รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการผลิตดนตรี

วันที่ประเมิน: 4 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ตรวจสอบผลงานย้อนหลังของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ในบางท่านผลงานหมดอายุแล้วในรอบ 5 ปี ( นับจาก 1 มิ.ย. 61 - 31 พ.ค. 66) ให้ตัดออกได้เลยนะคะ เนื่องจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่ละท่านมีผลงานจำนวนมากอยู่แล้ว
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- N/A เนื่องจากใช้เกณฑ์มาตรฐาน พ.ศ. 2548
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- N/A เนื่องจากใช้เกณฑ์มาตรฐาน พ.ศ. 2548
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรได้เปิดดำเนินการเรียนการสอนในครั้งแรกตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 / ปีการศึกษา 2559 และได้ปิดหลักสูตรเมื่อสิ้นภาคการศึกษาที่ 2 / ปีการศึกษา 2562
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 26 4.15
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 7
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.15
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ทั้ง 6 ด้าน ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก โดยเฉพาะด้านทักษะพิสัยที่สอดคล้องกับวิชาชีพด้านดนตรี  
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ผลคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ด้านทักษะทางปัญญาระดับคะแนนอยู่ที่ 3.89  อาจใช้แนวทางส่งเสริมให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหาเมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ ในมิติที่นอกเหนือจากที่คณะจัด เช่น อาจให้นักศึกษาได้สร้างสรรค์ผลงานของตนเอง เพื่อเป็นการผลักดันการแก้ปัญหาและประสบการณ์ที่ตนเองอาจพบเจอหลังจากสำเร็จการศึกษา 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 26 3.61
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 19
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 4
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 9
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 5
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 1
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 72.22
ผลลัพธ์ที่ได้ 3.61
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา มีทั้งได้งานทำในองค์กรจำนวน 4 คนและอาชีพอิสระจำนวน 9 คน รวม 13 คน จากจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาจำนวน 26 คน สามารถคิดเป็นร้อยละ 50 ที่ตอบสนองต่อตลาดแรงงานด้านดนตรีที่มีความหลากหลายในปัจจุบันทั้งด้านหน่วยงานเกี่ยวกับการผลิตดนตรีและครูสอนดนตรีตามโรงเรียนมัธยมศึกษา 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จำนวนนักศึกษาที่ไม่ได้ทำงาน จำนวน 5 คน อาจสะท้อนให้เห็นถึงการรองรับต่อตลาดแรงงานด้านดนตรี ทางหลักสูตรอาจส่งข่าวสารการเปิดรับสมัครงานให้กับนักศึกษากลุ่มนี้ เพื่อผลักดันให้สามารถประกอบวิชาชีพทางดนตรีได้ในปุจจุบัน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.88 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- มีระบบ มีกลไก  มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ  การประเมิน และ การปรับปรุง
และระบบและกลไกที่วางไว้มีการประเมินและปรับปรุงแก้ไขของผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2564 และนำมาพัฒนาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพเป็นรูปธรรมมาก ยิ่งขึ้นในปีการศึกษา 2565 จากการประชุมของคณะกรรมการเพื่อสรุประบบและกลไกให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ตลอดรวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขนั้น พบว่ามีการพัฒนาขึ้นตามลำดับมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาน้อยลงและสามารถแก้ไขปัญหาได้จริง 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบ มีกลไก  มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ  การประเมิน และ การปรับปรุง เช่น 
- มีมติให้แก้ไขระบบและกลไกระบบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่นักศึกษา หลักสูตรได้กำหนดให้อาจารย์กลุ่มวิชาแจ๊สเข้าไปช่วยดูแลนักศึกษากลุ่มวิชาการผลิตดนตรีด้วย  
- มีการจัดทำฐานข้อมูลของนักศึกษาทุกชั้นปี รวมถึงบัณฑิตที่จบการศึกษาไปแล้ว โดยการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการจัดการความเสี่ยงด้านการศึกษา

- มีระบบและกลไกให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวนักศึกษา ทั้งยังมีการมอบหมายการขับเคลื่อนด้านวิชาการให้กับรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร ตลอดจนอบรมอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้มีความพร้อมต่อการดูแลนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แนวโน้มจำนวนนักศึกษากลุ่มวิชาการผลิตดนตรีอาจมีจำนวนมากขึ้น อาจต้องให้อาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มอื่นที่ต้องเข้ามาดูแลนักศึกษากลุ่มนี้ ต้องเท่าทันต่อบริบทอื่นๆ ที่นอกเหนือจากข้อมูลรายวิชา เช่น การรู้จักศิลปิน การทำงานเบื้องหน้า-หลัง เท่าทันต่อกระแสดนตรีฯลฯ ที่สอดคล้องต่อกลุ่มวิชาการผลิตดนตรี เพื่อรองรับต่อวิชาชีพในมิติการผลิตดนตรี   
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบ มีกลไก  มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ  การประเมิน และ การปรับปรุง เช่น มีการดำเนินโครงการการแสดงดนตรีของนักศึกษาและคณาจารย์ เพื่อเพิ่มศักยภาพและทักษะของนักศึกษาให้ได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
- มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนต่อการพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนื่องสำหรับวิชาชีพทางดนตรี ทั้งกิจกรรมภายในภายนอก ระดับชาติและนานาชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ทางวิทยาลัยมีกิจกรรมหลากหลายรองรับต่อวิชาชีพทางดนตรีอยู่เสมอทั้งเบื้องหน้า-หลัง อาจผลักดันให้มีการสลับผลัดเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ในกิจกรรมเหล่านี้ เพื่อเรียนรู้หรือเสริมสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบหรือการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เพิ่มเติมยิ่งขึ้น 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบ มีกลไก  มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ  การประเมิน และ การปรับปรุง เช่น มีการเผยแพร่การแสดงของตนเองผ่านสื่อออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการแสดงคอนเสิร์ตแบบสด ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการนำเสนอให้น่าสนใจ การจัดทำคลิปวีดีโอที่ต้องอาศัยความชำนาญด้านอื่นที่ไม่เกี่ยวพันกับดนตรี
ทางหลักสูตรผลักดันให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานหลายรูปแบบ ที่ตอบสนองต่อสังคมในปัจจุบัน เช่น การสร้างสรรค์งานในรูปแบบสื่อออนไลน์ ซึ่งสื่อออนไลน์เป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องพบเจอในชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ช่องทางนี้อาจเป็นหนึ่งในการประกอบวิชาชีพทางดนตรีในอนาคตได้ต่อไป
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-การสร้างสรรค์ในมิติงานวิจัยจำเป็นต้องมีองค์ความรู้ด้านวิชาการ ซึ่งอาจจำเป็นต้องมีกิจกรรมรองรับต่องานด้านวิชาการ เช่น สร้างกิจกรรมฝึกฝนการนำเสนอผลงานเชิงวิชาการ เป็นต้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2559 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2562)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 44.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 30.80
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 95.20
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 17.90
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 28.60
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.37
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.43
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 3.74
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการจัดการปัญหาจากข้อร้องเรียน ผลจากการประชุมจากข้อร้องเรียนได้ปรับการมอบงานในแต่ละวิชาให้มีแนวทางการมอบหมายงานให้เหมาะสมต่อการใช้ห้องปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- อาจผลักดันให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่สอดคล้องต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
สำหรับปีการศึกษา 2565 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการผลิตดนตรี ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- กรณีการรับอาจารย์ใหม่ อาจจำเป็นต้องแจ้งให้ทราบถึงแนวทางการใช้ห้องปฏิบัติการ ซึ่งต้องสอดคล้องต่อการสั่งงานในชั้นเรียนหรือการบ้าน เพื่อรองรับต่อแนวทางการใช้ห้องปฏิบัติการ
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผู้บริหารวิทยาลัยจึงได้หารือร่วมกันและกำหนดให้มีการประชุมใหญ่ทุกเดือน เพื่ออาจารย์ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการแสดงและเสนอความเห็นต่อผู้บริหารวิทยาลัย
และมีการคัดเลือกตัวแทนอาจารย์จำนวน 2 คน เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ซึ่งได้ดำเนินการต่อเนื่องกระทั่งปีการศึกษา 2565 นี้ ได้มีการคัดเลือกตัวแทนอาจารย์คนใหม่จำนวน 2 คน
- ทางหลักสูตรวางนโยบายประจำ ปีและแผนการทำงานในด้านต่าง ๆ เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษา รวมถึงประเด็นอื่น ๆ ได้แก่ การพัฒนาอาจารย์ ให้มีคุณวุฒิและตำแหน่งวิชาการสูงขึ้น การมีส่วนร่วมในการบริหารวิทยาลัย อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ การกำหนดบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และแรงจูงใจ การกำหนดภาระงานที่เหมาะสมกับคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- นักศึกษากลุ่มการผลิตดนตรีมีจำนวนมาก อาจทำให้ภาระงานสอนของอาจารย์มีเพิ่มขึ้นตามลำดับซึ่งส่งผลต่อการปฏิบัติภาระหน้าที่ 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีหน่วยงานภายในที่ให้การสนับสนุนและคำปรึกษาด้านการเขียนงานเชิงวิชาการอย่างใกล้ชิด รวมถึงสรรหาและชี้แนะแหล่งตีพิมพ์ผลงานวิชาการ ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของรองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย ให้ดำเนินการเชิงรุกมากขึ้น 
- โดยมีอาจารย์ได้รับตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น 1 คน ได้แก่ ผศ.ธีรวัฒน์ ตันบุตร และปีการศึกษา 2563 มีอาจารย์ได้รับตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น 1 คน ได้แก่ ผศ.บุญรัตน์ ศิริรัตนพันธ อีกทั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอยู่ระหว่างการศึกษาระดับสูงขึ้นจำนวน 2 คน ได้แก่ อ.วีรภัทร์ อึ้งอัมพร และอ.ชาคร คุระทอง ซึ่งคาดว่าจะจบการศึกษาในปีการศึกษา 2566

- หลักสูตรมีระบบและกลไก รองรับต่อสมรรถนะการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ผลักดันส่งเสริมให้สรา้งผลงานทางวิชาการ เพื่อให้มีตำแหน่งทางวิชาการระดับสูงขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ประจำหลักสูตรมีชื่อเสียงและผลงานในวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งยังมีคุณวุฒิตรงตามหลักเกณฑ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรส่งเสริมเรื่องการศึกษาต่อระดับปริญญาเอก
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 3.33
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 2
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 40.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 3.33
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ประจำหลักสูตรมีตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 2 คน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการต่อไป 
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 2 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 6 1 0 0 1
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 84.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานสร้างสรรค์ตลอดจนผลงานทางวิชาการ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรส่งเสริมให้พัฒนาผลงานทางวิชาการต่อไป 
- ผลักดันให้หาแหล่งทุนวิจัยภายนอก
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 2.78 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการรายงานผลการดำเนินงานครบทุกเรื่องและมีแนวโน้มที่ดีขึ้นทุกเรื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ปีการศึกษา 2564-2565 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจำหลักสูตร มีอัตราการคงอยร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีหลักเกณฑ์การแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตรตามข้อบังคับของ สป.อว.
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ในด้านการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.26 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

9
9
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการพัฒนาหลักสูตรโดยการตัดวิชาทางพื้นฐานดนตรีบางวิชาออกไปและเพิ่มวิชาที่มีความสำคัญทางเทคโนโลยีดนตรีให้ทันสมัยกับแนวโน้มความต้องการของตลาดการจ้างงานในสาขาอาชีพ 
- มีการปรับปรุงรายวิชาให้เท่าทันต่อความต้องการของตลาดการจ้างในสาขาอาชีพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการปรับรายวิชาโดยรวมให้มีการเรียนการสอน และลักษณะโครงงาน เปลี่ยนเป็นรูปแบบผสมระหว่างออนไลน์ และออนไซท์อย่างเหมาะสม
หลักสูตรมีการคาดคะเนต่อตลาดการจ้างงาน และปรับปรุงรายวิชาเพื่อเป็นทางเลือกให้กับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีรายวิชาที่เน้นให้นักศึกษามีคุณสมบัติการเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม โดยเน้นการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ การสร้างงานสร้างสรรค์ร่วมกันเป็นกลุ่ม การรู้จักหน้ารับผิดชอบของตนเอง มีความเคารพต่อความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน ไม่ว่าจะเป็นวิชา MUS 369 การเสริมคุณภาพเสียงขั้นสูง MUS 467 ปริญญานิพนธ์ MUS 495 สหกิจศึกษา และอื่น ๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการเลือกคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านตรงตามเนื้อหาวิชา ซึ่งส่งผลให้ความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีผลต่อการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มที่ดี
มีระบบและกลไก โดยคำนึกถึงความรู้ ความเหมาะสม ความสามารถ และความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการทำโครงงานโดยใช้ Software แทนการใช้ห้องปฎิบัติการที่วิทยาลัย โดยการปรับรูปแบบดังกล่าวทำให้การบริหารจัดการ การใช้ห้องปฎิบัติการมีความสะดวก และลดความหนาแน่นของห้องปฎิบัติการได้ดีขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
มีการบูรณาการหลากหลายมิติ เช่น งานเชิงสร้างสรรค์ การบริการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการแก้ปัญหาการบริหารจัดการเวลาการใช้ห้องปฎิบัติการโดยให้นักศึกษามีเวลาใช้ห้องปฎิบัติการเพียงพอยิ่งขึ้น ทำให้นักศึกษามีความทักษะความชำนาญมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพโครงงานที่ดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จากปัญหา มคอ. 5 และนำขึ้นระบบฐานข้อมูลล่าช้าในวิชาปฎิบัติบางวิชา  หลักสูตรได้ทำการปรับเวลาและวิธีการทำโครงงานให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และปีการศึกษา 2565 พบว่ามีการจัดทำมคอ. 5 เป็นไปตามแผนงาน
ปีการศึกษา 2565 มีการปรับเวลาและวิธีการทำโครงงานให้เหมาะสม ที่ส่งผลต่อการจัดทำ มคอ ทำให้มีการจัดทำเป็นไปตามแผนงาน 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 4.5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 12
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 92.31
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.38 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเร่งประสานหาแนวทางแก้ไขปัญหาเครื่องดนตรีและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ ไม่ทันสมัย
- ทรัพยากรต่างๆ ค่อนข้างมีราคาสูง เช่น อุปกรณ์เครื่องดนตรี และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การข้อจำกัดด้านการปรับปรุงระบบซอฟแวท์ อาจนำเสนอแนวทางการพัฒนาทรัพยากรให้เท่าทันต่อยุคสมัยไปยังระดับมหาวิทยาลัยให้รับทราบ เพราะส่งผลในหลายมิติ
- เทคโนโลยีล้าสมัยไม่ทันต่อโลกปัจจุบัน
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในภาพรวมมีการหลักสูตรได้พยายามปรับปรุงอุปกรณ์ที่ไม่ทันสมัยส่งผลต่อมิติทางดนตรีและวิชาชีพ ให้เท่าทันต่อยุคสมัยเท่าที่จะกระทำได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การพัฒนาอุปกรณ์ต่างๆ ที่ล้าสมัย ทางหลักสูตรอาจเสนต่อระดับคณะ เพื่อเสนอต่อระดับมหาวิทยาลัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการดำเนินงานเพื่อนำผลการประเมินความพีงพอใจดังกล่าวมาวิเคราะห์ และแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ โดยการจัดซื้อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ต่างๆ ด้วยงบประมาณของปีการศึกษา 2565 และเขียนโครงการจัดซื้อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ตามการคาดการณ์สำหรับปีงบประมาณ 2566
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปัจจัยความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาพบว่าเป็นส่วนของอุปกรณ์ที่ล้าสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ อีกทั้งมีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องพัฒนาอุปกรณ์เหล่านี้ให้เท่าทันต่อการยุสมัยและจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการผลิตผลงานสร้างสรรค์อย่าต่อเนื่องและมีจำนวนมาก
  2. หลักสูตรมีการสร้างสรรค์กิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่เหมาะสม

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรจัดหาโครงการ/กิจกรรมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมกับหน่วยงานดนตรีภายนอกมากขึ้น
  2. ควรพัฒนาด้านตำแหน่วทางวิชาการของอาจารย์
  3. ควรพัฒนาเครื่องดนตรีและอุปกรณ์ดนตรีอิเลกทรอนิกส์อยู่ให้ทันสมัยต่อไป เนื่องจากอุปกรณ์ดนตรี และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีความจำเป็นต่อวิชาชีพที่สอดคล้องต่อแนวทางของหลักสูตร จำเป็นต้องพัฒนาให้เท่าทันต่อยุคสมัย แต่อาจเนื่องจากในส่วนราคาที่ภาพรวมมีราคาค่อนข้างสูง ทางหลักสูตรอาจร่วมกับคณะกรรมการระดับคณะ แจ้งต่อหน่วยงานระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทราบถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.15
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3.61
3.1 การรับนักศึกษา N/A
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 2.78
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.50
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [12 ตัวบ่งชี้] 3.42

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 3.88 3.88 ระดับคุณภาพดี
3 2 3.50 - - 3.50 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.26 - - 3.26 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.50 - 3.38 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.30 3.38 3.88 3.42 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี