รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรทัศนมาตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์

วันที่ประเมิน: 28 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน
Mr. Jerry E. Vincent คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 2 เรื่อง (2020/2021) 
นายเมธี จรัสอรุณฉาย คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 1 เรื่อง (2022)
นายตฤณณวัฒน์ ทองชิต คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 2 เรื่อง (2019/2021)
นางสาวนิศา ปานอ่อน คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานวิชาการ 2 เรื่อง (2019/2021)
นางสาวภัชภิชา ยกกําพล คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 1 เรื่อง (2019)*
รายชื่อไม่ได้เรียงลำดับตามท้ายเล่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5 ท่าน
Mr. Jerry E. Vincent คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 2 เรื่อง (2020/2021) 
นายเมธี จรัสอรุณฉาย คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 1 เรื่อง (2022)
นายตฤณณวัฒน์ ทองชิต คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 2 เรื่อง (2019/2021)
นางสาวนิศา ปานอ่อน คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานวิชาการ 2 เรื่อง (2019/2021)
นางสาวภัชภิชา ยกกําพล คุณวุฒิปริญญาโท ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผลงานวิชาการ 1 เรื่อง (2019)*
รายชื่อไม่ได้เรียงลำดับตามท้ายเล่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 ท่าน มีประสบการณ์ด้านการปฏิบัติการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
หน้า 13 ระบุ อาจารย์พิเศษ ไว้ 7 ท่าน แต่หน้า 23 ระบุเพียง 1 ท่าน และรายการหลักฐานระบุ 1 ท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตรวจสอบความสอดคล้องของจำนวนอาจารย์พิเศษ
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรได้เปิดดําเนินการเรียนการสอนในครั aงแรกตั aงแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2558
โดยได้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กําหนด
2564-->2565
2571-->2572
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 56 4.72
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 13
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.72
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ตัวเลขในรายงาน 4.71+4.72
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 56 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 42
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 39
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 0
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 2
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 1
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
บัณฑิตมีงานทำงานในปริมาณที่สูงมาก 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.86 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:



 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
"มีการวางแผนให้มีการจัดสอบรับตรงเข้าคณะ"
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขอให้ระบุผลที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงระบบและกลไกการรับนักศึกษา/การเตรียมความพร้อมนักศึกษาให้ชัดเจน
ซึ่งจะอยู่ในรูปความพร้อมของผู้เรียน 
-ระบุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้ที่เข้าด้วยระบบสัมภาษณ์/ระบบการสอบ

- เห็นความพยายามในการปรับกระบวนการรับนักศึกษาและเตรียมความพร้อมของนักศึกษา แต่ยังไม่มีผลจากการปรับปรุงที่เห็นเป็นรูปธรรม
จากข้อมูลพบว่าอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ลดลง ควรมีการศึกษาวิเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุจากนักศึกษาทั้งที่ออกไปและคงอยู่ เพื่อนำสู่การปรับกระบวนการคัดเลือกนักศึกษาและเตรียมความพร้อมของนักศึกษาต่อไป
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-อธิบายกระบวนการปฐมนิเทศ เป้าหมาย
-อธิบายการเตรียมความพร้อมทางด้านวิชาการ (ภาษาอังกฤษ/กรณี นร จากสายศิลป์ มีปัญหาในการเรียนหรือไม่ เตรียมความพร้อมอย่างไร?)
-อธิบายการเตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิต
-หลักสูตรฯ ทราบได้อย่าไรว่าต้องเตรียมความพร้อมผู้เรียนในเรื่องใดบ้าง (จากการสำรวจ จากการสังเกตและวิเคราะห์ ฯลฯ) เมื่อหลักสูตรทราบปัญหาของผู้เรียนแล้ว จึงนำมากำหนดเป็นระบบและกลการเตรียมความพร้อมแก่ผู้เรียน มีการกำหนดเป้าหมายความสำเร็จ และดำเนินการ หากบรรลุผล ขอให้แสดงผลที่บรรลุนั้นว่าหลักสูตรทราบได้อย่างไรว่า ผลนั้นเกิดขึ้น และยืนยันว่าผลที่เกิดขึ้นเกิดจากการปรับปรัุงระบบและกลไกการดำเนินงานด้านการเตรียมความพร้อมผู้เรียน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
"จากกระบวนการด้านการให้คําปรึกษาแก่นักศึกษาพบว่าการดําเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น และ เรียบร้อยดี ถึงแม้ ว่าจะยังมีสถานการณ์โควิด 19 เข้ ามาเป็ นระยะๆ ทําให้ นักศึกษาไม่สามารถ เข้ารับคําปรึกษากับทางอาจารย์ที+ปรึกษาที+มหาวิทยาลัยได้แต่นักศึกษายังสามารถติดต่ออาจารย์ที+ปรึกษา ผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น ติดต่อทางโทรศัพท์, ติดต่อผ่าน Line กลุ่ม หรือติดต่อผ่านข้อความ Facebook ทั aงนี aการให้คําปรึกษาแก่นักศึกษาของอาจารย์ที+ปรึกษาจึงดําเนินการไปอย่างราบรื+น ตลอดปีการศึกษา" ไม่แน่ใจว่า ยังมี covid-19 ที่ส่งผลต่อการมาเรียน onsite ของนักศึกษาในปีการศึกษาที่ผ่านมา
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ควรเพิ่มการประเมินติดตามผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-รายงานการดำเนินการส่งเสริมการทำวิจัยและการทำนวัตกรรมไม่ชัดเจน กิจกรรมต่าง ๆ ที่รายงานเป็นการส่งเสริมทางวิชาการและวิชาชีพ ควรเพิ่มเติมการทำวิจัยระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ และควรจัดให้มีการเสนอผลงานวิจัย/นวัตกรรมของนักศึกษาในการประชุมทางวิชาการที่มีอยู่ 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 6 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2554)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 73.07
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 75.38
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 69.23
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อัตราการคงอยู่เฉลี่ย <75%
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
พิจารณาแนวโน้มไม่ได้ เนื่องจากเป็นหลักสูตร 6 ปี
นศ รหัส 60 -->65 ต้องมีข้อมูล 59/58 เพิ่มขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.62
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 3.23
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 3.61
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ความพึงพอใจปี 2563 เกิดอะไรขึ้น??
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- เนื่องจากหลักสูตรมีการดำเนินการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนส่งเสริมให้อาจารย์มีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ จนในปีการศึกษาที่ผ่านมามีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

- มีการปรับปรุงกระบวนการ มี IDP ของอาจารย์แต่ละคน มีการติดตามสนับสนุน เกิดผลที่ดีขึ้น มีตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น กำลังจะไปศึกษาต่อ ป.เอก และกำลังขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-มีการติดตามคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ และมีการส่งเสริมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการดำเนินการจนมีอาจารย์เข้าสุ่ตำแหน่งวิชาการ และมีการเตรียมการในการพัฒนาอาจารย์หลายด้าน

- หลักสูตรมีการดำเนินการในการพัฒนาส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์เพื่อเข้าสู่การขอตำแหน่งทางวิชาการที่ชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ลองทบทวนระบบการในการบริหารและพัฒนาอาจารย์ เนื่องจาก ผลที่เกิดขึ้นในปีนี้ "ไม่มีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเลย"
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ควรเร่งรัดการศึกษาต่อ ป.เอก หรือ รับอาจารย์ที่มีวุฒิ ป.เอก แล้วเพิ่มเติม
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีอาจารย์ดำรงตำแหน่งวิชาการ ผศ 1 ท่าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.00 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ไม่มีผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
- ควรเร่งการส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยของอาจารย์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการได้ด้วย โดยอาจทำโครงการวิจัยที่เแป็นร่ม โดยอาจารย์หลายคนสามารถเข้าร่วมในทีมวิจัย และแตกเป็นผลงานวิจัยย่อยๆ ได้ ทั้งนี้หัวหน้าทีมจะเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการวิจัย หรืออาจเชิญที่ปรึกษางานวิจัย หรือทำวิจัยกับเครือข่ายภายนอกคณะหรือภายนอกมหาวิทยาลัย 
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 0.56 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
100/80/80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.37/4.40/4.56
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 2.52 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

45
45
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ดร.วัชรินทร์ การมีการส่งนักศึกษาไปฝึกงาน/เรียนรุ้กับภาคธุรกิจ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ ขอให้อธิบายกระบวนการ stakeholder analysis
ผศ.ดร.ภญ.ทิพย์สุชน หลักสูตรควรใช้ให้เห็นว่ามีการนำผลจากการประเมิน มาปรับปรุงสาระรายวิชาในหลักสูตรอย่างไร
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.รัชนี 
1. ทุกรายวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนสาระหรือกระบวนการเรียนการสอน ควรเพิ่มการติดตามผลลัพธ์ของการปรับเปลี่ยนนั้น ๆ โดยควรเน้นในรายวิชาที่มีความผิดปกติของผลการเรียน เช่นถอนวิชาหรือสอบไม่ผ่านจำนวนมาก มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการที่จะส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา วิชาปฏิบัติ นศ.บางคนอาจต้องการเวลาเพิ่มขึ้นจึงจะเรียนรู้ได้ หรือมีการประเมินความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนรายวิชานั้น ๆ และเพิ่มการปรับความรู้และทักษะก่อน หรือใช้กระบวนการเพื่อนช่วยเพื่อน เป็นต้น แล้วติดตามผลลัพธ์ว่าดีขึ้นหรือไม่
2 การรายงานการปรับเปลี่ยนสาระหรือกระบวนการเรียนการสอนในหน้า 75-78 ไม่สอดคล้องกับหน้า 67-70

ผศ.ดร.ภญ.ทิพย์สุชน หลักสูตรมีการนำความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มาใช้ในการปรับปรุงสาระรายวิชาในหลักสูตรให้มีความก้าวหน้าและทันสมัย
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรแสดงผลการประเมินที่ได้ และการปรับปรุงที่ได้มีการดำเนินการจากผลการประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการทวนสอบในทุกรายวิชาที่เปิดสอน?
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.รัชนี หลักสูตรรายงานว่ามีการทวนสอบทุกรายวิชา แตเสนอผลการทวนสอบเพียงวิชาเดียว คือ OPM692
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
*** ระบุรายงานสรุปผลการทวนสอบ

*** หลักฐาน มคอ.4 ไม่มีการรายงานผลการทวนสอบ และควรมีการทวนสอบรายวิชาอื่น ๆ หรืออย่างน้อนร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอน
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ ปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ ได้จัดทําแผน ปรับปรุงการดําเนินงานตามที+ คณะกรรมการตรวจสอบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปี การศึกษา 2563 ให้ข้อแนะนําดําเนินงานที+ รายงานใน มคอ.7

ผศ.ดร.รัชนี การพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จะต้องพิจารณาจากการรายงาน ผลการดำเนินงาน (มคอ.7) ในปีการศึกษาที่ผ่านมา (ปี 64)  
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
*** ควรเสนอหลักฐานตามที่เสนอในหน้า 75-78 ซึ่งจะสอดคล้องกับ มคอ. 3 และ 4 ในปี 65
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีอาจารย์ใหม่ 1 คน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
*** เพิ่มหลักฐานที่มีการรายงานว่าได้ดำเนินการจัดการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่อย่างไร และควรมีอาจารย์พี่เลี้ยงดูแล แนะนำ และให้คำปรึกษาแก่อาจารย์ใหม่ที่ไม่มีประสบการณ์การสอน
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบุจำนวนบุคลากรสายงานสนับสนุนของหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
รายการหลักฐานเป็นความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการบริหารหลักสูตร ตาม ตบช 3.3
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.44
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
16. จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตาม กำหนดระยะเวลาของหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนนักศึกษาที่คงอยู่ในชั้นปี ที่ 2
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
17. จํานวนนักศึกษาที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพในครั้งแรกไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-จำนวนนักศึกษาในหลักสูตรฯ ที่จบปีการศึกษา 2565 ทั้งหมด  56  คน สมัครสอบทั้งหมด 52 คน ผลการสอบผ่านทั้งหมด 37 คน คิดเป็นร้อยละ 71.15
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
18. ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตไม่น้อย กว่า3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
19. ร้อยละของนักศึกษามีงานทําภายใน 1 ปี หลังสําเร็จการศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
20. บัณฑิตที่ได้งานทําทุกคนได้รับเงินเดือน เริ่มต้นไม่น้อยกว่าเกณฑ์ที่ ก.พ. กําหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 20 4.75
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 19
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 95.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.44 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.รัชนี หลักสูตรมีการปรับสิ่งสนับสนุนการเรียนภาคปฏิบัติของนักศึกษา โดยมีการปรับระบบการจัดเก็บข้อมูลในคลินิกจากกระดาษ มาเป็นโปรแกรมการเก็บข้อมูล และได้มีการปรับปรุงโปรแกรมให้สามารถ upload ข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น ช่วยสนับสนุนนักศึกษาในการปฏิบัติงานของนักศึกษาได้ และนักศึกษาได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการทำงานด้วย ควรมีการติดตามผลของการใช้โปรแกรม อาจเป็นความพึงพอใจหรือผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา เปรียบเทียบกัลผลลัพธืในปี 64 ว่าดีขึ้นหรือไม่ อย่างไร หากดีขึ้นและมีรายงานไว้ชัดเจน สามารถให้ 4 คะแนนได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.ภญ.ทิพย์สุชน ควรเพิ่มรายละเอียดของการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิตอล เช่น ฐานข้อมูลที่ใช้ในการสืบค้น
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดร.วัชรินทร์ ขอให้ระบุ กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. มีการออกแบบหลักสูตรที่เน้นความร่วมมือของสถานฝึกงาน และภาคเอกชน
  2. มีกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาที่เน้นการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการอย่างชัดเจน
  3. บัณฑิตมีคุณภาพสูง มีอัตราการมีงานทำสูง และผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจ
  4. คุณภาพบัณฑิตดีมาก ผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจในระดับดีมาก และเป็นที่ต้องการของสังคม ควรเพิ่มอัตราการสำเร็จของผู้เรียน
  5. มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาทางวิชาการและวิชาชีพที่หลากหลาย ทำให้นักศึกษามีความพร้อมในการทำงานในสาขาของตน และมีคุณลักษณะต่าง ๆ ที่เหมาะสม เป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ควรเพิ่มกิจกรรที่ส่งเสริมการทำวิจัยและนวัตกรรม
  6. เห็นถึงความพยายามในการพัฒนาอาจารย์ และมีผลสำเร็จระดับหนึ่ง ควรมองหากลยุทธ์ในการเร่งรัดการพัฒนาอาจารย์อย่างต่อเนื่อง
  7. มีแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาดี โดยเฉพาะการฝึกปฏิบัติงาน ควรใช้ประโยชน์แหล่งสนับสนุนเหล่านี้ในการเสริมการเรียนรู้แก่นักศึกษาที่มีผลการเรียนรู้ภาคปฏิบัติไม่ดีได้ เพื่อแก้ปัญหาการถอนวิชาหรือไม่ผ่าน

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. รักษาอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาในหลักสูตร
  2. ปรับปรุงกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาตามข้อมูลป้อนกลับจากผู้่เรียน
  3. เร่งพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้งทางด้านวิชาการ/วิชาชีพ
  4. เพิ่มอัตรการคงอยู่และอัตราการสำเร็จของนักศึกษา ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการรับ กระบวนการเตรียมความพร้อม กระบวนการดูแลให้คำปรึกษา กระบวนการเรียนการสอน ฯลฯ ทั้งนี้ต้องศึกษาวิเคราะ์ให้รู้ปัจจัยสาเหตุ และปรับปรุงกระบวนการที่เฉพาะเจาะจง
  5. ปรับปรุงกระบวนการจัดเรียนการสอนและการประเมินผล ให้เป็นวงจรการพัฒนาคุณภาพที่แท้จริง และปรากฎชัดเจนใน มคอ. 3/4 มคอ. 5/6 และ มคอ. 7 มีการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ และเสนอผลพร้อมแนวทางการปรับปรุงครั้งต่อไป ใน มคอ.5/6 ผลการประเมินและแนวทางการปรับรุงใน มคอ.5/6 ทุกรายวิชาจะรวบรวมไว้ใน มคอ. 7 เมื่อจะวางแผนรายวิชา (มคอ.3/4) ในครั้งต่อไปจะนำผลการประเมินและแนวทางการปรับปรุงมาใช้ และติดตามผลลัพธ์ต่อไปว่าดีขึ้นหรือไม่ ต่อเนื่องเช่นนี้เป็นวงจรคุณภาพ
  6. เร่งรัดการพัฒนาอาจารย์ ทั้งคุณวุฒิ ตำแหน่งทางวิชาการ และการผลิตผลงานทางวิชาการ และพัฒนาอาจารย์ให้มีศักยภาพในการวิจัย

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.72
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 0.56
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.75
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.23

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.86 4.86 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 2.67 - - 2.67 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 2.52 - - 2.52 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 3.00 3.58 - 3.44 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 2.65 3.44 4.86 3.23 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก