รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

วันที่ประเมิน: 10 กรกฏาคม 2566, 13:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก ทั้ง 3 คน โดยมีตำแหน่งวิชาการ 1 คน มีคุณวุฒิสัมพันธ์ 1 คน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก ทั้ง 3 คน โดยมีตำแหน่งวิชาการ 1 คน มีคุณวุฒิสัมพันธ์ 1 คน  มีผลงาน ในรอบ 5 ปี จำนวนมากกว่า  3 ชิ้น และส่วนใหญ่จะเป็นผลงานวิจัย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอก ทั้ง 10 คน  โดยมีตำแหน่งวิชาการ  6 คน แต่ละคนมีผลงานในรอบ 5 ปี จำนวน 3 ชิ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 4 คน โดยมีตำแหน่งวิชาการ จำนวน 2 คน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 4 คน  โดยมีตำแหน่งวิชาการ 2 คน  และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ที่เป็น อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 4 คน โดยมีตำแหน่งวิชาการ รศ. 1 คน  ผศ. 1 คน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย   อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ที่เป็น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จำนวน 3 คน โดยมีตำแหน่งวงิชาการ  ศ. 1 คน รส. 1 คน และ ผศ. 1 คน มีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง  มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แผน ก1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
แผน ก2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
แผน ข รายงานการค้นคว้าหรือส่วนหนึ่งของการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ปัจจุบันเป็นฉบับปรุง พ.ศ. 2565  ดังนั้นปรับปรุงครั้งต่อไปปีการศึกษา 2569
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 13 4.74
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 8
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.74
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- บัณฑิตได้รับคะแนนประเมินสูงในทุกด้าน ซึ่งอาจมีข้อสังเกตบางด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าด้านอื่น อาจนำมาใช้กำหนดเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาด้านดังกล่าว
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 29 0 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 17.40 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 27
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 64.44
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในปีการศึกษาต่อไป ควรมีการสนับสนุนให้ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 เพิ่มขึ้น และการตีพิมพ์ในวารสารที่หลากหลายมากขึ้น 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.87 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกการรับนักศึกษา โดยมีการประชุมคณะกรรมการหลักสูตร มีการวางเกรฑ์การรับสมัคร คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ และมีการดำเนินการตามระบบและกลไก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การประเมินระบบและกลไกที่นำเสนอ ยังไม่ชัดเจน ว่า การที่ได้นักศึกษาน้อยกว่าเป้าที่ตั้งไว้ เกิดจากระบบ กลไก หรือการนำระบบกลไกไปใช้ อย่างไร  อาจจะให้อาจารย์ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องช่วยกันประเมิน  ส่วนการเพิ่มเกณฑ์การสัมภาษณ์เพื่อทดสอบภาษาอังกฤษ จะเป็นระบบ กลไก ที่ใช้ในปีการศึกษา 2565 ซึ่งเกิดจากการพบปัญหาในการรับปี 2563 และ 2564 หรือไม่  ถ้าต้องการเห็นชัดว่า มีระบบ กลไก มีการนำระบบกลไกไปใช้  ประเมินระบบและกลไกล และ มีการปรับปรุงระบบและกลไก ควรปรับการเขียน เป็น การรับนักศึกษา ปี 2563 มีระบบกลไก มีการนำระบบกลไกไปใช้ (ได้จำนวนนักศึกษาอย่างไร ) ประเมินระบบกลไก (ได้นศ.น้อยกว่าเกณฑ์ จะปรับระบบกลไก อย่างไร ) การรับนักศึกษา ปี 2564 นำจุดเด่นระบบกลไก และจุดปรับปรุง มาใช้  แล้วประเมินต่อไปอีก ทำซ้ำรอบ การรับนักศึกษา ปี 2565  
- ควรกำหนดวางแผนกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษา และตรวจสอบประเด็นจำนวนนักศึกษาคงอยู่ที่มีการเปลี่ยนแปลงให้มีแนวโน้มที่ดีขึ้น 
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไก  โดยแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการดำเนินงาน แต่ควรเสริมเรื่องการประเมินระบบ กลไก วิธีการนำกลไก และการปรับปรุงระบบกลไก และนำการปรับปรุงไปใช้ต่อไปอย่างรูปธรรม
- มีระบบและกลไกการเตรียมความพร้อมโดยเฉพาะด้านภาษา และ การทำรายงานวิจัยเป็นสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อาจจะเริ่มด้วยการสำรวจด้วยแบบสำรวจว่ามีนักศึกษาที่เข้าใหม่ขาดความพร้อมในด้านใดด้านหนึ่ง เช่น ด้านภาษาอังกฤษ ด้านการทำวิจัย ฯลฯ หลักสูตรกำหนดระบบและกลไกเพื่อจะเสริมด้านที่ขาดให้กับนักศึกษา โดยมีคณะกรรมการตามที่หลักสูตรกำหนด  วิธีการนำระบบกลไกไปใช้ (ผลการดำเนินงาน) อาจจะเขียนเป็นครอสเรียน pre-thesis ครอสภาษาอังกฤษสำหรับป.โทเบื้องต้น ซึ่งไม่ได้เป็นรายวิชาที่ลงทะเบียน  ดำเนินการ จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม  ให้อาจารย์หลักสูตร/คณะกรรมการประเมินระบบกลไก ส่วนนักศึกษาอาจจะประเมินในลักษณะมีความพร้อมที่จะเรียนเนื่องจากได้รับความรู้พื้นฐานแล้ว  ดำเนินซ้ำเป็น  รอบปีการศึกษาจะทำให้ประเมินตัวบ่งชี้กระบวนการได้ชัดเจนมากขึ้น
- การเตรียมความพร้อม จะมีความสัมพันธ์กับอัตราคงอยู่ของผู้เรียน หลักสูตรอาจกำหนดกลยุทธ์ที่มาจากการมีส่วนร่วมระหว่างอาจารย์ ลูกศิษย์ทั้งเก่าและปัจจุบัน หรือเครือข่ายอื่นๆ เพื่อร่วมมือการวางแผนกำหนดแนวทางการเพิ่มจำนวนนักศึกษาและรักษาอัตราการคงอยู่
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีการส่งเสริมการพัฒนานักศึกษาจนสำเร็จการศึกษาเป็นจำนวนมาก และมีผลงานการเผยแพร่ในวารสารที่อยู่ใน ฐาน TCI เป็นจำนวนมาก
2. หลักสูตรมีการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาโดยจัดกิจกรรมหลากหลาย เช่น ระบบเพื่อนช่วยเพื่อน  การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนบทความวิจัย ฯลฯ ส่งผลให้นักศึกษาสามารถเขียนบทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารจำนวนมาก
3. หลักสูตรสร้างสรรค์ผลงานวิจัยที่ทันสมัยและได้รับการเผยแพร่ได้ครบทันเวลาทุกคน แสดงถึงความสามารถในการสงเสริมการเผยแพร่ผลงานให้สอดคล้องกับระยะเวลาการสำเร็จการศึกษาได้อย่างดี
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีผลงานการเผยแพร่ในวารสารที่อยู่ใน ฐาน TCI เป็นจำนวนมาก และได้รับการยอมรับ  มีการกำกับดูแลการทำวิทยานิพนธ์ที่เป็นไปตามระยะเวลาการศึกษาทำให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาได้อย่างมีคุณค่า
2. มีระบบและกลไก แต่ผลดำเนินการอาจจะยังไม่มีผลสำเร็จมากนัก ถ้าเชื่อมโยงไปที่อัตราการสำเร็จการศึกษา


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีนักศึกษาต่างชาติที่เรียนและทำวิทยานิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษ ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในฐานนานาชาติ
- ควรมีการประเมินระบบและกลไกที่ดำเนินการอย่างเข้มข้น เพื่อหาจุดที่ต้องปรับปรุงระบบกลไก ที่จะนำไปสู่การพัฒนาระบบ กลไก จะส่งผลให้นักศึกษามีอัตราการสำเร็จการศึกษาเพิ่มขึ้น
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-  มีการจัดอบรมในแต่ละด้าน เช่น ด้านภาษาอังกฤษ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการวิจัย ฯลฯ
- หลักสูตรส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 ในด้นภาษาอังกฤษ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการวิจัย พร้อมมีการประเมินผลจากความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2548 เป็นหลักสูตร 2 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2549)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 91.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 97.50
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 92.30
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ข้อสังเกต นักศึกษามีอัตราคงอยู่ในระดับสูง 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ถ้าจำนวนคงอยู่สูงเป็นนักศึกษาไม่สำเร็จการศึกษาในกำหนดเวลา  หลักสูตรจะต้องมีระบบและกลไกที่จะส่งเสริมให้นักศึกษาสำเร็จภายในเวลา
- ควรประชุมพิจารณาร่วมกันถึงประเด็นสำคัญที่ส่งผลต่ออัตราการคงอยู่ และวางแผนนำแนวทางนั้นมาปรับพัฒนาต่อไป
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 8.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 17.90
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ข้อสังเกต อัตราการสำเร็จการศึกษาน้อยกว่า  20% ในแต่ละปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ระบุเหตุผลที่ได้จากการสำรวจว่าเหตุผลใดที่ทำให้นักศึกษาไม่สำเร็จการศึกษาในเวลาที่กำหนด เพื่อหลักสูตรจะนำมาหาแนวทางปรบปรุง 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.79
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.98
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.99
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียนหลายช่องทาง เช่น line หรือการเข้าพบ ผอ.หลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรแต่งตั้งคณะกรรมการรับข้อเรียกร้องของนักศึกษา จะช่วยในกรณีที่เพิ่มบุคลากรที่นักศึกษาสามารถเข้าพบได้มากเพราะจำนวนนักศึกษามาก 
- ขอให้หลักสูตรนำเสนอจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าว
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ ที่ดี ส่งผลถึงอัตราคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ผลงานวิจัยของอาจารย์ (โดยไม่รวมถึงผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา) มีแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ จึงทำให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณค่าชัดเจนเป็นรูปธรรม
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรมีกระบวนการรับอาจารย์ใหม่ และได้อาจารย์ไหม่ที่มีคุณสมบัติตรง น่าจะเพิ่มเติมในจุดนี้เพื่อแสดงให้เห็นฯถึงศักยภาพของหลักสูตรที่มีความเข้มแข็งเรื่องอาจารย์ และมีการเตรียมอาจารย์ให้เพียงพอต่อนักศึกษา
2. หลักสูตรฯ มีระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ อยา่งเป็นระบบในการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานในระดับคณะ และในระดับมหาวิทยาลัย จึงทำให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณค่าชัดเจนเป็นรูปธรรม
3. เขียนการรายงานการเตรียมอาจารย์ใหม่ทีมีคุณวุฒิตรง และผลลัพธ์ที่ได้คือ หลักสูตรได้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติตรงเพื่อรองรับการเรียนการสอนและการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในปี 2566 จะทำให้หลักสูตรเข้มแข็งขึ้น 


 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- คำแนะนำ การเขียนอธิบายในหัวข้อตัวบ่งชี้กระบวนการ ประกอบด้วยรายละเอียดของ ระบบและกลไก----วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้---ผลการดำเนินงาน------ประเมินจุดดี จุดด้อยของระบบและกลไก โดยผู้ใช้งานระบบและกลไก (ควรจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร) -----นำจุดดีเก็บไว้เพื่อใช้ในปีการศึกษาต่อไป---จุดด้อยจะปรับปรุงอย่างไร แล้วนำไปใช้ในปีต่อไป ในแนวทางที่ต้องการปรับปรุง---ประเมินระบบและกลไกซ้ำ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรอธิบายรายละเอียดชัดเจน แต่ควรเขียนบรรยายเพิ่มเติมในลักษณะตัวบ่งชี้กระบวนการ
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีการดำเนินงานที่เห็นได้ชัดเจน และสมควรดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เพิ่มระดับตำแหน่งทางวิชาการให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป
- คำแนะนำ การเขียนอธิบายในหัวข้อตัวบ่งชี้กระบวนการ ประกอบด้วยรายละเอียดของ ระบบและกลไก----วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้----ผลการดำเนินงาน------ประเมินจุดดี จุดด้อยของระบบและกลไก โดยผู้ใช้งานระบบและกลไก (ควรจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือ อาจารย์ประจำหลักสูตร) -----นำจุดดีเก็บไว้เพื่อใช้ในปีการศึกษาต่อไป---จุดด้อยจะปรับปรุงอย่างไร แล้วนำไปใช้ในปีต่อไป ในแนวทางที่ต้องการปรับปรุง---ประเมินระบบและกลไกซ้ำ
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานวิจัยทุกคน (โดยไม่รวมถึงผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา) 
-มีแผนพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการอย่างชัดเจน

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรส่งเสริมให้ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล  TCI กลุ่ม 1 เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการต่อไป
- ขอให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สร้างความยั่งยืนในการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์มีคุณวุฒิปริญญาเอกทั้ง 3 คน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 2.08
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 2
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 33.33
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 80 2.08
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีตำแหน่งวิชาการ 1 คน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- คาดว่าหลักสูตรจะมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการในปีการศึกษาต่อไป เนื่องจากมีอาจารย์ผลงานวิจัยจำนวนมากเพียงพอต่อการขอตำแหน่งวงิชาการ
- ควรกำหนดแนวทางเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ทุกท่านได้เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการต่อไป
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 28 1 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 17.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 586.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-มีจำนวนผลงานวิชาที่เผยแพรีตัพิมพ์วารสารจำนวนมาก
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มจำนวนบทความที่เผยแพร่ในฐานข้อมูล  TCI กลุ่ม 1 มากขึ้น 
- ควรส่งเสริมให้อาจารย์ได้สร้างสรรค์ผลงานวิชาการที่เป็นส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.03 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรฯมีการรายงานการดำเนินงานครบทุกประเด็นตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ และมีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นในด้านผลที่เกิดขึ้นทุกประเด็น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หาแนวทางหรือกลยุทธ์ในการรักษาการคงอยู่และระดับความพึงพอใจและนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงเพื่อรักษาอัตราที่ดีดังกล่าวไว้
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่มีการเปลี่ยนแปลงทำให้การดำเนินการของหลักสูตรต่อเนื่อง ทำให้มีผลดีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.01 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

9
9
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ผลการดำเนินงานเรื่องการสอบผ่านใบประกอบวิชาชีพครู (น.132) ผลการดำเนินงานยังไม่ดี
- แต่อย่างไรก็ตาม มีคำแนะนำ การเขียนอธิบายในหัวข้อตัวบ่งชี้ที่วัดกระบวนการ ประกอบด้วยรายละเอียดของ ระบบและกลไก----วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้----ผลการดำเนินงาน------ประเมินจุดดี จุดด้อยของระบบและกลไก โดยผู้ใช้งานระบบและกลไก (ควรจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือ อาจารย์ประจำหลักสูตร) -----นำจุดดีเก็บไว้เพื่อใช้ในปีการศึกษาต่อไป---จุดด้อยจะปรับปรุงอย่างไร แล้วนำไปใช้ในปีต่อไป ในแนวทางที่ต้องการปรับปรุง---ประเมินระบบและกลไกซ้ำ
- อาจนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับที่มาของแนวทางการปรับปรุงให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจนมากขึ้น
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ขอให้เพิ่มเติมการนำเสนอข้อมูลให้แสดงถึงผลลัพธ์ที่กำหนดที่แสดงให้เห็นชัดเจน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีการวางระบบผู้สอน และ มีการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านการวางแผนอยา่งเป็นระบบ ทำให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาได้มากขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการวางระบบผู้สอน และ มีการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านการวางแผนอยา่งเป็นระบบ สอดคล้องกับความรู้ความสามารถ และ ความเชี่ยวชาญของผู้สน  ทำให้นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาได้มากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการกำกับดูแล ช่วยเหลือ นักศึกษาในการเผยแพร่ผลงานให้เผยแพร่ในวารสารระดับชาติที่ได้รับการยอมรับ และ อาจสนับสนุนให้เผยแพร่ในระดับสากลมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีระบบและกลไก แต่ยังไม่เห็นผลการปรับปรุงชัดเจนเป็นรูปธรรม
- ยังไม่พบการนำเสนอ (การเขียน) ระบบและกลไก----วิธีการดำเนินงานตามระบบกลไกที่ตั้งไว้----ผลการดำเนินงาน------ประเมินจุดดี จุดด้อยของระบบและกลไก โดยผู้ใช้งานระบบและกลไก (ควรจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือ อาจารย์ประจำหลักสูตร) -----นำจุดดีเก็บไว้เพื่อใช้ในปีการศึกษาต่อไป---จุดด้อยจะปรับปรุงอย่างไร แล้วนำไปใช้ในปีต่อไป ในแนวทางที่ต้องการปรับปรุง---ประเมินระบบและกลไกซ้ำ ที่ชัดเจน
- หลักสูตรควรประเมินให้ครอบคลุมผลลัพธ์ 3 ด้านโดยให้อ้างอิงตามเล่ม มคอ.2 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรฯ มีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินหลักสูตรได้ครอบคลุมทุก มคอ.
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้กำหนดตัวชี้วัดในการประเมินผลงานวิจัยของนักศึกษาร่วมกัน จากบริบทที่เฉพาะของหลักสูตร และ มีการดำเนินการตามแผนที่วางไว้ได้อย่างมีคุณค่า ทำให้ นักศึกษาสามารถสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณค่าและได้รับการเผยแพร่ในฐานข้อมูลที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มเติมข้อมูลที่แสดงถึงการดำเนินการแบบมีส่วนร่วมจากคณาจารย์ในหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในหัวข้อนี้ หลักสูตรสามารถรวบรวมมคอ. 3 และ 4 ในไฟล์ .pdf เป็นเอกสารหลักฐาน แทน การใช้รูปหน้าปกของสำนักวิชาการ หรือใช้เป็นLink https://academic.rsu.ac.th/tqf/index.php  เข้าสู่ระบบฐาน TQF 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในหัวข้อนี้ หลักสูตรสามารถรวบรวมมคอ. 5 และ 6 ในไฟล์ .pdf เป็นเอกสารหลักฐาน แทน การใช้รูปหน้าปกของสำนักวิชาการ หรือใช้เป็นLink https://academic.rsu.ac.th/tqf/index.php  เข้าสู่ระบบฐาน TQF 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรนำเสนอข้อมูลที่เป็นรูปธรรมในการดำเนินการด้านทรัพยากรเพิ่มเติม
- หลักสูตรควรเขียนในลักษณะที่มีระบบและกลไกของหลักสูตร เพื่อนำกลไกไปปฏิบัติจะประเมินกลไกนั้นได้ ตัวอย่างการเขียน  
ระบบและกลไก
  • หลักสูตรมีการประชุมในแต่ละวาระอยู่แล้ว ในวาระนั้นอาจจะยกประเด็นเรื่องของความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ได้ข้อมูลจากอาจารย์หรือนักศึกษาในหลักสูตร จากการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือ จากแบบสอบถาม
  • รวบรวมรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ต้องการซื้อ ซ่อมแซม บำรุงรักษาในปีการศึกษา 2565 เพื่อจัดทำรายการงบประมาณโดยอาจจะมีแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานให้ อ.ผู้รับผิดชอบ เลขาหลักสูตรเป็นกรรมการ หรือกำหนดบุคคลรับผิดชอบ
  • หลักสูตรเสนอของบประมาณจากคณะฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำดับขั้น
การนำระบบไปสู่การปฏิบัติ
  • จัดซื้อ จัดจ้าง จัดซ่อมบำรุง ตามรายการที่นำเสนอและได้รับอนุมัติงบประมาณ  
  • คณะกรรมการหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ตรวจสอบรายการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ต้องการซื้อ ซ่อมแซม บำรุงรักษาที่ได้รับ บันทึกข้อมูลไว้สำหรับการดำเนินงานในปีการศึกษาต่อไป
การประเมินกระบวนการ
  • มีการประเมินกระบวนการว่าการดำเนินการตั้งแต่การตั้งระบบ กลไก จนถึงการนำไปปฏิบัติ ประสบผลสำเร็จอย่างไร มีข้อขัดข้อง หรือไม่เช่น ถ้าทุกอย่างได้ตามที่กำหนดไว้ แสดงว่าระบบ กลไก สามารถนำไปใช้ได้ในปีการศึกษาต่อไป  ถ้ามีข้อขัดข้องในส่วนการประสานงานส่วนไหน จะนำไปปรับปรุงระบบ กลไก หรือมีการดำเนินในปีต่อไป
  • เป็นแบบประมาณที่ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ในหลักสูตรประเมินระบบและกลไก
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรใช้กลุ่ม line และ WeChat เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร และใช้  Social Network และ website  เป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในยุคนี้
- มีการจัดเจ้าหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบเมื่อมีปัญหาในการใช้สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีนักศึกษานานาชาติเป็นจำนวนมาก
  2. มีการเผยแพร่ผลงานในฐานข้อมูลที่ได้รับการยอมรับ อาจารย์ของหลักสูตรเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีความพยายามในการดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณค่าในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม
  3. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีการส่งเสริมให้นักศึกษาเผยแพร่วิทยานิพนธ์ในรูปแบบการตีพิมพ์ในวารสารจำนวนมาก
  4. อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการอย่างสม่ำเสมอมีแนวโน้มที่จะเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการตามที่หลักสูตรได้กำหนด KPI ไว้
  5. จากข้อมูลนักศึกษาที่รับเข้าตั้งแต่ปี 2562-2565 แสดงว่าเป็นหลักสูตรที่สนองต่อความต้องการ/ความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย แนวโน้มสามารถรับนักศึกษาได้เพิ่มขึ้น (เมื่อมีการปรับปรุงหลักสูตรในครั้งต่อไปโดยกำหนดเกณฑ์ตาม มคอ.2)

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรฯ ควรมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในฐานนานาชาติและ TCI 1 ให้มากขึ้น
  2. หลักสูตรควรกำหนดกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษา และ กลยุทธ์ในการรักษาอัตราคงอยู่ให้มีแนวโน้มสูงขึ้น สนับสนุนการผลิตผลงานวิชาการของอาจารย์ในระดับบุคคลมากขึ้น แผยแพร่ผลงานในระดับสากลมากขึ้น
  3. หลักสูตรควรเพิ่มจำนวนนักศึกษาไทยให้มากขึ้น เพื่อสอดคล้องกับจำนวนรับที่ได้รับอนุมัติจากคุรุสภา

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.74
2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และหรือเผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.03
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.83

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.87 4.87 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.01 - - 4.01 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.58 3.75 4.87 3.83 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก