รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ต

วันที่ประเมิน: 14 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
คกบ.1.1.01 รายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (สมอ.08) ปรับปรุง เปลี่ยน ออก 2 มีการทำเรื่องปรับปรุงรายชื่ออาจารย์ เรียบร้อย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. อาจารย์อนุชา อารีพรรค
ข้อคิดเห็น
อาจารย์อนุชา อารีพรรค มีผลงานวิชาการปีล่าสุด ปีการศึกษา 2562
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

  1. อาจารย์อนุชา อารีพรรค
ข้อคิดเห็น
อาจารย์อนุชา อารีพรรค มีผลงานปีล่าสุดปี 2562 ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 19 4.63
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 4
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.63
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 19 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 14
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 4
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 9
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.82 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(อ.สุมนา + ผศ.พูนลาภ) จำนวนนักศึกษาใหม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เป็นผลมาจากการปรับปรุงหลักสูตรที่เพิ่มแขนงอีสปอร์ต ซึ่งได้รับความสนใจจากนักเรียนที่สนใจทางด้านนี้เป็นจำนวนมาก
(อ.สุพานิช) หลักสูตรมีการจัดกิกรรมที่ดึงดูดให้รู้จักหลักสูตรและมีผู้สมัครเข้าเรียนจำนวนมาก และมีจัดการให้คำปรึกษา ดูแล นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จนมีจำนวนอัตราการคงอยู่ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(ถ้าเขียนอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมว่ามีการจัดการอย่างไรจนนักศึกษาตกออกน้อยลงจะชัดเจนขึ้น)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จำนวนนักศึกษาตามแผนการรับเข้า จำนวน 80 คน  จำนวนนักศึกษาที่รับสูงกว่าเป้าที่กำหนด
- ปี 2564  เป็น 101 คน
- ปี 2565  เป็น 199 คน
- ปี 2566  เป็น 219 คน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) มีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ร่วมกับวิทยาลัยฯ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(อ.สุมนา) หลักสูตรส่งเสริมและผลักดันนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดในงานระดับชาติอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีจำนวนนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดเพิ่มขึ้นและได้รับรางวัลจากการประกวดอย่างต่อเนื่อง 
(ผศ.พูนลาภ) หลักสูตรมีส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้พัฒนาผลงานส่งเข้าร่วมประกวดในเวทีภายนอก และได้รับรางวัลเป็นรูปธรรม
(อ.สุพานิช) หลักสูตรมีการส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีนักศึกษาที่สามารถพัฒนาผลงานและส่งผลงานเข้าประกวดในเวทีที่จัดขึ้นภายนอกมหาวิทยาลัยได้ และผลงานที่ส่งเข้าประกวดยังได้รับรางวัลจากเวทีต่าง ๆ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการทำ Homeroom มีช่องทางในการติดต่อสื่อสารแบบออนไลน์ระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษากับนักศึกษา และระหว่างหลักสูตรกับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรส่งเสริมและผลักดันนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดในงานระดับชาติอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีจำนวนนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรส่งนักศึกษาเข้าแข่งขันในงาน VUT CHALLENGE ทัวร์นาเมนต์การแข่งขันเกม Valorant ในระดับอุดมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยนักศึกษาของหลักสูตรสามารถแข่งขันจนได้รับรางวัลชนะเลิศในงานนี้ได้ และนักศึกษาของหลักสูตรยังสามารถแข่งขันในงาน SRIPATUM ESPORT FESTIVAL 2024 จนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ของการแข่งขันได้ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรส่งเสริมและผลักดันนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดในงานระดับชาติอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีจำนวนนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรส่งนักศึกษาเข้าแข่งขันในงาน VUT CHALLENGE ทัวร์นาเมนต์การแข่งขันเกม Valorant ในระดับอุดมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยนักศึกษาของหลักสูตรสามารถแข่งขันจนได้รับรางวัลชนะเลิศในงานนี้ได้ และนักศึกษาของหลักสูตรยังสามารถแข่งขันในงาน SRIPATUM ESPORT FESTIVAL 2024 จนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ของการแข่งขันได้ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2547 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2550)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 53.80
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 46.15
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 33.33
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 46.15
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 23.08
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 30.95
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.37
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.39
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.41
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรส่งเสริมให้อาจารย์ต่อยอดผลงานทางวิชาการให้พัฒนานวัตกรรมที่สามารถจับต้องและเป็นจริงได้ ทำให้ในปีการศึกษา 2566 มีสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ของมหาวิทยาลัย
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ในเล่มเอกสาร อาจารย์ผู้รับผิดชอบทุกคนต้องทำแผนพัฒนาตนเอง แสดงความประสงค์ในการพัฒนาตนเองว่าต้องการทำผลงานวิชาการประเภทไหน เรื่องอะไร เข้ารับการอบรมสัมมนา ประชุมทางวิชาการในช่วงเวลา 3 ปี เป็นรายบุคคล ผ่านการพิจารณาในที่ประชุมหลักสูตรว่าสอดคล้องกับหลักสูตร ความเชี่ยวชาญของอาจารย์และระบบในการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการเลื่อนขั้นเงินเดือน และการต่อสัญญาจ้าง เพื่อจัดส่งให้คณะวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำเป็นแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการของวิทยาลัย
*แต่ในหลักฐาน ไม่มีเอกสาร IDP ของ ดร.ทศพร -> คกบ.4.1.03 แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร*


**(ตัวบ่งชี้ที่ 4.1)  การบริหารและพัฒนาอาจารย์
หลักสูตรประเมินตนเองมา 5 คะแนน
  4.00 คะแนน + KM แนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จและถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านระบบ RKMS ของมหาวิทยาลัย
ระบุเหตุผลที่ได้คะแนน 5.00 (ต้องมีคำอธิบายที่เห็นเป็นรูปธรรม)
หลักสูตรส่งเสริมให้อาจารย์ต่อยอดผลงานทางวิชาการให้พัฒนานวัตกรรมที่สามารถจับต้องและเป็นจริงได้ ทำให้ในปีการศึกษา 2566 มีสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ของมหาวิทยาลัย
สอบถามทาง QA เรียบร้อยแล้ว
คำตอบ คือ ไม่สามารถให้คะแนน 5.00 ได้ เนื่องจาก KM ที่นำมาอ้างอิงใน ตบช.4.1 ประเด็นไม่ตรงกับการบริหารอาจารย์ ซึ่ง KM ชิ้นนี้เป็นเรื่องการสร้างภาพลักษณ์ให้กับหลักสูตร ซึ่งถ้าจะนำมาอ้างอิงในองค์ 3 เรื่องการรับสมัครนักศึกษาที่ได้จำนวนเพิ่มขึ้นก็ไม่สามารถใช้ได้ เนื่องจาก KM ต้องมีการถอดบทเรียนจากการได้ 4.00 คะแนนมาอย่างน้อย 2 รอบ โดยสรุปจึงไม่สามารถให้คะแนน 5.00 ใน ตบช.4.1 ได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 6 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรหาแนวทางการสนับสนุนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกเพิ่มมากขึ้น
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 6 4.17
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 3
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 50.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 4.17
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรมีอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มเติม
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 3 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 1 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 6
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 30.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตาราง 4.2.3 ผลงานวิชาการลำดับที่ 3 แก้ไขวันที่ตีพิมพ์เป็น 2566 / เพิ่มข้อมูลผลงานสร้างสรรค์ในตาราง
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.06 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.76
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.79
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.81
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 100% มาตลอด 3 ปี
- ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร มีแนวโน้มดีขึ้น

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

20
17
85.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีความทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
- หลักสูตรมีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน และส่งนักศึกษาเข้าพัฒนาผลงานเกมเข้าประกวดในเวทีต่างๆ จนได้รับรางวัล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คุณภาพของการสอน 
1. การประเมินรายวิชาที่เปิดสอนในปีที่รายงาน
ไม่มีรายวิชาที่มีแผนการปรับปรุงเลยสักวิชา 
2. ผลการประเมิน
(ระบุคะแนนประเมินเต็ม 5.00 และให้ใส่ - กรณีไม่มีการประเมินฯ)
วิชาที่เปิดสอนแต่ไม่มีผลการประเมิน
- รหัสวิชา CGE 109 กลุ่ม 811 ชื่อวิชา การพัฒนาเกม 3 มิติ    -> นักศึกษาลงทะเบียน 33 คน                        
- รหัสวิชา CGE 109 กลุ่ม 812 ชื่อวิชา การพัฒนาเกม 3 มิติ    -> นักศึกษาลงทะเบียน 36 คน                        
- รหัสวิชา CGE 201 กลุ่ม 821 ชื่อวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกมและอีสปอร์ต    -> นักศึกษาลงทะเบียน 41 คน                
- รหัสวิชา CGE 201 กลุ่ม 822 ชื่อวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกมและอีสปอร์ต    -> นักศึกษาลงทะเบียน 89 คน
- รหัสวิชา CGE 207 กลุ่ม 823 ชื่อวิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับการจัดการแข่งขันอีสปอร์ต -> นักศึกษาลงทะเบียน 25 คน

ตรวจสอบจำนวนรายวิชาที่เปิดในข้อมูลสรุปกับตารางผลดำเนินงาน
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จำนวนวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ 85%
**คุณภาพของการสอน 
1. การประเมินรายวิชาที่เปิดสอนในปีที่รายงาน ไม่มีรายวิชาที่มีแผนการปรับปรุงเลยสักวิชา 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
- หลักสูตรมีระบบและกลไกในการส่งเสริมให้บูรณาการการพัฒนาเกมจากการเรียนการสอนสู่ผลงานที่จับต้องได้ และมีการปรับปรุงเกมที่เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
- หลักสูตรมีการบูรณาการกระบวนการจัดเรียนการสอน ส่งผลให้มีผลงานเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง และได้รับรางวัล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดผู้สอนให้ครบตามภาระงานสอนขั้นต่ำ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรอธิบายเพิ่มเติมว่ากำหนดผู้สอนโดยพิจารณาจากคุณวุฒิ หรือความเชี่ยวชาญจากการทำงานวิจัย หรือประสอบการณ์ทำงาน หรือการสอน การส่งผลงานเข้าประกวด (เพื่อคะแนน 4.00) 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรระบุวิธีการตรวจสอบเพิ่มเติมนอกจากให้เลขานุการตรวจสอบว่าอาจารย์ผู้สอนได้อัพโหลดลงระบบฐานข้อมูลแล้ว เช่น การใช้กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการของหลักสูตรตรวจสอบ มคอ.3 ในวาระการประชุมสาขา หรือประชุมข้อสอบ
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการส่งเสริมให้บูรณาการการพัฒนาเกมจากการเรียนการสอนสู่ผลงานที่จับต้องได้ และมีการปรับปรุงเกมที่เผยแพร่อย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรสะท้อนให้เห็นว่ามีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการผลงานวิชาการของอาจารย์มาใช้ในอย่างไร หรือมีการจัดการเรียนการสอนที่มีการบริการวิชาการทางสังคมอย่างไร 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- คกบ.5.3.01 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักมาตรฐานวิชาการ  
- เอกสารไม่มีรายละเอียด มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 ของหลักสูตร
- เอกสารไม่มีรายละเอียด ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 และ RQF.4 (ถ้ามี) จำนวน 17 วิชา คิดเป็นร้อยละ 85

- ตัวอย่างมคอ.5 มคอ.6 ของหลักสูตร ไม่ควรใส่เป็นลิงค์ระบบฐานข้อมูล TQF

 

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คกบ.5.4.01 รายงานการประชุมสาขา
- ไม่มีเนื้อหา ตัวอย่าง เช่น
ปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมพิจารณาเกรดร่วมกัน และดำเนินการแก้ไขตามมติที่ประชุม และกรอกเกรดในระบบไม่เกินวันที่มหาวิทยาลัยกำหนด รวมถึงจัดทำและอัพโหลด มคอ.5 ก่อนเริ่มภาคการศึกษาใหม่
- ในปีการศึกษา 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการประชุม จำนวน 3 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
ไม่มีรายละเอียดอาจารย์ที่เข้าร่วมประชุมในรายงาน
- ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรมีการพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ ตามข้อเสนอแนะใน RQF.7 ของปีการศึกษา 2565 ซึ่งได้ดำเนินการเรียบร้อยเมื่อวันที่ 20 ก.ค.2566

พบว่ามีการรายงานการประชุม 4 ครั้ง ในรอบปีการศึกษา 2566 จากที่ระบุไว้ 3 ครั้ง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายงานการประชุมควรมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน ควรระบุรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมที่เป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 ท่าน
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คกบ..5.3.01 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักมาตรฐานวิชาการ เอกสารไม่มีรายละเอียด มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 ของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวอย่างมคอ.3 มคอ.4 ขอ  งหลักสูตร ไม่ควรใส่เป็นลิงค์ระบบฐานข้อมูล TQF
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- คกบ.5.3.01 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักมาตรฐานวิชาการ  
- เอกสารไม่มีรายละเอียด มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 ของหลักสูตร

- ตัวอย่างมคอ.5 มคอ.6 ของหลักสูตร ไม่ควรใส่เป็นลิงค์ระบบฐานข้อมูล TQF
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 และ RQF.4 (ถ้ามี) จำนวน 17 วิชา คิดเป็นร้อยละ 85
- คกบ.5.3.01 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักมาตรฐานวิชาการ เอกสารไม่มีรายละเอียด 
- ข้อ 13 -> ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ต  มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 16 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100
- ข้อ 6 -> ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 20 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 และ RQF.4 (ถ้ามี) จำนวน 17 วิชา คิดเป็นร้อยละ 85

ต้องเป็นรายงานการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดยนำ มคอ.5 จากรายวิชาที่จะทำการทวนสอบมาพิจารณาและควรมีการสัมภาษณ์นักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนถึงผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาที่ทำการทวนสอบ สอบถามถึงปัญหาจากผู้เรียนและผู้สอน ระบุแนวทางแก้ไขและปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่ได้ใส่หลักฐาน คกบ.5.4.02 RQF7 หลักสูตรคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ต 
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร 4.41
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ 4.63
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ข้อ 13  -> ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ต มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 16 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100
- ข้อ 6 -> ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 20 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 และ RQF.4 (ถ้ามี) จำนวน 17 วิชา คิดเป็นร้อยละ 85
**ต้องปรับข้อ 13 เป็นเปิดสอน 20 วิชา**
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่ได้อัพโหลดหลักฐาน คกบ.5.4.02 RQF7 หลักสูตรคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ต
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา 4.28
วิชาที่เปิดสอนแต่ไม่มีผลการประเมิน
- รหัสวิชา CGE 109 กลุ่ม 811 ชื่อวิชา การพัฒนาเกม 3 มิติ  -> นักศึกษาลงทะเบียน 33 คน                        
- รหัสวิชา CGE 109 กลุ่ม 812 ชื่อวิชา การพัฒนาเกม 3 มิติ  -> นักศึกษาลงทะเบียน 36 คน                        
- รหัสวิชา CGE 201 กลุ่ม 821 ชื่อวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกมและอีสปอร์ต  -> นักศึกษาลงทะเบียน 41 คน                
- รหัสวิชา CGE 201 กลุ่ม 822 ชื่อวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกมและอีสปอร์ต  -> นักศึกษาลงทะเบียน 89 คน
- รหัสวิชา CGE 207 กลุ่ม 823 ชื่อวิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับการจัดการแข่งขันอีสปอร์ต -> นักศึกษาลงทะเบียน 25 คน

- ตรวจสอบตัวเลขจำนวนรายวิชาที่เปิดไม่ตรงกับตัวบ่งชี้ 5.1
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไฟล์หลักฐาน คกบ.5.4.03 ผลประเมินคุณภาพการสอน ให้รวมคะแนนประเมินของทุกรายวิชาแล้วหาค่าเฉลี่ยไว้ในแถวสุดท้าย
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
 (อ.สุมนา) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.58 กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ประเมินความพึงพอใจของปีการศึกษา 2566 มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.61
- คกบ.6.1.01 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ต จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ควรครอบคลุมนักศึกษาทุกชั้นปีการศึกษา) โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.58 
- คกบ.5.4.04 ผลประเมินความพึงพอใจต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรคอมพิวเตอร์เกมและอีสปอร์ตได้นำผลจากความเห็นของนักศึกษามาปรับปรุง โดยได้จัดซื้ออุปกรณ์ชุดคอมพิวเตอร์ใหม่เพื่อให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับการเรียนการสอน อีกทั้งยังจัดซื้ออุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการทดลองใหม่ๆ สำหรับการพัฒนาเกมในยุคปัจจุบัน ส่งผลให้นักศึกษาได้ทดลองกับอุปกรณ์ที่ทันสมัยและอุปกรณ์ที่อุตสาหกรรมใช้จริง นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปเข้าร่วมการประกวดจนได้รับรางวัล นอกจากนี้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของหลักสูตรมีหน่วยงานอื่นๆ มาดูงาน นำไปเป็นต้นแบบและพัฒนางานในหน่วยงานนั้นๆ อย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรอธิบายเพิ่มเติมว่าหลักสูตรได้นำสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ได้มาไปใช้งานอย่างไร เช่น การนำไปใช้บ่มเพาะนักศึกษา ใช้เป็นอุปกรณ์ให้นักศึกษาฝึกฝนและทำผลงานเข้าประกวดจนได้รับรางวัลอย่างไร โปรดอธิบาย 
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรอธิบายว่าการจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ เพื่อรองรับการเรียนในรายวิชา CGE499 หัวข้อพิเศษ ส่งผลอย่างไรการเรียนรู้และพัฒนานักศึกษาจนถึงขั้นที่ส่งนักศึกษาส่งผลงานเข้าประกวดจนได้รางวัล  และเหตุใด Depa จึงได้จัดสร้างศูนย์นวัตกรรมเกมและอีสปอร์ต (Game and Esport Innovation Center) มหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อเน้นให้เห็นว่าหลักสูตรมีการดำเนินการจนหน่วยงานภายนอกเห็นถึงศักยภาพของหลักสูตรจนมีความร่วมือสร้างศูนย์นวัตกรรมร่วมกัน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการเรียนการสอน การพัฒนาเกมในยุคปัจจุบันให้นักศึกษาอย่างเพียงพอ ส่งผลให้นักศึกษาได้ทดลองกับอุปกรณ์ที่ทันสมัยและอุปกรณ์ที่อุตสาหกรรมใช้จริง สามารถนำความรู้ไปเข้าร่วมการประกวดในเวทีต่างๆ ได้
  2. อาจารย์ของหลักสูตรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก
  3. เป็นหลักสูตรด้านเกมที่มีชื่อเสียงอันดับต้นของประเทศ มีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ บัณฑิตเป็นที่ต้องการในอุตสาหกรรม และสามารถสร้างสรรค์ผลงานเข้าแข่งขันการประกวดและได้รับรางวัล
  4. หลักสูตรมีการจัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ แล้วประชาสัมพันธ์เพื่อสื่อสารภาพลักษณ์และสร้างชื่อเสียงให้กับหลักสูตรจนมีนักศึกษาแรกเข้าจำนวนมากเพิ่มขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรส่งเสริมให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ และศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
  2. หลักสูตรต้องหาแนวทางทำให้อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาและอัตราการสำเร็จการศึกษาตามเวลาที่กำหนดมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.63
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.06
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.82

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.82 4.82 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.69 - - 3.69 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.44 4.00 4.82 3.82 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก