รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศการลงทุน

วันที่ประเมิน: 27 กรกฏาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
รายงานได้ครบถ้วน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
หลักสูตรมีการปรับปรุงตามระยะเวลา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 21 4.62
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 15
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.62
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีข้อสังเกตค่าเฉลี่ยด้านทักษะทางปัญญา ได้เฉลี่ยสูงสุด 4.73 มีคุณภาพดีมาก แต่ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เฉลี่ยน้อยสุด 4.56 ผลสะท้อนนี้ หลักสูตรสามารถนำไปปรับวิธีการพัฒนานักศึกษาด้านวิเคราะห์เชิงตัวเลขผ่านรายวิชาหรือกิจกรรม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 21 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 15
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 13
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 2
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 0
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 0
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 100.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.81 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1. กระบวนการรับนักศึกษา ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ สร้างสื่อวิดีโอเผยแพร่ไปยังช่องทางมีเดียหลายช่องทาง จนทำให้จำนวนนักศึกษาแรกเข้าเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 3 ปี
2. หลักสูตรได้เตรียมความพร้อมให้นักศึกษาใหม่ โดยมีความร่วมมือกับหลักสูตรการวางแผนการเงิน CPF กับสมาคมนักวางแผนการเงินไทย เปิดโอกาสให้มีการเทียบเคียงความรู้ในรายวิชาของหลักสูตรสารสนเทศการลงทุน

3.หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาใหม่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ มีอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาดีต่อเนื่อง
4.หลักสูตรได้รับการสนับสนุนจากจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในการผลิตบัณฑิต ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ บวกกับความพร้อมของหลักสูตรส่งผลให้จำนวนนักศึกษาของหลักสูตรมีจำนวนเพิ่มขึ้นในทุกปีการศึกษา
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีผลการดำเนินงานด้านการรับนักศึกษา โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านกิจกรรมและช่องทางต่างๆ ที่หลากหลายดีมาก ได้พยายามปรับกระบวนการให้ได้จำนวนนักศึกษาแรกเข้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563 ถึง 2565 ดังนั้น หลักสูตรควรมองแนวทางเสริมประเด็นนี้ให้เข้มแข็ง และยั่งยืน ตั้งแต่การวางระบบ และกลไก ตลอดจนการนำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการรับนักศึกษาให้ได้นักศึกษาที่มีคุณภาพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ในปี 2566 ทางหลักสูตรต้องช่วยกันวางแผนกระบวนการรับนักศึกษาใหม่ เนื่องจากไม่มีการสนับสนุนทุนจาก อว.
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.นักศึกษามีผลงานวิจัยเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
2.นักศึกษาสอบผ่านหลักสูตรผู้แนะนำการลงทุนตราสารทั่วไป และผ่านหลักสูตรพื้นฐานการวงาแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ
3.หลักสูตรมีกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาหลากหลายโครงการ ซึ่งมีผลลัพธ์จากการพัฒนาที่ชัดเจน โดยมีทั้งนักศึกษาที่สามารถผลิตผลงานวิจัยและนำเสนอในงานประชุมระดับนานาชาติ, มีการจัดกิจกรรมผ่านชมรม wealth club ที่ทั้งนักศึกษาและชมรมได้รับรางวัลกิจกรรมดีเด่น, นักศึกษาสามารถสอบผ่านหลักสูตรการวางแผนการลงทุนได้จำนวนหลายคน
4.หลักสูตรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษามีผลงานวิชาการ สิ่งประดิษฐ์และงานสร้างสรรค์ในเวทีต่าง ๆ 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการจัดกิจกรรมโครงการที่ช่วยพัฒนาศักยภาพศึกษาและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หลายโครงการและเห็นผลชัดเจน เช่น การศึกษาดูงานที่พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, การนำผู้ประกอบการภายนอกมาร่วมสอนในรายวิชาเพื่อให้ได้ประสบการณ์จริง เป็นต้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ควรบรรจุกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ไว้ใน มคอ.3 ของรายวิชา INI213, INI306, INI490 หลังจากจบภาคการศึกษาก็ทำการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ต่อไป
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ส่งเสริมเรื่องของการผลิตผลงานวิจัย จนมีนักศึกษาที่สามารถผลิตผลงานวิจัยและนำเสนอผลงานในระดับนานาชาติ
2.หลักสูตรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษามีผลงานวิชาการ สิ่งประดิษฐ์และงานสร้างสรรค์ในเวทีต่าง ๆ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2556 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2559)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 73.30
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 66.70
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 73.90
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรช่วยกันวางแผน เพื่อให้การคงอยู่ดีขึ้นในปีต่อไป จะสังเกตว่าปี 2565 มีจำนวนออกระหว่างเรียนเป็นจำนวนมาก อาจต้องทำการสำรวจหาสาเหตุ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนหลักสูตรนี้ก่อนที่เขาจะตัดสินใจเลือกเรียน เพื่อลดการออกกลางคัน
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 66.70
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 53.30
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 65.20
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.39
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.29
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.04
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.มีข้อสังเกตคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรด้านการรับนักศึกษา และการเตรียมความพร้อมได้เฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 3.89 ทั้งๆ ที่ตัวบ่งชี้ 3.1 หลักสูตรประเมินตนเองมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม ดังนั้น อาจต้องมองว่าทางฝั่งนักศึกษายังมีประเด็นอะไรที่ต้องปรับปรุงบ้าง
2.ข้อสังเกตถึงแม้ว่าผลประเมินความพึงพอใจในภาพรวมจะมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า 4.00 ในทั้ง 3 ปี แต่มีแนวโน้มของคะแนนที่ลดลง หลักสูตรอาจพิจารณาหาแนวทางการแก้ไขในบางประเด็นที่นักศึกษาประเมินมาด้วยคะแนนที่น้อยกว่าเรื่องอื่นๆ อย่างเช่น เรื่องการรับและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 2
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.33 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์อย่างต่อเนื่องทำให้ ปี 2565 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีผลงานวิจัยอยู่ในระดับนานาชาติ และได้ปรับวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก จำนวน 1 ท่านด้วย
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อมูลเก่าปี 2561 ไม่ต้องเขียนรายงานแล้ว ควรเน้นข้อมูลของปี 2565 ว่าทางหลักสูตรมีระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างไร โดยรายงานระบบกลไกตั้งแต่ปีการศึกษา 2563
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.เขียนระบบการบริหารอาจารย์ยังไม่ชัดเจน
2.หลักสูตรรายงานแผนบริหารความเสี่ยง ควรแนบหลักฐานอ้างอิงด้วย

3.หลักสูตรสามารถเพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารอาจารย์ จนทำให้อาจารย์มีตั้งคุณวุฒิที่สูงขึ้น และ สอบผ่านหลักสูตรทางด้านการลงทุน ซึ่งจะช่วยให้การได้คะแนน 4 มีผลที่ชัดเจนมากขึ้น
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการสนับสนุนการพัฒนาตนเองของอาจารย์ ซึ่งในปี 2565 มีทั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิสูงขึ้น และมีอาจารย์ที่สามารถสอบผ่านหลักสูตรทางด้านการลงทุน  
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีศักยภาพสูงมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีตำแหน่งทางวิชาการคิดเป็นร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 2 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 0.80 4.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 16.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 4.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
กระตุ้นให้อาจารย์ทุกท่านมีผลงานวิชาการ อาจร่วมกันทำงานวิจัยร่วมกับนักศึกษาได้
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 4.67 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 2
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. มีข้อสังเกตว่า ความพึงพอในด้านการรับและแต่งตั้งอาจารย์ ปี 2565 ลดลงจากปี 2564 ดังนั้น หลักสูตรต้องหาจุดที่ต้องปรับประบวนการเพื่อให้การรับและแต่งตั้งอาจารย์ เป็นที่น่าพอใจมากขึ้น
2. ถึงแม้ว่าคะแนนประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะมีคะแนนสูงกว่า 4.00 ทางหลักสูตรสามารถพิจารณาประเด็นที่อาจารย์มีความพึงพอใจน้อยกว่าประเด็นอื่นๆ เพื่อนำมาพัฒนาอาจารย์ให้มีความพึงพอใจมากขึ้นในปีต่อๆไปได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.56 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

27
22
81.48
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
1.หลักสูตรมีการออกแบบและกำหนดสาระรายวิชา ที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาด้านธุรกิจการเงิน การธนาคาร และธุรกิจประกันภัย สามารถนำไปใช้จริง เป็นการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประเทศได้อีกทางหนึ่ง
2.หลักสูตรได้กำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน ได้อย่างชัดเจน และทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เป็นผลงานของนักศึกษาหลากหลายชั้นปี ตลอดจนผลงานที่ปรากฎมีทั้งระดับชาติและนานชาติ
3.หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยโดยมีการปรับสาระการเรียนรู้ในรายวิชาที่เชื่อมโยงกับการสอบใบประกอบวิชาชีพ/การสอบหลักสูตรทางการเงินต่างๆ ที่เอื้อต่อการนำไปใช้งานได้จริง
4.หลักสูตรมีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอกที่มีการดำเนินการเป็นรูปธรรม ทั้งความร่วมมือในการร่วมสอน และการจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอกที่มีการดำเนินการเป็นรูปธรรม ทั้งความร่วมมือในการร่วมสอน และการจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เมื่อมีความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก หลักสูตรควรมีการประเมินทั้งจากนักศึกษาและอาจารย์ผู้รับชอบหลักสูตร ถึงความพึงพอใจและประโยชน์ที่ได้รับ เพื่อจะนำผลประเมินมาปรับความร่วมมือในครั้งต่อไป หรือ ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งๆขึ้น
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยโดยมีการปรับสาระการเรียนรู้ในรายวิชาที่เชื่อมโยงกับการสอบใบประกอบวิชาชีพ/การสอบหลักสูตรทางการเงินต่างๆ ที่เอื้อต่อการนำไปใช้งานได้จริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.มีข้อสังเกตในการวิพากษ์หลักสูตร มีใครร่วมวิพากษ์บ้าง เช่นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ใช้บัณฑิต หรือศิษย์เก่า ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะให้ความคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตร
2.การปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนที่แสดงไว้ในตาราง(b) หน้า 59 มี 22 วิชา มีวิชาใดสามารถเชื่อมโยงกับการนำไปใช้จริงได้บ้าง
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรสามารถสรุปผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้านโดยเชื่อมโยงกับรายวิชาที่เปิดสอนให้กับนักศึกษาในหลักสูตร จะช่วยให้การรายงานในส่วนนี้ง่ายขึ้น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการปรับสาระในรายวิชาที่สนับสนุนต่อการสอบหลักสูตรผู้แนะนำการลงทุนตราสารทั่วไป รวมทั้งมีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอกที่เข้ามาร่วมสอนและจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์จริงจากผู้รู้ในศาสตร์นี้อย่างแท้จริง
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1.เกณฑ์ข้อนี้ ต้องการให้หลักสูตรรายงานการจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ที่รายงานมาไม่ตรงประเด็น หลักสูตรมีรายวิชาที่สามารถบูรณาการกับการวิจัย จนทำให้นักศึกษาผลิตผลงานวิจัยไปตีพิมพ์เผยแพร่
2.หลักสูตรควรนำโครงการ/กิจกรรม ที่เชื่อมโยงรายวิชา สามารถนำมาบูรณาการการบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

3.ในเบื้องต้นให้ 3 หากหลักสูตรเพิ่มเติมรายละเอียดว่าหลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการอย่างไร (เช่น กิจกรรม/รายวิชาใดเชื่อมโยงกับการวิจัย , การบริการวิชาการ, การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
หลักสูตรมีการกระตุ้นให้นักศึกษาสอบใบประกอบวิชาชีพมากขึ้น โดยปรับรูปแบบการสอนวิชา INI213 ให้มีรูปแบบการเรียนคล้ายกับการสอบใบประกอบวิชาชีพ เน้นการทำแบบทดสอบ เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษาคุ้นเคยกับการทำข้อสอบ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีการปรับให้การสอบใบประกอบวิชาชีพ เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรายวิชา INI 213 ซึ่งเป็นแนวคิดที่ดีมาก ทำให้นักศึกษาหันมาเห็นความสำคัญของการสอบใบประกอบวิชาชีพมากขึ้น และคิดว่าในอนาคตน่าจะสนใจสอบมากขึ้นเรื่อยๆ โดยพยายามให้ข้อมูลจากรุ่นพี่ที่ประสบความสำเร็จในการสอบ ทางหลักสูตรควรเก็บสถิติการสอบแต่ละรุ่นคิดเป็นร้อยละเท่าไร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตรวจสอบเอกสารการประชุมต้องมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบมีส่วนร่วมอย่างน้อยร้อยละ 80 ไม่พบข้อมูลของอาจารย์วีรวัฒน์
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
แก้ไขการเขียนตรงช่องผลการดำเนินงานข้อ 5 ตัวอย่างการเขียน ภายใน 60 วันหลังสิ้นสุดปีการศึกษา ทางหลักสูตรได้จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 และนำเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล TQF ของสำนักมาตรฐานวิชาการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มีเอกสาร 5.4.03 มคอ.7 ใน DBS
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อ 6 แก้ไขปีการศึกษา 2564 เป็น 2565 และจำนวนรายวิชาทวนสอบไม่ตรงกับหน้า 76
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1.หลักฐานน่าจะเป็น ผลการประเมินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ (ที่ใส่มาคือ ฐานข้อมูลกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ)
2.ปรับแก้จำนวนวิชาที่เปิดสอนในหน้า 46-50 ให้ตรงกับหน้า 52-56 และให้ตรงกับ DBS และให้ตรงกับทุก ๆ ที่ที่อ้างถึงจำนวนวิชาที่เปิดสอน
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อ 7 เขียนไม่ตรงประเด็น ควรบอกว่ามีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาอะไร จากการประเมินผลการเรียนใน มคอ 7 ปีที่แล้ว
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผศ.นิศากร หลักฐาน น่าจะเป็นการพัฒนาปรับปรุงรายวิชาที่ได้ดำเนินการ
อาจารย์สุมนา ปรับแก้จำนวนวิชาที่เปิดสอนในหน้า 46-50 ให้ตรงกับหน้า 52-56 และให้ตรงกับ DBS และให้ตรงกับทุก ๆ ที่ที่อ้างถึงจำนวนวิชาที่เปิดสอน เพื่อจะได้คะแนนประเมินที่ถูกต้อง
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มข้อมูลการอบรมของ อ วีรวัฒน์ หน้า 57-58 ด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เพิ่มเติมข้อมูลการพัฒนาทางวิชาการหรือวิชาชีพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ขาด ผศ.วีรวัฒน์)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตรวจสอบข้อมูลหน้า 34 เก็บข้อมูลจากนักศึกษากลุ่มใด สามารถนำค่าเฉลี่ยความพึงพอใจมาใส่ข้อ 11 ได้หรือไม่
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผศ.นิศากร เอกสารหลักฐาน เป็นความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้ายหรือบัณฑิตใหม่ ซึ่งต่างกลุ่มจากนักศึกษาปีการศึกษา 2565 ทุกระดับชั้น
อาจารย์สุมนา  ต้องแจ้งว่าคะแนนเฉลี่ยเป็นเท่าใด
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดูหน้า 18 นำตัวเลขมาใส่ให้ถูกต้อง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1.เติมตัวเลขความพึงพอใจต่อผู้ใช้บัณฑิตในหัวข้อ 12 หน้า 82 
2.เติมคะแนนเฉลี่ย เป็น 4.62 และจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 15 คน
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่มีเอกสาร 5.4.03 ในระบบ DBS
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ดูหน้า 56 ความพึงพอใจต่อคุณภาพการสอนเฉลี่ย 4.40 แก้ไขให้ตรงกัน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-ในบางรายวิชามีผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาค่อนข้างน้อย หลักสูตรควรมีข้อเสนอแนะหรือแนวทางการแก้ปัญหา ในตารางหน้า 52 - 56 เพื่อที่ในปีต่อไปนี้ สามารถอ้างถึงการได้ปรับรายวิชาตามข้อเสนอแนะของปีก่อนหน้าได้
-คะแนนเฉลี่ยในตารางหน้า 83 ไม่ตรงกับหน้า 56 ที่ระบุไว้ที่ 4.40
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน และตัวบ่งชี้ 6.1 ก็ไม่พบว่ามีการประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
1.พิ่มหลักฐานการประเมินความพึงพอใจต่อทรัพยากรสับสนุนการเรียนการสอน
2. เติมความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ย 4.69
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพให้กับนักศึกษาที่บูรณาการไปกับรายวิชา จนเห็นผลที่นักศึกษามีผลงานด้านการวิจัย และการสอบใบประกอบวิชาชีพได้
  2. หลักสูตรมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่มีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันเป็นรูปธรรม ทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ในศาสตร์ด้านการลงทุนอย่างแท้จริง
  3. อาจารย์ในหลักสูตรมีความรู้ความสามารถช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาเผยแพร่ผลงานวิชาการ สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
  4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิและมีตำแหน่งทางวิชาการเกินกว่าระดับคุณภาพที่กำหนด

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรสนับสนุนการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้ครบทุกท่าน เพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งการพัฒนาอย่างแท้จริง และช่วยในการขอตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นต่อไป
  2. หลักสูตรควรมีการกระตุ้นและส่งเสริมให้นักศึกษาสอบใบประกอบวิชาชีพในรายวิชา INI 213 อย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.62
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 4.67
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 2.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.79

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.81 4.81 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.33 - - 3.33 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.56 - - 3.56 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.52 3.75 4.81 3.79 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก