รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

วันที่ประเมิน: 7 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ครบตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของสป.อว. พ.ศ.2558
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ข้อมูลครบถ้วนในการแสดงคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ข้อมูลแสดงคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตรครบถ้้วนตามเกณฑ์มาตรฐานของสป.อว.พ.ศ.2558
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
ข้อมูลแสดงคุรสมบัติของอาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานสป.อว.พ.ศ.2558
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ข้อมูลแสดงคุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักได้ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานของสป.อว.พ.ศ.2558
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักฐานหมายเลข บศม.1.1.07 เอกสารประวัติและผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ไม่ครบถ้วนในการบ่งบอกคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อมูลแสดงผลงานวิชาการของกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ที่เป็นผู้ทรงคคุณวุฒิภายนอก
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แผน ก1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
แผน ก2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการ (proceedings)
แผน ข รายงานการค้นคว้าหรือส่วนหนึ่งของการค้นคว้าอิสระต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ช้อมูลแสดงการเผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2565 ครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานของสป.อว.พ.ศ.2558
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของสป.อว.พ.ศ.2558
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 15 4.92
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 15
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.92
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. การดำเนินการเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
2. หลักสูตรสามารถติดตามประเมินความก้าวหน้าและความสำเร็จของักศึกษาได้เต็มร้อยละร้อยของจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ด้วยคะแนนเฉลี่ยที่ 4.92 ซึ่งเป็นจุดเด่นและตัวอย่างที่ดีของ ระบบ กลไกและการดำเนินงาน
3. หลักสูตรมีการดำเนินงานที่ครอบคลุมทักษะผลการเรียนรู้ครบทั้ง 5 ด้าน พร้อมผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานอุดมศึกษา 2561  ส่งผลให้ได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บัณฑิตอยู่ในระดับดีมาก  ควรใช้กลยุทธ์ในการดูแลนักศึกษาได้อย่างดี มาเป็นแนวทางประชาสัมพันธ์ เพื่อเพิ่มจำนวนนักศึกษาในหลักสูตรให้เป็นตามแผนการรับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรอาจสร้างเครือข่ายกับผู้ใช้บัณฑิต เพื่อร่วมกันวางแผนกลยุทธ์ให้ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการ (มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 13 4 0
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 11.00 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 12
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 91.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. คุณภาพของการเผยแพร่ผลงานวิชาการของผู้สำเร็จการศึกษาและนักศึกษาของหลักสูตรในปีการศึกษา 2565 อยู่ในระดับดีมาก 
2. นักศึกษาของหลักสูตรสามารถตีพิมพ์ในวารสาร TCI 1 และ TCI 2 ทั้งหมด สะท้อนถึงการสร้างมาตรฐานที่ดีของหลักสูตรในการการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการโดยการตีพิมพ์ทั้งหมด
3. หลักสูตรได้ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เผยแพร่ในฐาน ที่ได้รับการยอมรับและเป็นไปตามเกณฑ์วิทยานิพนธ์ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรได้รับการส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพของผลงานวิชาการของผู้สำเร็จการศึกษาและนักศึกษาของหลักสูตรให้เข้าสู่การเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ
2. อาจนำเสนอผลงานในระดับสากลต่อไป
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.96 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบ และกลไก รวมถึงการดำเนินงานที่วางเป้าหมายในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายในการเตรียมความพร้อมสำหรับทั้งนักศึกษาคนไทยและนักศึกษาคนจีน โดยมีเป้าหมาย คือ ความมีศักยภาพในการทำวิจัย ความมีศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับการทำวิจัย และมีศักยภาพในการเรียน โดยเฉพาะสำหรับนักศึกษาคนจีนที่ได้รับการฝึกความพร้อมในการใช้ภาษาไทยสำหรับการเรียนและการทำวิจัย ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นคืออัตราการคงอยู่ของนักศึกษามีสัดส่วนที่มากขึ้น และคุณภาพงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาได้รับการยอมรับในการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติเป็นจำนวนมากขึ้น รวมทั้งยังเป็นที่ยอมรับในการที่หลักสูตรได้รับจากคุรุสภาคือการได้รับการรับรองหลักสูตรจากคุรุสภา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-ดังที่กล่างวางต้นสำหรับหลักสูตรไหนที่ได้ใบรับรอง ในทุกๆ 5 ปีจะเกิดกรณีที่มีเงื่อนไขที่นักศึกษาต้องนำไปพิจารณาเพื่อสมัครเข้าเรียนจากคุรุสภาในการรับรองหลักสูตร ซึ่งในปี 2565 เป็นปี่ที่ 5 จึงเป็นเรื่องที่ต้องยอมรับในสถานการณ์หากแต่มีการจัดการปัญหาได้เด่นชัด 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรมีการจัดทำสื่อในการประชาสัมพันธ์ความเด่นของหลักสูตรทั้งในเรื่องการมีใบประกอบวิชาชีพด้านการบริหารการศึกษาและกระบวนการเรียนการสอน
2. อาจจะโฆษณาประชาสัมพันธ์เพิ่มในเรื่องการได้รับการรับรองอีก 4 ปีเต็ม และสามารถคงมาตรฐานนี้ ได้เพราะมีความพร้อมสูง
3. ควรสร้างระบบเครือข่ายมาใช้ในการแสวงหา / ประชาสัมพันธ์หลักสูตร เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สมัครเข้าเรียนให้มากขึ้น หรือให้เป็นไปตามแผนการรับนักศึกษา
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
1. การมีกิจกรรมต่างๆเพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาในด้านต่างๆที่จำเป็นสำหรับการเรียนและการทำวิจัย ได้แก่ การเพิ่มทักษะในการใช้ภาษาไทยสำหรับนักศึกษาต่างชาติ การให้ความรู้เรื่องบริหารการศึกษาในสถานศึกษา เป็นต้น
2. มีระบบ กลไก และการดำเนินงานที่ทำให้นักศึกษาไทยและจีนเรียนร่วมกันอย่างไม่มีปัญหาราบรื่นตามมาตรฐาน 
3. หลักสูตร มีการเตรียมความพร้อมที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ทำให้มีอัตราการคงอยู่สูงขึ้นต่อเนื่อง

แนวทางเสริม
ควรมีการให้ความชัดเจนในเรื่องผลที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลที่ดีขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรหาแนวทาง / วิธีการ / จุดแข็๋ง ที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบ และกลไก รวมถึงการดำเนินงานที่วางเป้าหมายในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายในการส่งเสริมและพัฒนาสำหรับทั้งนักศึกษาคนไทยและนักศึกษาคนจีน โดยมีเป้าหมายคือ ความมีศักยภาพในการทำวิจัย ความมีศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับการทำวิจัย และมีศักยภาพในการเรียน  ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นคืออัตราการคงอยู่ของนักศึกษามีสัดส่วนที่มากขึ้น และคุณภาพงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาได้รับการยอมรับในการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติเป็นจำนวนมากขึ้น รวมทั้งยังเป็นที่ยอมรับในการที่หลักสูตรได้รับจากคุรุสภาคือการได้รับการรับรองหลักสูตรจากคุรุสภา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การมีกิจกรรมที่หลากหลายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษามีความเข้าใจในการทำงานวิจัย จนเข้าสู่กระบวนการทำวิทยานิพนธ์ และพบความสำเร็จของการทำวิทยานิพนธ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. อาจมีการจัดทำไฟล์รายงานความก้าวหน้าของการให้คำปรีกษาต่อหลักสูตร
2. การกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษาอาจยังไม่กระจายเท่าใดนัก ตรวจสอบจำนวนอาจารย์ และ นักศึกษาให้สอดคล้องตามเกณฑ์อีกครั้ง 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การมีกิจกรรมที่หลากหลายในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสิรมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ทักษะการใช้เทคโนโลยีสสารสนเทศ เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จุดเด่น
- การมีกิจกรรมที่หลากหลายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างผลงาวิจัยที่นำไปสู่การใช้ประโยชน์ต่อสังคมในวงการศึกษา และนำไปสู่การเผยแพร่ผลงานให้เป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจ

แนวทางเสริม
- ควรเพิ่มการบ่งบอกความสอดคล้องของผลงานของนักศึกษาว่าเป็นแนวทางการพัฒนาตามความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัย หรือแนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือแนวทางการพัฒนาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับหน่่วยงานภายนอก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. พัฒนาและต่อยอดอย่างต่อเนื่องตามเทรนด์ที่ทันยุคทันเหตุการณณ์ในลักษณะนี้ของบริหารการศึกษา
2. อาจหาที่ปรึกษาร่วมที่เกี่ยวข้องกับนโยบายทางการจัดการการศึกษา มาร่วมให้คำปรึกษาในการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2550 เป็นหลักสูตร 2 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2551)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 89.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 95.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-  ควรถอดบทเรียนเพื่อพิจารณาหาแนวทางในการรักษาอัตราคงอยู่ให้ยั่งยืนต่อเนื่อง
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 3.40
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. ติดตามนักศึกษารหัส 62 และ 63
2. ควรถอดบทเรียนเพื่อพิจารณาหาแนวทางในการเพิ่มอัตราการสำเร็จการศึกษาให้มากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.92
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.92
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.92
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ควรถอดบทเรียนเพื่อพิจารณาหาแนวทางในการเพิ่มระดับความพึงพอใจในหลักสูตรให้มากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- คะแนนความพึงพอใจค่อนข้างสูงมากในด้านที่ประเมิน อาจปรับปรุงแบบประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 5
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการวิเคราะห์และพัฒนาแผนพัฒนาอาจารย์ทั้งด้านวิชาการและทักษะวิชาชีพที่เกี่ยวข้องการบริหารการศึกษา รวมทั้งการให้ความสำคัญในการบริการวิชาการ และการบริหารอาจารย์ในเรื่องของการจัดรายวิชาการสอนและการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของอาจารย์ผู้รับผิดชอบของหลักสูตร ทำให้เกิดผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565 ที่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ได้แก่ การก้าวเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น การมีผลงานวิจัยที่ได้รับการตอบรับในวารสารระดับนานาชาติ การได้รับทุนวิจัย รวมถึงการได้รับการยกย่องในการเป็นนักบริหารการศึกษาดีเด่นจากการได้รับรางวัลระดับชาติ และการให้ความสำคัญในบริการชุมชน นอกจากนี้ หลักสูตรยังได้มีการจัดการจัดการความรู้ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จและถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัยรังสิต https://hrd.rsu.ac.th/wp-content/uploads/2023/05/%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%9A.8800_111.pdf
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร มีการดำเนินงานร่วมกันในการวางแผนและแต่งตั้ง อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีความรู้ ความสามารถ คุณวุฒิ คุณสมบัติ ที่ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตร 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรได้จัดแผนการบริหารอาจารย์ในทุกภาระกิจของอาจารย์ ได้แก่ การจัดรายวิชาและการจัดงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์ รวมถึงการพัฒนาอาจารย์ในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาระกิจของอาจารย์ตามความต้องการของอาจารย์และหลักสุตร
2. หลักสูตร / วิทยาลัย มีระบบการวางแผนการบริหารอาจารย์อย่างเป็นระบบ ดังปรากฎจากการวางแผนการพัฒนาตนเอง จนเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรมจากผลงานวิชาการ และ ตำแหน่งทางวิชาการที่เพิ่มมากขึ้น และยังได้รับรางวับในระดับประเทศอีกด้วย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรได้วางแผนพัฒนาเพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนอาจารย์ทั้งด้านวิชาการและทักษะวิชาชีพต่างๆ รวมถึงการดำเนินงานตามแผน จนก้าวสู่ความสำเร็จตามแผนที่วางไว้ และการได้รับรางวัลระดับชาติ รวมถึงการมีแนวปฏิบัติที่ดีในเรื่องการสอนด้านบริหารการศึกษาที่ได้รับการรางวัลและการถ่ายทอดผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัยรังสิต
2. หลักสูตรมีระบบการส่งเสริมฯ ที่เห็นผลได้อย่างชัดเจน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรเพิ่มเติมการเข้ารับการอบรมในประเด็นที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับหลักสูตรเพิ่มขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 2.08
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 2
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 33.33
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 80 2.08
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 13 2 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 10.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 346.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.03 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการดำเนินงานครบทุกเรื่อง และมีแน้วโน้มที่ดีขึ้นในทุกด้านอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ควรสร้างความเข้าใจรื่องหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.34 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

16
9
56.25
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีระบบและกลไก รวมถึงการดำเนินการในปรับปรุงสาระรายวิชาและกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับมาตรฐานระดับบัณฑิตศึกษาของสป.อว.และมาตรฐานของคุรุสภา ทำให้ได้รับการรับรองมาตรฐานจากทั้งสป.อว.และคุรุสภา
2. หลักสูตรมีการปรับปรุงรายวิชา 9 ใน 16 ให้มีการพัฒนาทักษะต่างๆโดยปรับปรุงเนื้อหาและวิธีของการเรียนการสอนให้ทันยุคทันเหตุก่ารณ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรมีระบบและกลไกในการวิเคราะห์และพัฒนารายวิชาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันและความต้องการของผู้เรียนและสถานประกอบการ โดยเฉพาะสถานประกอบการที่เป็นสถานศึกษา
2. ได้ทำการปรับปรุงให้เหมาะสมกับบริบทและการบริหารการศึกษาที่สะท้อนความต้องการของผู้เรียนและการประเมินจากผู้ประกอบการ
3. อาจารย์ในหลักสูตรมีการร่วมกันออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน แต่ควรสร้างความร่วมมือกับผู้ใช้บัณฑิตมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. การพัฒนาตามเทรนดฺ์ของทั้งวงการศึกษาไทยและสากล
2. ควรสร้างความร่วมมือกับผู้ใช้บัณฑิตมากขึ้น
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการร่วมกันออกแบบปรับปรุงหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน แต่ควรสร้างความร่วมมือกับผู้ใช้บัณฑิตมากขึ้น ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังปรากฎในคะแนนความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่อยู่ในระดับดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- สร้างการมีส่วนร่วมจากผู้ใช้บัณฑิตให้มากขึ้น
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีความชัดเจนในการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ รวมถึงความเชื่อมโยงกับ TQF
2. มีการกำหนดผลลัพธ์ตามกรอบมาตรฐานคุณวครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตรเพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อสร้างนวัตกร และสร้างพลเมืองที่เข้มแข็งยึดมั่นคุณธรรม จริยธรรม
3. มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เพิ่มการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
มีระบบ กลไก วิธีการดำเนินงานที่ส่งผลเป็นรูปธรรมในการทบววนกระบวนการจัดการเรียนการสอน และผู้รับผิดชอบรายวิชาทั้งวิชาบังคับและวิชาเลือก โดยเน้นผลลัพธ์ที่ได้กับผู้เรียนเป็ยสำคัญ โดยมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมผู้สอนให้เหมาะสมกับความรู้ความเชี่ยวชาญยิ่งขึ้น
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการปรับเปลี่ยนผู้สอนให้เหมาะสมกับแต่ละวิชาอย่างเด่นชัดมีระบบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบ กลไก และวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนในเรื่องการกำกับติดตามในรูปแแบการประชุมและการให้อาจารย์ส่งเอกสารตามระยะเวลาที่กำหนด และครบทุกรายวิชาที่สอดคล้องกับแผนดารเรียนรู้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. มีระบบและกลไกที่เด่นชัดในการจัดอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ให้สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของอาจารย์ รวมถึงการจัดช่วงเวลาในการทำวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามขั้นตอน เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาจัดทำวิทยานิพนธ์ได้เสร็จสิ้นภายในเวลาตามโครงสร้างทำกำหนด
2. เป็นไปตามระบบและกลไก โดยมีการดำเนินงานด้วยการเตรียมพร้อมนักศึกษาตั้งแต่เริ่มเรียนวิชาวิจัยโดยสร้างความคุ้นเคยในการใช้รบบความคืดแบบ high oder thinking และ Research Skills ตั้งแต่เริ่มต้นเรียน และถ้านักศึกาามีความติดขัดในเรื่องความคิดก็ยังมีระบบและกลไกรองรับเพื่อชี้แนะแนวทางและประเด็นที่ควรศึกษา เป็นการสร้างขวัญกำลังใจและความมั่นใจว่านักศุกษาไม่ถูกทอดทิ้ง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบ กลไก และการดำเนินงานที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาความรู้และทักษะให้นักศึกษาสาทารถพัฒนาหัวข้อ เนื้อหา และวิธีการทำวิเจัยอย่างถูกต้องเหมาะสมและตามมาตรฐานและเกณฑ์การเรียนในระดับมหาบัฑิตศึกษาศาสตร ในสาขาวิชาบริหารการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- เป็นไปตามมาตรฐานและเกณฑ์ที่เหมาะสมของระบบและกลไกของหลักสูตรที่กำหนดไว้ ในการดำเนินการควบคุม ดูแลการทำวิทยานิพนธ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการติดตามความก้าวหน้าการทำวิทยานิพนธ์และการเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษา รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้การตีพิมพ์ผลงานของนักศึกษาก้าวสู่ระดับชาติและระดับนานาชาติ ดังแสดงเป็นผลงานที่ตีพิมพ์ทั้งในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. หลักสูตรมีกระบวนการในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ได้รับการปรับปรุงตามสถานการณ์ที่เปลี่ยน ได้แก่จำนวนนักศึกษาที่มากขึน เป็นต้น และพบผลสรุปของการประเมินเป็นการสรุปที่ชัดเจนในผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ของนักศึกษาในการนำไปปฏิบัติจริง
2. มีระบบการประเมินผู้เรียนตามการวัดผลและประเมินผลของมหาวิทยาลัยรังสิต ในระดับบัณฑิตศึกษาพ พ.ศ. 2559 ที่ระบุใน มคอ. 2 และมีกลไก และวิธีการในการใช้การเทียบเคียงผลของการพัฒนาผลของการเรียนรู้และกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่คลอบคลุมผลลัพธ์ทั้งสามด้าน Lerner Person, Co-creator และ Active citizen ได้
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีความชัดเจนในการสรุปผลที่แสดงความสำเร็จในการเรียนรู้ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่แสดงถึงการนำไปใช้จริง รวมถึงการได้รับผลการประเมินในสองมาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการทวนผลสัมฤทธิ์ระดับรายวิชาของนักศึกษาตามาตรฐาน สามารายวิชาโดยเือกสัมภาษณ์นักศึกษาในระดับ A เพื่อ้พิ่มพูนคุณภาพรายวิชาให้มากยิ่งขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การทวนสอบนำมาซึ่งคุณภาพของวิชาที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้้ในชีวิตจริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบบและกลไก รวมถึงกระบวนการของการประเมินวิทยานิพนธ์เป็นไปตามขั้นตอนและชัดเจนในผลของการประเมิน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการทวนสอบ จำนวน 3 รายวิชา คิดเป็นร้อยละ 27.3 ได้แก่ รายวิชา EAD 601 วิจัยทางการบริหารการศึกษา EAD 608 สัมมนาทางการบริหารการศึกษา และ EDA 610 การปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรจัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบเพื่อพิจารณาและจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้ทั้งอาจารย์และนักศึกษาให้สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของทั้งอาจารย์และนักศึกษา และการเรียนรู้ การทำวิจัยของอาจารย์และนักศึกษา โดยเฉพาะความเพียงพอของสิ่งสนับสนุนกรเรียนรู้ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้และการทำวิจัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ควรมีการปรับปรุงสภาพของพื้นที่และอุปกรณ์ที่ใช้เป็นพื้นที่การเรียนการสอน ได้แก่ สภาพน้ำท่วมในห้องเรียน และอุปกรณ์เครื่องฉาย (Projector) เก่า เป็นต้น
2. ระบบสารสนเทศมีความไม่เสถียร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. มีระบบและกลไกรวมถึงกระบวนการในการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษามีผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติ ดังแสดงเป็นผลสำเร็จในจำนวนที่มากขึ้นของผลงานและการได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ
  2. มีระบบและกลไกรวมถึงกระบวนการในการพัฒนาแผนพัฒนาอาจารย์ในด้านการก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการ การทำงานวิจัย และการเพิ่มทักษะวิชาชีพ ดังแสดงเป็นผลสำเร็จในการที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบอยู่ในระหว่างการพิจารณาเพื่อก้าวเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การได้รับทุนวิจัย และผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติ
  3. หลักสูตรได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีส่วนร่วมในการบริการวิชาการของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  4. ผลสำเร็จของการบริหารและพัฒนาอาจารย์มีความเด่นชัดที่อาจารย์ได้รับรางวัลระดับชาติในเรื่อง การบริหารการศึกษา รวมถึงการที่หลักสูตรมีแนวทางในการบริหารการเรียนการสอนที่ได้รับการถ่ายทอดให้อยู่ในระบบการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย
  5. เป็นหลักสูตรที่ได้รับการรับรองจากคุรุสภา
  6. หลักสูตรมีกระบวนการในการดำเนินการจัดกิจกรรมสำหรับการเตรียมความพร้อมของนักศึกษา การพัฒนานักศึกษา ซึ่งส่งผลให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาเพิ่มขึ้น
  7. หลักสูตรมีความทันสมัยตรงต่อความต้องการของผู้เรียนที่นำไปใช้ได้จริงในการทำงานเป็นผู้บริหารทางการศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่องในการดำเนินงานตามแผนพัฒนาให้อาจารย์ก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการมากขึ้น
  2. ควรให้มีการพัฒนามาตรการและแนวทางในการผลักดันให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดของโครงสร้างของหลักสูตรมากขึ้น
  3. เพิ่มกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ หรือ กลยุทธ์การเพิ่มจำนวนนักศึกษา ได้แก่ การประชาสัมพันธ์เรื่องการรับรองหลักสูตรจากคุรุสภา เป็นต้น
  4. พื้นที่ห้องเรียนและอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องเรียน รวมถึงระบบสารสนเทศควรได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสุขภาวะและความคล่องตัวในการจัดการเรียนการสอน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.92
2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์และหรือเผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 5.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.03
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.15

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.96 4.96 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.34 - - 4.34 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 4.00 4.00 4.96 4.15 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก