รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสังคม

วันที่ประเมิน: 13 สิงหาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
(อ.สุมนา) สสบ.1.1.03 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของปีการศึกษา 2566 มี 3 คน ขาด อ. นงนภัส และ อ.กฤษฎา
ขอให้หลักสูตรทำเป็นข้อมูล ผลงานวิชาการในรูปแบบ APA และ Hyper Link 

(ผศ.วิไลลักษณ์) ผลงานไม่ครบทุกท่าน / ผลงานล่าสุด แต่ชื่อเอกสารเป็นปี 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
(อ.สุมนา) สสบ.1.1.03 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของปีการศึกษา 2566 มีแค่ 3 คน ขาด อ. นงนภัส และ อ.กฤษฎา
ขอให้หลักสูตรทำเป็นข้อมูล ผลงานวิชาการในรูปแบบ APA และ Hyper Link 

(ผศ.วิไลลักษณ์) ผลงานไม่ครบทุกท่าน / ผลงานล่าสุด แต่ชื่อเอกสารเป็นปี 2566
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
(อ.สุมนา) สสบ.1.1.04 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักมาตรฐานวิชาการ ต้อง login ถึงจะดูได้ เช่น เอกสาร RQF2 ก็ใช้หลักฐานเป็น สสบ.1.1.01 RQF.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสังคม พ.ศ. 2564 ได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 9 4.61
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 5
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.61
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 9 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 7
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 5
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.81 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(อ.สุมนา) หลักสูตรมีระบบกลไกการรับนักศึกษา นำข้อเสนอแนะจากการประเมินในปี 2565 มาปรับปรุงเพิ่มเติมกลยุทธ์การสื่อสารทั้งรูปแบบและช่องทางเพื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการวางระบบ แผนการ และเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาใหม่ โดยปรับปรุงพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง มีผลการดำเนินงานเพื่อการไปถึงผลลัพธ์และเป้าหมายอย่างชัดเจน ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาเข้าใหม่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีระบบกลไกในการรับนักศึกษา ซึ่งนำไปสู่การปฏิบัติ และมีการประเมินกระบวนการ พร้อมทั้งปรับปรุงจากผลการประเมินที่เกิดขึ้นอย่างเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
(ผศ.มนตรี) หลักสูตรมีการปรับปรุงเพิ่มเติมกลยุทธ์การสื่อสารทั้งรูปแบบและช่องทาง เพื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น ส่งผลให้มีจำนวนนักศึกษาเข้าใหม่มีจำนวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่องใน 3 ปีที่ผ่านมา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) หลักสูตรมีระบบกลไกการรับนักศึกษา นำข้อเสนอแนะจากการประเมินในปี 2565 มาปรับปรุงเพิ่มเติมกลยุทธ์การสื่อสารทั้งรูปแบบและช่องทางเพื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการวางระบบ แผนการ และเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาใหม่ โดยปรับปรุงพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง มีผลการดำเนินงานเพื่อการไปถึงผลลัพธ์และเป้าหมายอย่างชัดเจน ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาเข้าใหม่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(อ.สุมนา + ผศ.วิไลลักษณ์ + ผศ.มนตรี) หลักสูตรมีระบบกลไกการดูแลส่งเสริมพัฒนานักศึกษา มีการนำข้อเสนอแนะจากการประเมินปี 2565 มาพัฒนาปรับปรุง มีการสร้างผลงานของนักศึกษาจนมีหลักฐานเชิงประจักษ์ มีการวางเป้าหมายในการพัฒนา การดำเนินงานในเชิงผลลัพธ์ไปสู่เป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นรูปธรรม มีการทำ MOU และมีความร่วมมือกับองค์กรระดับนานาชาติ
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้หลักสูตรเพิ่มเติมการรายงาน ที่ครอบคลุมประเด็นดังนี้
เป้าหมาย : นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ (การรายงานเช่น หลักสูตรมีเป้าหมายที่จะทำให้นักศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในด้านต่างๆ โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จ ได้แก่.....)

ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. หลักสูตรมีแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ ให้กับนักศึกษาทั้งที่ดำเนินการเอง และเข้าร่วมกับคณะวิชา ไม่น้อยกว่า…..กิจกรรมต่อปี
2. ประเมินความสำเร็จระดับกิจกรรม และภาพรวม ถึงร้อยละนักศึกษาที่เข้าร่วมและได้รับการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ (แนวทางการรายงาน คือ ในแผนพัฒนาทักษะแต่ละปีจะประกอบด้วยทักษะกี่ด้านที่หลักสูตรให้ความสำคัญ ทักษะด้านที่ 1 จะประกอบด้วยกี่กิจกรรม ทักษะด้านที่ 2 ประกอบด้วยกี่กิจกรรม ทักษะด้านที่ 3 ประกอบด้วยกี่กิจกรรม (เช่น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) โดยกิจกรรมนั้นอาจเป็นกิจกรรมที่หลักสูตรจัดขึ้นเองหรือไปเข้าร่วมก็ได้ สำหรับการประเมินผลการดำเนินงานจะมี 2 ระดับคือ 1. ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม และ 2. ร้อยละของนักศึกษาที่บรรลุเป้าหมายของการพัฒนารายทักษะ เป็นต้น

**เพื่อเสนอพิจารณาคะแนน 4.00**

การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2556 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2559)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 77.78
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 60.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 66.67
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 55.56
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 30.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.39
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.48
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.49
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
(อ.สุมนา) สสบ.4.1.03 รายงานแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์ในหลักสูตร เปลี่ยนเป็นตัวอย่างรายงานแผนพัฒนารายบุคคลของอาจารย์ในหลักสูตร เนื่องจากอาจารย์ในหลักสูตรมี 5 คน แต่ในเล่มเอกสารและในรายงานมีข้อมูลเพียง 3 ท่าน

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.00 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 0.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 0.56 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 40.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.75
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.60
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.71
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

38
33
86.84
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
เพิ่มรายละเอียดการปรับปรุงรายวิชาแล้วส่งผลที่ดีขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมต่อนักศึกษาอย่างไร เพื่อปรับ 4.00
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.มนตรี) หลักสูตรมีการปรับปรุงรูปแบบการสอนในรายวิชา และได้ร่วมมือกับภาคเอกชน ในการจัดกิจกรรมที่นำความรู้ไปใช้จริง และมีการร่วมกิจกรรมการประกวดจนได้รับรางวัลชนะเลิศ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(อ.สุมนา) หลักสูตรมีการการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
หลักสูตรมีโครงการบริการวิชาการทางสังคมแบบให้เปล่าจำนวน 2 โครงการ 
1. โครงการสัมมนาวิชาชีพเทคโนโลยีสื่อสังคม ทำให้เกิดผลผลิตความรู้ในเชิงคุณภาพที่จะนำสู่การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนโซเชียลมีเดียต่อไป
2.โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษา SMT SHOWCASE ครั้งที่ 3 นักศึกษาได้นำเสนอผลงานสร้างสรรค์ ภายใต้แนวคิด Voice of Happiness Sharing ผลงานภาพถ่ายของนักศึกษา ถูกส่งมอบไปติดตั้งในโรงพยาบาลราชวิถี 2 จำนวน 30 ภาพ และ สถาบันประสาทวิทยาจำนวน 50 ภาพ เพื่อนำสู่การสร้างสาธารณะประโยชน์ ส่งต่อความสุขและเยียวยาจิตใจผู้ป่วยในสถานพยาบาลทั้งสองแห่งต่อไป
    ในส่วนของการทำนุบำรุงศิลปะและความเป็นไทยผ่านการเรียนการสอน หลักสูตรได้ริเริ่มนำประเด็นการขับเคลื่อนเอกลักษณ์ความเป็นไทย Soft Power ในงานสร้างสรรค์ “การนำขนมไทยไปสู่สากล” 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (RQF.3 และRQF.4) และการจัดการเรียนการสอน การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) คณะกรรมการกำกับมาตรฐานหลักสูตรทำหน้าที่ในการกำกับและดูและประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรให้เป็นไปตามที่กำหนดใน RQF.2 โดยเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา ผู้สอนจะต้องจัดทำ RQF.5 และสิ้นปีการศึกษาผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องจัดทำ RQF.7 ให้เสร็จตามกำหนดเวลา แล้วอัปโหลดลงฐานข้อมูลของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) หลักสูตรมีโครงการบริการวิชาการทางสังคมแบบให้เปล่าจำนวน 2 โครงการ 
1. โครงการสัมมนาวิชาชีพเทคโนโลยีสื่อสังคม จัดทำภายใต้วิชา SMT495 สัมมนาด้านเทคโนโลยีสื่อสังคม โดยนักศึกษาได้จัดงานสัมมนาในประเด็นของอาชีพ “แอดมินเพจ” ซึ่งเป็นอาชีพใหม่ที่มาแรงในวงการสื่อสารออนไลน์ ตอบรับเทรนด์อาชีพของคนรุ่นใหม่ และการเติบโตของสื่ออุตสาหกรรมออนไลน์ การจัดงานสัมมนาครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากตัวแทนเพจในระดับมืออาชีพจำนวน 3 เพจ ได้แก่ เพจ Buffalo Gags เพจ ปันโปร และเพจ Contrast ผลการสัมมนา ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้เบื้องหลังการทำงานด้านแอดมินเพจ รวมถึงเกิดผลผลิตความรู้ในเชิงคุณภาพที่จะนำสู่การพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนโซเชียลมีเดียต่อไป
2.โครงการจัดแสดงผลงานนักศึกษา SMT SHOWCASE ครั้งที่ 3 โดยนักศึกษาของหลักสูตรได้นำเสนอผลงานสร้างสรรค์ในรายวิชา SMT120 Digital Photography และ DIT108 Infographic ภายใต้แนวคิด Voice of Happiness Sharing โดยสะท้อนผลงานออกมาในรูปแบบของการจัดนิทรรศการผลงานสร้างสรรค์ผสมผสานระหว่างงานอินโฟกราฟิกและภาพถ่าย ผลงานภาพถ่ายของนักศึกษาในโครงการ SMT Showcase จะถูกส่งมอบไปติดตั้งในโรงพยาบาลราชวิถี 2 จำนวน 30 ภาพ และ สถาบันประสาทวิทยาจำนวน 50 ภาพ เพื่อนำสู่การสร้างสาธารณะประโยชน์ ส่งต่อความสุขและเยียวยาจิตใจผู้ป่วยในสถานพยาบาลทั้งสองแห่งต่อไป
    ในส่วนของการทำนุบำรุงศิลปะและความเป็นไทยผ่านการเรียนการสอน หลักสูตรได้ริเริ่มนำประเด็นการขับเคลื่อนเอกลักษณ์ความเป็นไทย Soft Power ในงานสร้างสรรค์ เข้าไปสู่ในรายวิชา DIT107 Creative Thinking & Writing โดยมอบโจทย์ให้นักศึกษาได้คิดริเริ่มสร้างสรรค์ “การนำขนมไทยไปสู่สากล” โดยเปิดความคิดอิสระให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานในการดึงเอาเอกลักษณ์ความเป็นขนมไทย ไปสู่อุตสาหกรรมธุรกิจระดับสากลในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งนักศึกษาสามารถสร้างผลงานสร้างสรรค์ได้อย่างสนุกและน่าสนใจ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-(อ.สุมนา) ในรายงานการประชุมไม่มีการพูดถึงเรื่องการติดตาม  RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7
- สสบ.5.3.02 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ถ้าจะให้ดู RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7 ต้อง login ใช้วิธียกตัวอย่างบางรายวิชามาแทน ประเภทละ 1 วิชา

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (RQF.3 และRQF.4) และการจัดการเรียนการสอน การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) คณะกรรมการกำกับมาตรฐานหลักสูตรทำหน้าที่ในการกำกับและดูและประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรให้เป็นไปตามที่กำหนดใน RQF.2 โดยเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา ผู้สอนจะต้องจัดทำ RQF.5 และสิ้นปีการศึกษาผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องจัดทำ RQF.7 ให้เสร็จตามกำหนดเวลา แล้วอัปโหลดลงฐานข้อมูลของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
(อ.สุมนา) - ในรายงานการประชุมไม่มีการพูดถึงเรื่องการติดตาม  RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7
- สสบ.5.3.02 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ถ้าจะให้ดู RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7 ต้อง login ใช้วิธียกตัวอย่างบางรายวิชามาแทน ประเภทละ 1 วิชา

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (RQF.3 และRQF.4) และการจัดการเรียนการสอน การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (RQF.5 RQF.6 และ RQF.7) คณะกรรมการกำกับมาตรฐานหลักสูตรทำหน้าที่ในการกำกับและดูและประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรให้เป็นไปตามที่กำหนดใน RQF.2 โดยเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา ผู้สอนจะต้องจัดทำ RQF.5 และสิ้นปีการศึกษาผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องจัดทำ RQF.7 ให้เสร็จตามกำหนดเวลา แล้วอัปโหลดลงฐานข้อมูลของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
(อ.สุมนา)  ในรายงานการประชุมไม่มีการพูดถึงเรื่องการติดตาม  RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
(อ.สุมนา) - สสบ.5.3.02 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ถ้าจะให้ดู RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7 ต้อง login ใช้วิธียกตัวอย่างบางรายวิชามาแทน ประเภทละ 1 วิชา
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
(อ.สุมนา) - สสบ.5.3.02 ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ ถ้าจะให้ดู RQF.3 RQF.4 RQF.5 RQF.6 และ RQF.7 ต้อง login ใช้วิธียกตัวอย่างบางรายวิชามาแทน ประเภทละ 1 วิชา
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเปิดทำการสอนจำนวน 38 รายวิชา มีผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน RQF.3 จำนวน 10 วิชา คิดเป็นร้อยละ 26.32
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา+ผศ.วิไลลักษณ์+ผศ.มนตรี) จากข้อมูลในรายงาน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสื่อสังคม มีการรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ จำนวน  1 คน โดยได้รับการปฐมนิเทศและคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน ในด้านการจัดกลยุทธ์การสอนแบบโครงการ การเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การประเมินผลการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นสำคัญ ฯลฯ
*แต่ในหัวข้อ การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ เขียนว่ามี อาจารย์ใหม่ 3 ท่าน*
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
(ผศ.วิไลลักษณ์) ไม่พบหลักฐานการปฐมนิเทศหรือการให้คำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่านใหม่
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเทคโนโลยีสื่อสังคม จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนน 4.49
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเทคโนโลยีสื่อสังคม จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.61
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรเทคโนโลยีสื่อสังคม มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 38 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา) จากเอกสาร ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ เทคโนโลยีสื่อสังคม มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 38 รายวิชา โดยมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน จำนวน 34  รายวิชา ซึ่งรวมทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ย 4.56  *พบว่าบางวิชาไม่มีเกรด*
CMT499        การศึกษาเฉพาะเรื่องด้านเทคโนโลยีสื่อสร้างสรรค์ (Sec 01)  S/66        -
CMT352        Creative Media Project (Sec 01)  ม.ค.-66        -
SMT120        Digital Photography Technology (Sec 02)  ก.พ.-66        -
SMT499        การศึกษาเฉพาะเรื่องด้านเทคโนโลยีสื่อสังคม : Vlog Creator (Sec 213)  ก.พ.-66        -
DIT102        Programming II (Sec 31)  ก.พ.-66  4.66-  => เอาเครื่องหมาย - ออก
SMT352        Social Media Technology Project (Sec 01)  ม.ค.-66  4.75 / 4.14 => ใช้ 4.75 ค่าเฉลี่ย = 4.44 ใช้ 4.14 ค่าเฉลี่ย = 4.42 แต่ในเอกสารระบุว่า 4.56
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรจัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.28 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ขอให้เพิ่มเติมการรายงานผลลัพธ์การดำเนินงานที่มีต่อนักศึกษาอย่างเห็นผลชัดเจนเป็นรูปธรรม เพื่อคะแนน 4.00
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(อ.สุมนา)ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรจัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.28 
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีระบบกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมีการสอบถามติดตามจากนักศึกษาซึ่งเป็นผู้ใช้จริง โดยนำผลที่ได้มาประเมินและหาแนวทางแก้ไข
ที่เกิดขึ้นอย่างเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
(ผศ.มนตรี) หลักสูตรได้นำผลการประเมินจากปีการศึกษาที่ผ่านมา นำผลมาปรับปรุงโดยมีการเปลี่ยนระบบยืมคืนและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่เพิ่มเติม ทำให้มีคะแนนความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการทำงานร่วมกับองค์กรภายนอก เกิดผลลัพธ์ผลงานของนักศึกษาเป็นที่ประจักษ์ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาเป็นที่ต้องการของผู้ประกอบการ
  2. หลักสูตรมีการปรับปรุงให้มีความทันสมัยสอดคล้องภาวะความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และสอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
  3. หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถในด้านการเรียนการสอน อีกทั้งมีการส่งเสริม สนับสนุนให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญในการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาอย่างเด่นชัด ทั้งในเรื่องการวางระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดกิจกรรม รวมทั้งการสร้างความร่วมมือกับอุตสาหกรรมภายนอก เพื่อร่วมพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามความต้องการของสายวิชาชีพอย่างแท้จริง

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ของหลักสูตรศึกษาในระดับที่สูงขึ้น และมีผลงานวิชาการเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการให้มากขึ้น
  2. จำนวนผลงานทางวิชาการมีจำนวนน้อย ควรส่งเสริมให้อาจารย์ทำวิจัย หรือผลงานสร้างสรรค์ให้มากขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.61
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 0.56
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.47

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.81 4.81 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 2.19 - - 2.19 ระดับคุณภาพปานกลาง
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 2.79 4.00 4.81 3.47 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก