รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

วันที่ประเมิน: 21 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบทุกท่าน
อาจารย์อยู่ประจําหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา มีจำนวน 5 ท่าน
1. ผศ.ดร.วรรณวิภา ติตถะสิริ
2. อาจารย์สุพานิช อังศิริกุล
3.อาจารย์สิทธิพงษ์ พวงพยอม
4. อาจารย์สุมนา เกษมสวัสดิ์
5. อาจารย์สุรชัย ดียิ่ง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามตารางแนวนอน ที่ประกอบด้วย ชื่อย่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา ชื่อสถาบัน และปีที่สำเร็จ รวมไปถึงระบุจำนวนผลงานวิชาการของแต่ละท่านในรอบ 5 ปี
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 ท่าน มีคุณวุฒิระดับปริญญาโท 4 ท่าน และมีคุณวุฒิปริญญาเอก 1 ท่าน และทุกท่านมีผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์และรายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร ตามตารางแนวนอนที่ประกอบด้วย ชื่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา ชื่อสถาบัน และปีที่สำเร็จ รวมไปถึงระบุจำนวนผลงานวิชาการของแต่ละท่าน ในรอบ 5 ปี
- อาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 5 ท่าน มีคุณวุฒิระดับปริญญาโท 4 ท่าน และมีคุณวุฒิปริญญาเอก 1 ท่าน และทุกท่านมีผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนตามตารางแนวนอน ที่ประกอบด้วย ชื่อย่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา ชื่อสถาบัน และปีที่สำเร็จ
-อาจารย์ผู้สอน 10 ท่าน มีคุณวุฒิในสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันกับสาขาวิชาและรายวิชาที่สอนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด และปรับครั้งล่าสุด (ครั้งที่ 8)  ในปี 2563 ปรับปรุงเพื่อ ใช้ในปี 2564
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 23 4.57
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 23
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.57
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คุณภาพบัณฑิตเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์ผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 23 4.09
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 23
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 18
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 0
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 4
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 1
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 81.82
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.09
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ถือว่าประสบผลสำเร็จได้งานทำเกินร้อยละ 80
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรติดตามบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ และที่กำลังอุปสมบท เพื่อทราบอุปสรรคหรือเหตุผลที่ไม่ได้งาน จะได้หาทางช่วยเหลือและให้คำแนะนำในการหางานทำ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการระบบกลไกในการวางแผนประเมินและปรับปรุงกระบวนการ ในการรับนักศึกษาโดยพิจารณาถึงปัญหาในปีก่อนและปรับปรุงกระบวนการเพิ่มเติมอย่างชัดเจน ทำให้ดำเนินการด้านเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาเพื่อรักษาอัตราการคงอยู่ได้ดียิ่งขึ้น และมียอดนักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรปรุงปรุงแล้วมีความทันสมัย ดึงดูดความสนใจผู้สนใจสมัครเรียนได้ดี มียอดผู้สมัครเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพื่อให้มียอดผู้สมัครเรียนเพิ่มมากขึ้น การประชาสัมพันธ์เรื่องห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง และผลงานวิจัยของคณาจารย์ต้องได้รับการโปรโมตอย่างจริงจังมากกว่านี้
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีการนำรุ่นพี่มาช่วยในการเตรียมความพร้อมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผลของ class GPA ในรายวิชาเบื้องต้นที่ใช้วัดคุณภาพการเรียนของนศ ปี 1 พบว่าอยู่ในระดับดีขี้น
2.ทำได้ครบวงจรทั้งการเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพ และการเข้าร่วมโครงการปรับพื้นฐานทางวิชาการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้ศิษย์ปัจจุบันมีส่วนร่วมกับคณาจารย์ในการจัดเตรียมความพร้อมรุ่นน้องอย่างเข้มแข็ง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบกลไกในการวางแผนเพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยครอบคลุมตั้งแต่การให้คำปรึกษานักศึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิด ทั้งยังมีการปรับปรุงรายวิชาให้รองรับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทำให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมผ่านการบูรณาการในรายวิชาและความร่วมมือกับสหวิชาในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง เห็นผลปรากฏชัดเจนจากรางวัลงานวิจัยดีเด่น รวมทั้งการแสดงผลงานในเวทีระดับชาติ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.สามารถติดตามนักศึกษาและกำหนดปริญญานิพนธ์ให้กับนักศึกษาที่ได้งานทำแต่ยังไม่สำเร็จการศึกษา
2.มีการจัดเวลาอาจารย์เพื่อให้การดูแลนักศึกษา
3.มีการจัดการประชุม Homeroom เพิ่มขึ้นตามกลุ่มของนักศึกษา
4.มีการนำข้อมูลของนักศึกษามาวางแผนการเปิดรายวิชาที่ นศ ต้องการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มการ workshop การเขียนบทความทางวิชา หรือ บทความวิจัย แก่นักศึกษาปีสุดท้าย เพื่อให้สามารถร่วมมือกับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานในการนำเสนอผลงานสู่สาธารณะ
 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่มีการปฏิบัติจริง เพื่อให้นักศึกษารู้ เข้าใจ และมีประสบการณ์ ที่สามารถแก้ปัญหา และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้
2.มีการเชิญศิษย์เก่าที่ประสบผลสำเร็จในวิชาชีพมาเป็นวิทยากรอบรมรุ่นน้องให้สามารถทำงานได้บนสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง

3.มีการส่งเสริม นศ อย่างต่อเนื่อง นำนักศึกษาประยุกต์ความรู้ไปสู่การใช้จริงจากหลายๆ โครงการ ส่งให้ นศ มีการแข่งขัน จนได้รับรางวัลระดับชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มการฝึกทักษะชีวิตและการสื่อสารด้วยภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาไทย
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.โครงงานบางโครงงานมีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารในฐานข้อมูล Scopus แสดงว่านักศึกษาและอาจารย์มีศักยภาพ
2.ควรผลักดันให้โครงงานที่เหลือได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะบนเวทีการประชุมวิชาการในระดับชาติ

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
2.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการทำให้ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
3.ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2532 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2535)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 69.60
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 72.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 58.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มียอดผู้สมัครใหม่เพิ่มขึ้น แสดงว่าหลักสูตรเป็นที่ต้องการของตลาด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จัดกิจกรรม Home Room ให้บ่อยครั้งขึ้นกว่าเดิม ให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่านเข้าร่วมพูดคุยกับนักศึกษา และให้ตำแนะนำในการเรียนให้ประสบผลสำเร็จ อาจเชิญนักจิตวิทยาการศึกษามาบรรยายในบางโอกาส
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 4.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 31.80
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 24.40
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรหาสาเหตุและเพิ่มอัตราการสำเร็จการศึกษา
 
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.16
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.19
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.28
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
นักศึกษามีความพึงพอใจในการพัฒนาศักยภาพของพวกเขาให้สร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
พัฒนาโครงการให้ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติได้โดยแท้จริง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
เป็นไปตามระเบียบวิธีปฏิบัติของมหาวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการมอบหมายภาระงานสอนให้กับอาจารย์ตามความรู้ความสามารถและความถนัดในปริมาณที่เหมาะสมตามเกณฑ์ภาระงานขั้นตํ่าของมหาวิทยาลัยอย่างเท่าเทียม ช่วยสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานได้มาก อีกทั้งมีการประชุมร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ไขปัญหา ทำให้เกิดความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรในระดับดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
การประเมินความดีความชอบของคณาจารย์ในหลักสูตร ให้พิจารณาเรื่องภาระงานสอนเป็นหลัก เพราะเท่าที่เห็น อาจารย์สอนหนัก จนไม่มีเวลาผลิตผลงานวิจัย
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการทำผลงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น โดยมีผลงานวิจัยรวม 3 ผลงาน นอกจากนี้ อาจารย์บางท่านยังได้ร่วมทีมวิจัยกับอาจารย์คณะเทคโนโลยีอาหารและคณะเภสัชศาสตร์ในการขอทุนภายนอกจากกรมการแพทย์แผนไทยและกรมการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสำอางจากกระท่อม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์ทุกท่านควรมีผลงานวิจัยตีพิมพ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

 

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์มีคุณวุฒิตรง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรส่งเสริมพัฒนาอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาโท ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก หรือ ส่งเสริมเรื่องการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรผลักดันให้คณาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการ และผลิตงานวิจัยเพิ่ม และเขียนเอกสารคำสอน หรือตำราวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 3 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 24.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์ทุกท่านควรผลิตงานวิจัยและตีพิมพ์เผยแพร่ อย่างน้อยปีละ 1 ผลงานต่อคน
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการเปลี่ยนอาจารย์ในปีการศึกษา 2564 ทำให้ร้อยละของปี 64 เป็น 80%
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์มีภาระงานสอนเต็มพิกัด แต่อาจารย์บางท่านก็ยังสามารถมีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรเพิ่มเรื่องขวัญและกำลังใจ เนื่องจากอาจารย์มีภาระงานสอนหนัก จนอาจจะไม่มีเวลาพอสำหรับการผลิตผลงานวิจัย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.30 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

23
23
100.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการกำหนด Program Learning Outcomes (PLO) ชัดเจน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการปรับปรุงเนื้อหาการสอนทุกรายวิชาให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน และมีการดำเนินการด้านสหกิจศึกษาอย่างจริงจัง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในบางรายวิชาสามารถแทรกการไปศึกษาดูงานในสถานที่จริงได้
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในมิติ Active Citizen หลักสูตรได้ดำเนินการเรียนการสอนรายวิชา CSC487 กฏหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งผลให้อย่างน้อยผู้เรียนมีทัศนคติต่อการใช้ชีวิตในเส้นทางอาชีพได้อย่างรู้กฎหมาย การไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น และการประกอบสัมมนาอาชีพอย่างสันติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบกลไกในการวางแผนระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยพิจารณาผู้สอนตามความเชี่ยวชาญที่สอดคล้องกับแต่ละรายวิชา มีการบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย รวมทั้งมีการบูรณาการการวิจัย ร่วมกับรายวิชาเพื่อเพิ่มให้กระบวนการเรียนการสอนมีประสิทธิ์ภาพอย่างเห็นผลปรากฏชัดเจน ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมแข่งขัน และได้รับรางวัลในระดับชาติ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีระบกกลไกชัดเจน อาจารย์ผู้สอนทุกท่านมีผลการประเมินการสอนอยู่ในเกณฑ์ดีทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เนื่องจากเป็นหลักสูตรที่เน้นสอนด้านเทคนิคเทคโนโลยี กระบวนการสอนอาจน่าเบื่อในบางวาระ จึงควรจัด workshop ขนาดเล็กเฉพาะอาจารย์ เพื่อพัฒนาวิธีการสอนรายวิชาเหล่านี้ให้สนุกเร้าใจ น่าติดตาม อาจทำให้ผลการประเมินการสอนอยู่ในระดับดีมากทุกคน
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มการจัดการเรีนการสอนแบบ problem-based learning ให้มากรายวิชา
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีการจัดส่งนักศึกษาเข้าแข่งขันโครงการประกวดแอพพลิเคชัน Huawei Grobal App Innovation Contest
2.ร่วมมือกับวิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร ในการพัฒนาเว็บไซต์ pilotplant.rsu.ac.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของโรงงานต้นแบบที่ให้อาจารย์ นักศึกษาและผู้มาใช้บริการภายนอก สามารถใช้เว็บไซต์ทำการจองใช้มือและห้องปฏิบัติการของโรงงานต้นแบบในการแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์อาหาร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มโครงการเข้าไปในทุกรายวิชาเพื่อใช้เป็นคะแนนตัดเกรดแทนการสอบ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในรายวิชาปริญญานิพนธ์ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ์ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาการสอบเค้าโครงปริญญานิพนธ์ และสอบป้องกันปริญญานิพนธ์ มีเกณฑ์การประเมินที่หลักสูตรกำหนด โดยไม่ผลักภาระการประเมินไปที่อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์แต่เพียงผู้เดียว
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
คณาจารย์ควรกำหนดวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อให้เป็นมาตรฐานการประเมินทุกรายวิชาที่เปิดสอนให้ครอบคลุม ผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen)
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการของหลักสูตร ทำหน้าที่ประชุมพิจารณาข้อสอบที่ใช้ในการสอบปลายภาคของทุกรายวิชาที่เปิดสอนในภาคการศึกษา รวมทั้งพิจารณาผลการตัดเกรด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเข้ามาเป็นคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการของหลักสูตรด้วย จะทำให้เข้มแข็งมากขึ้น
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรสามารถจัดทำ มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 ให้เสร็จตามกำหนดเวลา แล้วบันทึกลงในระบบฐานข้อมูลอินทราเน็ตของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประจำปีการศึกษา ได้ตามแผนที่กำหนดไว้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเข้ามาเป็นคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการของหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่มี
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการสำรวจ/จัดทำความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนและนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ เพื่อจัดสรรสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรทำแบบฟอร์มเสนอความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนให้อาจารย์แต่ละท่านได้กรอกสิ่งที่ต้องการใช้ในรายวิชาที่สอน
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.มีจำนวนสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนการสอน มีการจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอนรายวิชาใหม่ ๆ โดยตลอด
2.มีจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพียงพอพร้อมรองรับการเรียนการสอน อาทิ อุปกรณ์สำหรับทำปริญญานิพนธ์ ได้แก่ บัตร Smart Card และเครื่องอ่านบัตร Smart Card, RFID , อุปกรณ์ IOT เช่น Arduino Starter Kit, DJI Tello EDU Boost Combo Mini Drones, Mini 3D Printer, Arduino UNO R3 , Rasberry PI 4B, Trello EDU Drone, เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้น สัญญาณชีพจร ระยะทาง , Relay Module, ชุดโครงแขนกลหุ่นยนต์และ Servo Motor
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนด้วยจะดีไม่น้อย
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
นักศึกษาได้ใช้อุปกรณ์ในการสร้างผลงานที่เป็นโปรเจคของรายวิชา ได้แก่ ระบบเปิดปิดไฟอัตโนมัติโดยตรวจวัดระยะทางด้วยพิกัด GPS ระบบตรวจจับการบุกรุก รถสำรวจบังคับผ่านโทรศัพท์มือถือ ระบบป้องกันแก๊สรั่วแจ้งเตือนผ่านมือถือ ระบบเปิดปิดประตูรั้วผ่านเซนเซอร์ Smart Plug ปลั๊กควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านแอพ นอกจากนี้ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้ทดลองสร้างแขนกลหุ่นยนต์จากอุปกรณ์ที่ได้จัดซื้อมาและนำมาสอนให้กับนักศึกษารุ่นน้อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในระหว่างประเมิน ควรจัดเป็น Forum เล็ก ๆ เพื่อให้ตัวแทนนักศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. มีกระบวนการพัฒนานักศึกษาที่ดี มีโครงการให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง จนทำให้นักศึกษาได้รับรางวัลระดับชาติ
  2. อาจารย์มีศักยภาพสูง เพราะนอกจากจะสอนหนัก (นักศึกษามีจำนวนมาก และต้องแบกภาระสอนรายวิชารหัส RSU ที่มุ่งปูพื้นฐานด้าน Digital Literacy ให้แก่นักศึกษาทั้งมหาวิทยาลัย) หากแต่งยังอุทิศเวลาผลิตงานวิจัย จนได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ
  3. มีการจัดหาสิ่งสนับสนุนที่ใช้ในวิชาสอนมาตลอด อุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอนมีความพร้อม โดยเฉพาะการเรียนการสอนรายวิชา IOT
  4. หลักสูตรมีการวางแผนรายวิชาและผู้สอนให้สอดคล้องตามความต้องการของสาขาอาชีพ โดยส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้ได้รับประสบการณ์การทำงานนอกห้องเรียน และประกวดในโครงการต่างๆ จนได้รับรางวัลปรากฏชัดเจน

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ส่งเสริมให้อาจารย์ศึกษาต่อเพื่อเพิ่มคุณวุฒิปริญญาเอก และพัฒนาผลงานวิจัยเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ
  2. อุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอนมีความพร้อมก็จริง แต่ก็ยังขาดความทันสมัย โดยเฉพาะห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เฉพาะทาง
  3. รายวิชาสุดล้ำ เช่น Quantum Computing รวมทั้ง Smart City Architecture ก็น่าจะมีการสอนบ้างในรายวิชา Special Topic ก็ได้

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.57
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.09
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.66

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.33 4.33 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.30 - - 3.30 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.41 3.75 4.33 3.66 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก