รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศการลงทุน

วันที่ประเมิน: 19 สิงหาคม 2567, 13:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม

ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)

- ไม่มี
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
เพิ่มรายชื่อ อ.คมวุธ และ อ.จักริน ในตารางข้อ 4 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 22 4.40
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 5
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.40
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 22 4.29
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 19
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 8
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 3
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 1
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 2
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 5
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 85.71
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.29
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.35 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรมีระบบ กลไกในการเตรียมความพร้อมด้าน Digital Literacy ส่งผลให้นักศึกษาได้รับทุนจากโครงการยุวสหกิจเริ่มต้น จำนวน 4 คน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.นิศากร) - หลักสูตรมีหลากหลายช่องทางในการประชาสัมพันธ์ ซึ่งการดำเนินการต่างๆอยู่ในช่วงปีการศึกษา 2566 ดังนั้น จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นน่าจะเห็นผลในปีการศึกษา 2567
- หลักสูตรมีการประชาสัมพันธ์ในหลากหลายช่องทาง หากมีการสอบถามเก็บข้อมูลจากนักศึกษาที่เข้ามาถึงช่องทางที่รู้จักหลักสูตร จะช่วยให้มีข้อมูลในการเตรียมความพร้อมในปีต่อๆไปได้เป็นอย่างดี
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีระบบกลไกในการรับนักศึกษา ซึ่งนำไปสู่การปฏิบัติ และมีการประเมินกระบวนการ พร้อมทั้งปรับปรุงจากผลการประเมิน
ที่เกิดขึ้น ทำให้จำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงที่ได้รับทุนบัณฑิตพันธุ์ใหม่ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) จากโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ที่ทางหลักสูตรใช้ประชาสัมพันธ์ในการรับนักศึกษา ควรแสดงผลการประเมินกระบวนการดำเนินงานของแต่ละกิจกรรม เช่น การออกบูธ การจัดค่ายวิชาการ การจัดอบรมให้คุณครูและนักเรียน เพื่อนำผลมาปรับปรุงกระบวนการรับในปีต่อไป
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) นอกเหนือจากกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่ได้รายงานมานั้น ในปีหน้าควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านภาษาอังกฤษไว้ด้วย เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะในด้านนี้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรมีระบบ กลไก ที่ชัดเจน นำไปปฏิบัติได้จริง และมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรม เห็นได้เชิงประจักษ์จากผลงานวิจัยของนักศึกษา ที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ อย่างต่อเนื่องติดต่อกัน 3 ปี และในปีนี้นักศึกษายังได้รับทุน Startup จากโครงการยุวสหกิจเริ่มต้นอีกด้วย และยังมีนักศึกษาที่สามารถสอบผ่านใบประกอบวิชาชีพผู้นำการลงทุนได้อีกหลายคน
(ผศ.นิศากร) หลักสูตรมีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาทางด้านการสอบใบประกอบวิชาชีพการเป็นผู้แนะนำการลงทุนอย่างต่อเนื่อง ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาและการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ จนมีนักศึกษาที่สามารถสอบผ่านการเป็นผู้แนะนำการลงทุนได้
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรควรกำหนดรายชื่ออาจารย์ให้ชัดเจนว่าใครดูแลนักศึกษาตามชั้นปีอย่างไร หรือถ้าต้องการให้เกิดความชัดเจน อาจแบ่งบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ใครทำหน้าที่ดูแลด้านทั่วไป ด้านวิชาการ ด้านแนะแนว แนะแนวการบริการต่างๆ ในมหาวิทยาลัย แนะแนวการเข้าร่วมกิจกรรมทั้งของหลักสูตร วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย และด้านการพัฒนานักศึกษา นั่นคือ หลักสูตรต้องควบคุมดูแลให้คำปรึกษา ทั้งวิชาการและวิชาชีวิต
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.นิศากร) หลักสูตรมีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดยนำความรู้สำหรับการสอบใบประกอบวิชาชีพผู้แนะนำการลงทุนมาเป็นเนื้อหาหลักในรายวิชาต่างๆ และมีการจัดอบรมให้ความรู้สำหรับการสอบโดยตรง
แนวทางเสริม
เพื่อให้เห็นผลอย่างชัดเจน หลักสูตรควรระบุ literacy หลัก ที่ต้องการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เช่น สำหรับนักศึกษาหลักสูตรสารสนเทศการลงทุนจะเน้นพัฒนา literacy  ด้าน career skills และกำหนดเป้าหมายของการส่งเสริมและพัฒนา ในกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ เช่น จำนวน/ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพผู้แนะนำการลงทุนจากนศ.ที่เข้าสอบทั้งหมด จะได้เห็นผลชัดเจนยิ่งขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรควรเน้นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ ที่เป็นประเด็นหลักๆ คือ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกำหนดรายวิชา/โครงการ/กิจกรรม ให้ชัดเจนว่าต้องการพัฒนานักศึกษาด้านใดบ้าง
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.ศิริวรรณ) นักศึกษามีผลงานวิจัยตีพิมพ์ เผยแพร่ และมีนักศึกษาหลายคนที่สามารถสอบผ่านใบประกอบวิชาชีพนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และใบประกอบวิชาชีพนักวางแผนการเงิน ซึ่งเป็นการสอบใบประกอบวิชาชีพที่มีความยากสูง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.นิศากร) ในส่วนของหัวข้อนี้ แนะนำให้นำเสนอเรื่องของผลงานวิจัยที่นักศึกษาได้ตีพิมพ์มานำเสนอ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2556 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2559)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 60.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 65.22
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 87.88
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 60.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 65.20
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 81.82
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.29
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.04
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.01
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(ผศ.ศิริวรรณ) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในการวิจัย ส่งผลให้อาจารย์ผลิตผลงานวิจัย ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ในระดับ Scopus
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีระบบกลไกในการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ทั้งด้านของการเพิ่มคุณวุฒิ และการผลิตผลงานทางวิชาการ 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) ในปีต่อไปหลักสูตรควรวางแผนด้านอัตรากำลังอาจารย์ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในกรณีมีอาจารย์มากหรือน้อย อาจไม่สมดุลกับภาระงานสอน
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรสามารถแยกประเด็นการบริหารอาจารย์เป็นด้านๆ เช่น ด้านบริหารกำลังคน ด้านบริหารความเสี่ยง ด้านพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการ
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรควรชี้ให้เห็นว่า ระบบ และกลไก ที่ทางหลักสูตรกำหนดไว้เป็นการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในการวิจัย ส่งผลให้อาจารย์ผลิตผลงานวิจัย ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ในระดับ Scopus
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 4 0 1 2
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 4.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 88.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.นิศากร) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานเป็นจำนวนมาก และมีคุณภาพระดับนานาชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2566 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.32
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.21
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.56
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

21
19
90.48
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.นิศากร) หลักสูตรมีการปรับสาระรายวิชาที่เหมาะสมสำหรับการสอบ certificate ต่างๆเพื่อการประกอบอาชีพทางด้านการเงินการลงทุน และมีความร่วมมือกับสถานประกอบการต่างๆ
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีระบบกลไกในเรื่องสาระของรายวิชาในหลักสูตร ซึ่งนำไปสู่การปฏิบัติ และมีการประเมินกระบวนการ พร้อมทั้งปรับปรุงจากผลการประเมินที่เกิดขึ้นอย่างเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม รวมทั้งยังได้รับทุนบัณฑิตพันธุ์ใหม่ประเภท Non-degree สําหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรที่
ปรึกษาและนักวิเคราะห์การลงทุน และหลักสูตรได้รับการรับรองจากสมาคมนักวางแผนการเงินไทยอีกด้วย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) 1.มีข้อสังเกตในหน้า 83 ตรงข้อความ ...เชิญผู้เชี่ยวชาญร่วมสอนในบางรายวิชา... ถ้าเขียนแบบนี้ ถือว่าหลักสูตรมีอาจารย์พิเศษ แต่ถ้าไม่มีอาจารย์พิเศษ ควรปรับใหม่ ...เชิญเป็นวิทยากร... จะเหมาะสมกว่าหรือไม่
2.การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชา ควรอธิบายว่าหลักสูตรได้มีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้ประกอบการ ผู้ใช้บัณฑิต หรือศิษย์เก่า หรือไม่ ซึ่งความคิดเห็นเหล่านั้นจะชี้ให้เห็นความต้องการของตลาดและการพัฒนาประเทศ
3.หลักสูตรมีความร่วมมือ หรือ ทำ MOU กับสถานประกอบการชั้นนำ หรือไม่  การทำร่วมมือกับสถานประกอบการ ทำให้นักศึกษาได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริง และยังเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรู้จักนักศึกษาและมีที่ฝึกงาน รองรับนักศึกษาเพื่อรับเข้าทำงาน เมื่อสำเร็จการศึกษาอย่างต่อเนื่องด้วย
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) ต้องปรับการเขียน จึงเปลี่ยนคะแนนเป็น 4.00 คะแนน ได้
1.ควรอธิบายสาระรายวิชาของหลักสูตร มีกลุ่มรายวิชาชีพ วิชาเสริมทักษะที่สำคัญอะไรบ้างที่สอดคล้องผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน
2.หลักสูตรต้องเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน ให้ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน โดยบอกรายละเอียดว่าผลลัพธ์การเรียนรู้ 3 ด้าน มีรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ ที่จะรับผิดชอบในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ในด้านอะไรบ้าง
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.นิศากร) หลักสูตรมีการปรับหลักสูตรให้มีความทันสมัยตามศาสตร์ของการลงทุน และมีการฝึกปฏิบัติในเรื่องของการลงทุนจริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) ต้องปรับการเขียน จึงเปลี่ยนคะแนนเป็น 4.00 คะแน ได้
หัวข้อนี้ต้องการประเด็น การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย นั่นคือ หลักสูตรควรทำการสำรวจหาข้อมูลจากผู้ใช้บัณฑิต ผู้ประกอบการ ศิษย์เก่า เพื่อนำผลสำรวจมาปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ตรงความต้องการของผู้ประกอบการ
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) ปรับการเขียนใหม่ จึงเปลี่ยนคะแนนเป็น 4.00 คะแนน ได้
1.ควรกำหนดรายชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นรายวิชาชีพหลักๆ ว่าอาจารย์มีความเหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคนหรือไม่ รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ว่ามีระบบ มีวิธีการกำหนดอย่างไร อาจารย์ที่ปรึกษาต้องมีบทบาทหน้าที่อย่างไร
2.หลักสูตรวางระบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างไร เช่น มีการจัดรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษาสอบใบประกอบวิชาชีพหรือไม่ มีแนวทางอย่างไรในการเปิดรายวิชาชีพเลือก  เป็นต้น

 
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) ปรับการเขียนใหม่ จึงเปลี่ยนคะแนนเป็น 4.00 คะแนน ได้
1.ควรเขียนแยกประเด็น ดังนี้ 1.1 บูรณาการกับงานวิจัย 1.2 บูรณาการกับบริการวิขาการ และ1.3 บูรณาการกับทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยกำหนดรายวิชา/กิจกรรม/โครงการ ที่ใช้บูรณาการ 
2.หลักสูตรควรหาแนวทางจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการต่างๆ ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ เอื้อต่อการพัฒนา ส่งเสริมการวิจัย ให้ได้ผลลัพธ์เป็นผลงานวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา

(ผศ.นิศากร) นำเสนอการจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ซึ่งหลักสูตรมีการดำเนินการอยู่แล้ว แต่ไม่ได้รายงาน
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรมีการประเมินผู้เรียน โดยวัดผลจากการสอบใบประกอบวิชาชีพด้านการลงทุน เห็นผลลัพธ์ชัดเจนจากที่นักศึกษาสามารถสอบผ่านหลักสูตร CFP และ AISA, CISA
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีระบบกลไกในการประเมินผู้เรียน โดยนำไปปฏิบัติด้วยการสอบวัดผลตามมาตรฐานของสาขาวิชา และมีการประเมินกระบวนการ พร้อมทั้งปรับปรุงจากผลการประเมินที่เกิดขึ้นอย่างเห็นชัดเจน ทำให้นักศึกษาสอบผ่านตามมาตรฐานวิชาชีพ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรควรแสดงให้เห็นว่า การประเมินผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน ใช้เครื่องมืออะไร ได้ผลเป็นอย่างไร และนำผลที่ได้ไปปรับปรุงอย่างไร
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เปลี่ยนเครื่องหมายถูก เป็น NA
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เปลี่ยนเครื่องหมายถูก เป็น NA
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5.00
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
(ผศ.วิไลลักษณ์) หลักสูตรมีการจัดหาสิ่งสนุบสนุนการเรียนรู้ เพื่อให้รองรับกับการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มี เพื่อปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น โดยในปี 2566 ได้ดำเนินการจัดซื้อคอมพิวเตอร์ใหม่สำหรับห้องเรียนปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) 1.หลักสูตรมีแนวทางอย่างไร ในการให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการในสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนรู้
2.หลักสูตรมีระบบการดำเนินงาน และการใช้งบดำเนินการอย่างไร เพื่อจัดหาวัสดุการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ ให้เพียงพอ และเหมาะสม
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) หลักสูตรต้องแสดงให้เห็นว่าสิ่งสนับสนุนที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีความโดดเด่น ได้มาตรฐานในสายวิชาชีพ หรือมีโปรแกรมที่ทันสมัยในด้านการลงทุน
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
(ผศ.ศิริวรรณ) ขาดข้อมูลความพึงพอใจของอาจารย์ที่มีต่อสิ่งสนับสนุน
เพิ่มเป็น 4.00 คะแนนได้ ถ้าหลักสูตรเพิ่มข้อมูล ดังนี้
1.ควรให้รายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ ว่ามีคุณสมบัติได้มาตรฐานระดับใด เป็นอุปกรณ์ชั้นนำ เครื่องมือที่ทันสมัย หรือไม่
2.มีห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง และห้องวิจัยที่ได้มาตรฐาน เหมาะสม เพียงพอกับการจัดการเรียนการสอน และเอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในการวิจัย ส่งผลให้อาจารย์ผลิตผลงานวิจัย ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ ในระดับ Scopus
  2. นักศึกษามีความสามารถสอบใบประกอบวิชาชีพด้านการลงทุน โดยสอบผ่านหลักสูตร CFP และ AISA, CISA
  3. หลักสูตรมีการปรับสาระรายวิชาที่ทันสมัยและสอดคล้องกับการสอบ certificate ต่างๆที่จำเป็นการประกอบอาชีพทางด้านการเป็นผู้แนะนำการลงทุน
  4. หลักสูตรมีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอก ทั้งในด้านการร่วมเป็นอาจารย์พิเศษ การจัดกิจกรรม และการส่งนักศึกษาไปสหกิจศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ในปีหน้าควรเพิ่มการเตรียมความพร้อมด้านภาษาอังกฤษไว้ด้วย เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาใหม่เห็นความจำเป็นที่ต้องมีทักษะในด้านนี้
  2. หลักสูตรควรส่งเสริมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้บูรณาการการเรียนการสอน เพื่อสร้างนวัตกรรม หรือผลิตภัณฑ์ร่วมกับนักศึกษาให้มีความต่อเนื่อง
  3. การจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ หลักสูตรควรมีการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด เพื่อให้สามารถรายงานผลการดำเนินกิจกรรมต่างๆว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.40
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.29
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.82

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.35 4.35 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 4.00 - 3.75 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.71 3.75 4.35 3.82 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก