รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร

วันที่ประเมิน: 16 กรกฏาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- หลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด และจะครบรอบการปรับปรุงหลักสูตรในปีการศึกษา 2567
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 11 4.49
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 4
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.49
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เมื่อพิจารณาผลกาประเมินรายด้าน พบว่า ด้านคุณธรรมจริธรรม ได้คะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด (3.95) ดังนั้นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรร่วมกันหาแนวทางส่งเสริมคุณภาพบัณฑิตด้านคุณธรรมจริธรรม โดยสอดแทรกในรายวิชาของชั้นปีที่ 3 และ 4 ก่อนจบการศึกษาให้มากขึ้น
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 11 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 11
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 7
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 3
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 1
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- บัณฑิตได้งานทำร้อยละ 100 และมีเงินเดือนเฉลี่ย 18,000 ถือว่าสูง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          หลักสูตรมีกิจกรรมเตรียมความพร้อมของนักศึกษาโดยร่วมกันระหว่างชั้นปี 1 กับชั้นปีที่ 2  โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลไม้จนเข้าสู่ระบบการผลิต ได้ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและจำหน่ายได้จริง
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการวางแผนการับนักศึกษา และมีการประชาสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมและช่องทางต่างๆ นอกจากนี้ยังได้มีการปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ให้สอดรับกับจุดเน้นของหลักสูตร
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีกิจกรรมเตรียมความพร้อมของนักศึกษาโดยร่วมกันระหว่างชั้นปี 1 กับชั้นปีที่ 2 ที่มีการปรับลักษณะกิจกรรมจากปีที่ผ่านมาโดยปรับให้สอดรับกับนโยบายของวิทยาลัยฯ ที่ต้องการช่วยเหลือภาคการเกษตร โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลไม้ ซึ่งได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ 2 ชนิด
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- นอกเหนือจากกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่ได้รายงานมานั้น ในปีหน้าควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาษาอังกฤษไว้ด้วย เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะทั้ง 2 ด้านนี้
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
           หลักสูตรส่งเสริมให้นักศึกษาสร้างผลงานสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นรูปธรรม โดยสามารถผลิตผลงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาของสถานประกอบการได้ถึง 5 โครงงาน 
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการบริหารจัดการระบบอาจารย์ที่ปรึกษาของหลักสูตรทำให้นักศึกษาวางแผนการเรียนได้อย่างถูกต้อง 
- หลักสูตรมีระบบและกลไกการมอบหมายภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา จัดทำเอกสารข้อมูลของนักศึกษาเพื่อการติดตามและให้คำปรึกษานักศึกษา และมีการกำกับดูแลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้คำปรึกษา 

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมีกิจกรรมเสริมทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ และทักษะด้านชีวิตและอาชีพ 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้บูรณาการรายวิชาชั้นปีที่ 3 ปีที่ 4 โดยสามารถผลิตงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาโทย์ของสถานประกอบการจำนวน 5 โครงงาน และสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจำนวน 4 จึงผลงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาของสถานประกอบการอย่างเป็นรูปธรรม
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 75.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 92.31
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 75.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 92.31
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 92.31
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.37
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.58
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.54
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - หลักสูตรมีระบบและกลไกในการผลักดันให้อาจารย์ในหลักสูตรได้พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอนาคต จนสามารถผลิตให้กับผู้ประกอบการ
          - อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีศักยภาพสูง ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย 3 คน จำนวน 5 เรื่อง และยังมีผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ จำนวน 5 เรื่อง

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ซึ่งมีผลให้อาจารย์ทุกคนมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการบริหารกำลังคน บริหารความเสี่ยง กำหนดบทบาทหน้าที่ กำหนดภาระงาน และการพัฒนาคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ โดยมีการดำเนิการตามแผนที่กำหนด ทั้งการกำหนภาระงานที่ต้องรับผิดชอบ การขอรับทุนวิจัย การผลิตผลงานวิจัย ซึ่งมีการเผยแพร่ผลงานมากขึ้น  
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบ กลไก การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ที่ชัดเจน นำไปปฏิบัติได้จริง และมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม เห็นได้เชิงประจักษ์จากการได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย และมีผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ นอกจากนี้ยังมีอาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางการวิจัยเกี่ยวกับกาแฟ เป็นผู้อำนวยการโครงการหลวงวิจัยกาแฟอราบิก้า และยังมีอาจารย์อีกหลายท่านที่ให้บริการวิชาการ ร่วมโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กับโครงการบัณฑิตพันธ์ใหม่ของกระทรวง อว. และยังให้บริการวิชาการ เป็นที่ปรึกษากับผู้ประกอบการอื่นๆ เข้าร่วมโครงการ สสส. เพื่อบริการวิชาการแก่ชุมชนหลักหก
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรถึงร้อยละ 80
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 2
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 1
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 60.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3 คน โดยเป็นศาตราจารย์ 1 คน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 1 0 0 4
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 88.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีผลงานเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติจำนวน 4 ชิ้น
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.81
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.80
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.67
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          ผลที่เกิดกับอาจารย์มีแนวโน้มดีทุกเรื่อง
 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

41
35
85.37
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
           หลักสูตรได้มีการปรับกระบวนการสอน และกิจกรรมการสอนอย่างต่อเนื่อง ทันสมัยตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป โดยพัฒนาเนื้อหารายวิชาชีพจำนวน 5 วิชา และมีการพัฒนาโดยเปิดรายวิชาเกี่ยวกับอาหารอนาคต 2 รายวิชา ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาเพื่อนำไปสู่เป้าหมายในผลิอาหารอนาคต 
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้มีการปรับปรุงสาระของรายวิชาอย่างต่อเนื่อง เพิ่มเนื้อหาความรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานการณ์ในอนาคต นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถออกแบบตามความต้องการของผู้เรียนด้วย
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในปีการศึกษา 2566 ทางหลักสูตรมีความร่วมมือกับสถานประกอบการเพิ่มจากเดิมหรือมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
 
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม โดยกำหนดไว้ในแต่ละชั้นปี
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้ปรับปรุงในรายวิชาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นประเด็นเทรนด์และนวัตกรรมของอาหารที่มีอยู่ในกระแสความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันและอนาคต ทั้งยังนำองค์ความรู้ไปปฏิบัติงานจริง  การศึกษาดูงาน รวมถึงการประยุกต์ในโครงการกิจกรรมต่างๆ หลายกิจกรรม
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการทั้งงานวิจัย บริการวิขาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เห็นผลลัพธ์จากการช่วยเหลือชุมชนในโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ได้ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนมีอยู่แล้ว และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพิ่มเติมด้วยวัตถุดิบที่มีอยู่ในชุมชน จนกระทั่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดผู้สอนและมีการติดตามโดยพิจารณาจากคะแนนผลประเมินการสอน นอกจากนี้ยังได้มีการปรับปรุงพัฒนาโดยการเพิ่มผู้สอนที่มีประสบการณ์ทั้งจากภายในและภายนอกเพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ที่หลากหลายนอกจากตำราเรียน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการกำกับติดตามและตรวจสอบ RQF.3 RQF.4 โดยพบปัญหาในการจัดการเรียนการสอนที่ผูเรียนไม่สามารถบูรณาการความรู้ที่ได้เรียน ไม่สามารถเชื่อมโยงแต่ละรายวิชา จึงไดปรับการจัดการเรียนการสอนเป็นแบบโมดูล ซึ่งมีการประเมินและติดตามอย่างต่อเนื่อง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้นำผลิตภัณฑ์จากการวิจัย หรือรายวิชาที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาหรือปรับปรุงให้กับชุมชนจนประสบผลสำเร็จ ชุมชนได้รับประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - หลักสูตรมีระบบประเมินผู้เรียนผู้เรียนที่หลากหลายนอกเหนือจากการสอบ ซึ่งสอดคล้องกับผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน ซึ่งทำให้นักศึกษาสามารถสร้างผลงานผลผลิตภัณฑ์ต้นแบบชนิดใหม่ได้ 4 ผลงาน 
          - หลักสูตรมีการประเมินผลงานของนักศึกษาในรูปแบบการแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยตามองค์ความรู้ของแต่ละวิชาในลักษณะ Term Project ทำให้นักศึกษาสร้างผลิตภัณฑ์ภายใต้โครงการบุญตะวัน และมีผลงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่เป็นนวัตกรรม 4 ชิ้นงาน
          - หลักสูตรมีระบบการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ และครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียน มีการตรวจสอบและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา และนำผลการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีระบบ กลไกการประเมินผลการเรียนรู้ ที่ชัดเจน นำไปปฏิบัติได้จริง มีการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน กับผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน กำหนดรายวิชา เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินแต่ละด้านไว้อย่างชัดเจน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 โดยแยกอย่างชัดเจนในแต่ละด้าน มีการนำผลการทวนสอบมาปรับปรุง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
          - หลักสูตรมีระบบและกลไกสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยมีการปรับปรุงจากการดำเนิงานที่ผ่านมา มีการพัฒนาด้านเครื่องมืออุปกรณ์และความทันสมัย และการขยายจำนวนห้องปฏิบัติการ รองรับพื้นที่ในการผลิตอาหารได้เพิ่มขึ้น รองรับการเรียนรู้ของผู้เรียนและฝึกปฏิบัติในการเป็นสถานที่ผลิตอาหาร
          - หลักสูตรมีกระบวนการสรรหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนในการจัดการเรียนการสอน มีแนวปฏิบัติในเรื่อง การขอเลขสถานที่ผลิตอาหารในกรณีที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน ได้ถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัย ถือเป็นแนวปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จในเรื่องการมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ได้มาตรฐาน นอกจากนี้ยังมีโรงงานต้นแบบที่ได้มาตรฐานถูกต้องตามกฎหมาย

 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีกลไกร่วมกับคณะ วิทยาลัยฯ และมหาวิทยาลัย ในการจัดให้มีห้องปฏิบัติการ โรงงานต้นแบบ ห้องเรียน พื้นที่เรียนรู้ จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์เพิ่มขึ้น พร้อมทำหรับการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีกลไกร่วมกับคณะ วิทยาลัยฯ และมหาวิทยาลัย ในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยมีการปรับปรุงเพื่อให้มีห้องปฏิบัติการต่างๆ เพิ่มขึ้น โดยกำหนดรองรับผู้เรียน 25 คนต่อห้อง
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรได้ดำเนินการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาโดยเฉลี่ยลดลง สำหรับความพึงพอใจของอาจารย์โดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่หลักสูตรก็ได้ดำเนินการวางแผนในการเพิ่มห้องปฏิบัติการ การเพิ่มเครื่องมืออุปกรณ์ที่สำคัญและจำเป็นมากขึ้น 
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษายังอยู่เพียงแค่ในระดับดีเท่านั้น คือ 4.15 (ยังไม่ใช่ระดับดีมากที่ 4.51 และต้องมีแนวโน้มความพึงพอใจที่ดี)
- หลักสูตรควรปรับปรุงในหมวดกายภาพ เนื่องจากคะแนนประเมินฯ อยู่ที่ 3.85 และเพิ่มทรัพยากรการเรียน เนื่องจากคะแนนประเมินฯ อยู่ที่ 4.09 และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล เนื่องจากคะแนนประเมินฯ อยู่ที่ 4.04 และคะแนนดังกล่าวนี้ ต่ำกว่าปีการศึกษา 2565 ในทุกประเด็นดังกล่าว 
       ในขณะที่การจัดการความรู้นั้นเป็นแนวปฎิบัติของโรงงานต้นแบบอาจจะยังเป็นสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ยังไม่ครอบคลุมทุกรายวิชา และเพิ่งก่อสร้างสำเร็จเพิ่มเติม 3 ห้อง ในปีการศึกษา 2566 ซึ่งควรวางแผนการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้จากการปรับปรุงก่อสร้างดังกล่าวในปีการศึกษา 2567

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีศักยภาพสูง ทั้งด้านคุณวุฒิปริญญาเอก และตำแหน่งทางวิชาการ
  2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีศักยภาพในการทำงานวิจัยได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติถึง 5 ผลงานในรอบ 1 ปี ซึ่งหลักสูตรอาจจะวางแผนหรือสนับสนุนในการขอทุนวิจัยภายนอกให้มากขึ้น
  3. หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งบูรณาการความรู้ในเชิงลึก ในการสร้างผลิตภัณฑ์อาหารอนาคต โดยมีการจัดการเรียนการสอนเชื่อมโยงตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 และมีการกำกับและติดตามทำให้นักศึกษาได้ผลลัพธ์การเรียรู้ตามที่กำหนด
  4. หลักสูตรส่งเสริมผลงานของนักศึกษาในการพัฒนาสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นนวัตกรรมได้สำเร็จ ผ่านการเข้าประกวดจนได้รับรางวัลหลายรางวัล และนักศึกษาที่ร่วมผลิตผลงาน กระจายทั้งชั้นปีที่ 2 , 3 และ 4
  5. หลักสูตรมีแนวปฏิบัติในเรื่อง การขอเลขสถานที่ผลิตอาหารในกรณีที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน ได้ถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัย ถือเป็นแนวปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จในเรื่องการมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ได้มาตรฐาน นอกจากนี้ยังมีโรงงานต้นแบบที่ได้มาตรฐานถูกต้องตามกฎหมาย
  6. นักศึกษามีผลงานสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นนวัตกรรมได้สำเร็จ ผ่านการเข้าประกวดจนได้รับรางวัลหลายรางวัล
  7. มีโครงงานของนักศึกษา เรื่อง การพัฒนาสลัดครีมวีแกนถั่วลูกไก่ผสมไข่ผง ที่ร่วมกับอาจารย์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย เป็นการตอบโจทย์วิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรวางแนงทางในการส่งต่อผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จสู่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งเป็นผลงานของหลักสูตร ซึ่งจะเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์หลักสูตรทางหนึ่ง
  2. ในปีหน้าควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาษาอังกฤษไว้ด้วย เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะทั้ง 2 ด้านนี้
  3. หลักสูตรควรกำหนดแนวทางและมาตรการเพื่อให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาอยู่ในแนวโน้มที่ดีขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.49
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.19

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.75 4.75 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.33 - - 4.33 ระดับคุณภาพดีมาก
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 4.00 4.25 4.75 4.19 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก ระดับคุณภาพดีมาก