่องมือการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการของหลักสูตรในเรื่อง
1) การกำกับให้มีการพัฒนาและตรวจสอบเครื่องมือประเมินนักศึกษาที่เหมาะสมกับรายวิชาและผลลัพธ์การเรียนรู้ 2) การวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพ/ ปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของนักศึกษา เช่น |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีการกำกับติดตาม มคอ.5 หัวหน้าสาขาได้มอบหมายให้ อาจารย์ทุกคนจัดทำ มคอ.5 หลังปิดภาคเรียน จากอาจารย์ทุกท่านในหลักสูตรให้ส่งทันเวลาตามที่กำหนด แล้วให้เจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรฯ อัปโหลดเก็บไว้ในพื้นที่ส่วนกลางของมหาวิทยาลัย โดยให้รายงานผลการดำเนินงานในที่ประชุมด้วย หลักสูตรมีการกำกับติดตาม มคอ.7 หัวหน้าสาขาฯ ได้มอบหมายให้ ผศ.วิษณุนาท กตัญญูทวีทิพท์ และ ผศ.ชินภัศร์ กันตับุตร เป็นผู้จัดทำร่วมกับหัวหน้าสาขาโดยให้อาจารย์ทุทท่านร่วมมือในการให้หลักฐานและข้อมูลในเรื่องของแบบสำรวจความพึงพอใจในด้านต่างๆของนักศึกษาในแต่ละชั้นปี รวมถึง PDCA ของโครงการต่างๆ ที่อาจารย์ทุกท่านเป็นผู้รับผิดชอบ เมื่อจัดทำเล่ม มคอ.7 และหลักฐานแล้วเสร็จจึงส่งให้สำนักประกันคุณภาพ |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 13 | 5 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 13 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
1 หลักสูตรฯ มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่พอเพียงพร้อมใช้งานทั้งของมหาวิทยาลัย วิทาลัยการออกแบบ และของหลักสูตรฯ
2 มีอาคารหอศิลป์พัฒนา (Pattana Gallery) ที่สวยงามโดดเด่นสง่างาม มีเอกลักษณ์ นับเป็นสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง เพราะเป็น Landmark ให้กับมหาวิทยาลัยรังสิตและวิทยาลัยการออกแบบ
3 มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่พร้อมด้วยจำนวนและคุณภาพ
4 หลักสูตรฯ มีห้องปฏิบัติการภาพพิมพ์ที่พร้อมด้วยจำนวนและคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ พร้อมมีโครงการสนับสนุนการดูแลซ่อมบำรุงทุกปี
5 หลักสูตรฯ สามารถจัดการแก้ปัญหาและข้อร้องเรียนของนักศึกษาได้
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบกลไกในการดูแลสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ชัดเจน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่างๆ เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลดังที่แสดงเป็นรายละเอียดตารางการสนับสนุนการเรียนรู้ด้วย Application ในรายวิชาต่างๆ ปีการศึกษา 2565ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรรายงานความพอเพียงของห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Computer Lab) สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากวิทยาลัยการออกแบบ และรายงานการจัดหาในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรการออกแบบนิเทศศิลป์ได้ใช้โปรแกรมเฉพาะทางอย่างเพียงพอเหมาะสมดังต่อไปนี้ - โปรแกรม Illustrator, Photoshop สำหรับวิชาออกแบบกราฟิกเบื้องต้นวิชาออกแบบฟิกบนบรรจุภัณฑ์ - โปรแกรม Illustrator, Photoshop, Glyphs, Fontlab วิชาออกแบบจัดตัวอักษร วิชาออกแบบอัตลักษณ์ องค์การ และวิชาออกแบกราฟิกสิ่งแวดล้อม - โปรแกรม Illustrator, Photoshop, Indesign สำหรับวิชาออกแบบสิ่งพิมพ์ - โปรแกรม Illustrator, Photoshop, Dreamweaver, Flash, Muse สำหรับวิชาออกแบบกราฟิกปฏิสัมพันธ์ และหลักสูตรรายงานตารางการสนับสนุนการเรียนรู้ด้วย Application ในรายวิชาต่างๆ ปีการศึกษา 2565
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สถานการณ์โควิดดีขึ้น นักศึกษาทั้งหมดกลับมาเรียนออนไซด์ในทุกวิชา นักศึกษาต้องใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ในรายวิชาออกแบบเป็นส่วนใหญ่ ปัญหาที่พบมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอายุการใช้งานมายาวนานทำให้ไม่สามารถรองรับโปรแกรมเวอร์ชั่นใหม่ได้ และความเร็วในการจัดการข้อมูลช้าลง ทางหลักสูตรฯ ได้แจ้งไปยังวิทยาลัยการออกแบบ และได้จัดตั้งโครงการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ทดแทน ซึ่งรออนุมัติจากมหาวิทยาลัยฯ ทั้งนี้หลักสูตรฯได้สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ได้แก่ นักศึกษา 51 คน และอาจารย์ 4 คน รวมเท่ากับ 55คน โดยมีคะแนนประเมิน เท่ากับ 4.40 ซึ่งอยู่ในระดับดี ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรมีการจัดทำแบบสอบถาม/แบบประเมินความพึงพอใจแยกกันระหว่างของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกด้าน และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลในทุกปีการศึกษา ทั้งนี้ ให้รายงานคะแนนความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เป้าหมายกระบวนการ ผลการดำเนินงาน และควรมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากทั้งสองกลุ่มเพื่อนำสู่การพิจารณาปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อนำผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการและจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เป็นความจำเป็นต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.17 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 4.89 |
3.1 การรับนักศึกษา | 4.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 4.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 3.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 4.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 5.00 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 4.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 4.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 4.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 4.00 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.53 | 4.53 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 3.67 | - | - | 3.67 | ระดับคุณภาพดี |
4 | 3 | 4.33 | - | - | 4.33 | ระดับคุณภาพดีมาก |
5 | 4 | 4.00 | 3.67 | - | 3.75 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 4.00 | - | 4.00 | ระดับคุณภาพดี |
ผลการประเมิน | 4.00 | 3.75 | 4.53 | 4.00 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |