วันที่ประเมิน: 8 สิงหาคม 2566, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
- หลักสูตรดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนดไว้ |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 43 | 4.49 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 25 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.49 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษา 2565 มีจำนวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมินเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2564 และผลการประเมินก็เพิ่มสูงขึ้นด้วยระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 43 | 5.00 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 33 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 12 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 9 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 6 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 6 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 100.00 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การปรับปรุงแผนของการจัดกิจกรรมและโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรมีผลเห็นชัดเป็นรูปธรรม กล่าวคือ หลักสูตรสามารถรับนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2565 ได้ 173 คน สูงกว่าปีการศึกษา 2564 ซึ่งมี 65 คนระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. ในปี 2565 หลักสูตรมีโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ที่หลากหลาย พบว่ามีโครงการเตรียมความพร้อมที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังด้านที่ 5 2. มีปรับปรุงกระบวนการที่ส่งผลเป็นรูปธรรมชัดเจนซึ่งดูได้จากคะแนนเฉลี่ยจากการสอบปลายภาคสูงขึ้นนับจากปี 2564-2565 (4.85-4.87) ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- นอกจากกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่หลักสูตรจัดแล้ว (ปฐมนิเทศ หรือแนะแนว) เสนอให้หลักสูตรควรสำรวจความต้องการของนักศึกษาใหม่ว่ายังขาดทักษะด้านใดหรืออยากให้หลักสูตรเตรียมความพร้อมด้านใดบ้าง เพื่อให้กิจกรรมและโครงการเตรียมความพร้อมตรงกับความต้องการของนักศึกษาใหม่มากที่สุด และเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านวิชาการให้แก่นักศึกษาใหม่ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษาที 2565 นักศึกษามีอัตราการสอบผ่านมากขึ้นในแต่ละรายวิชา- มีระบบการให้คำปรึกษาและแผนการจัดการให้คำปรึกษาที่ชัดเจน มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการการให้คำปรึกษาที่สอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนการสอนในปัจจุบัน (on site) มีการเปิดกลุ่มไลน์เพิ่มมากขึ้นเพื่อช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาได้สะดวกมากขึ้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หัวข้อนี้ขอเสนอเป็นแนวทางการเขียน ควรแยกเขียนเป็น 2 ประเด็น คือ การควบคุมดูแลให้คำปรึกษาวิชาการ และแนะแนวการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย จะทำให้ชัดเจนมากขึ้น |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- โครงการช่วยเหลือประชาชนทาง กฎหมาย (Pro bono) - ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ ผ่านศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย คณะนิติศาสตร์ ซึ่งจัดตั้งขึ้นในปีการศึกษาที 2564 คลินิกช่วยประชาชน และกฎหมาย และศูนย์กฎหมายและระงับข้อพิพาทอาเซียน ยังไม่เห็นผลของทั้งสองโครงการ - มีการวางแผนและปรับปรุงแผนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม หลักสูตรดำเนินงานจัดโครงการและกิจกรรมทั้งที่แทรกอยู่ในรายวิชาและกิจกรรมเสริมนอกรายวิชา ทั้งนี้ หลักสูตรได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่ากิจกรรมหรือโครงการนั้น ๆ สอดคล้องกับกระบวนการสร้างศักยภาพทั้ง 4 ด้านข้อใดและอย่างไร หลักสูตรมีการ Follow up ผลลัพธ์จากการจัดกิจกรรมที่เกิดกับนักศึกษา โดยมีคะแนนประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ยสูงกว่าปี 2564 (4.83-4.85) ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีการกำหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิชาหลัก กลุ่มทักษะชีวิตและอาชีพ กลุ่มทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และกลุ่มทักษะสารสนเทศ การสื่อสาร และเทคโนโลยี โดยมีโครงการ/กิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศวรรษที่ 21 แต่ควรแสดงให้เห็นว่า 4 กลุ่มเหล่านี้มีวิชาใดบ้างที่จะทำให้นักศึกษาเกิดทักษะการเรียนรู้ และวิชาเหล่านั้นมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างไรที่ระบุไว้ใน มคอ 3 |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. หลักสูตรส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมสร้างผลงานวิชาการ ผ่านศูนย์วิจัยและพัฒนากฏหมาย ของคณะนิติศาสตร์ แต่ยังไม่พบผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลเป็นที่ยอมรับ จึงควรช่วยกันกระตุ้นให้เกิดผลงาน โดยอาจารย์ร่วมกันผลิตผลงานกับนักศึกษาก็ได้2. เมื่อหลักสูตรมีการฝึกฝนทักษะทางด้านวิชาการผ่านกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ต่างๆ จนเกิดการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เพื่อนำไปสู่การสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือ นวัตกรรม โดยอาจเริ่มจากกรณีศึกษาในวิชาสัมมนากฏหมายธุรกิจ หรือจากการได้ปฏิบัติจริงของการเรียนรู้เชิงคลินิก |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ควรมีเอกสารหลักฐานอื่นเพิ่มเติมนอกเหนือ รายชื่อนักศึกษาจำแนกตามอาจารย์และตารางให้คำปรึกษา เอกสารที่เพิ่มเติม เช่น สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการพัฒนานักศึกษา |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 32.50
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 35.80
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 49.28 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 22.50
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 23.87
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 38.02 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.82
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.84
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.89
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ในระบบ DBS ไม่พบ1. นตบ.3.3.01 รายงานผลความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตร 2. นตบ.3.3.02 รายงานอัตราคงอยู่และอัตราสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2565 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการทบทวนกลไกและระบบการรับอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563-2565 มีการทบทวนและเสนอแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการด้วยระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกการบริหารอาจารย์ มีการกำหนดภาระงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างชัดเจน นอกจากนี้ หลักสูตรยังได้ทบทวนแผนเพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการในการบริหารอาจารย์ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. เมื่อมีระบบและกลไกการบริหารอาจารย์ที่ชัดเจน กำหนดความรับผิดชอบ และภาระงานที่สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม ซึ่งน่าจะเป็นโอกาสดีที่จะมีผลงานวิจัยตีพิมพ์มากขึ้นในปีต่อไป2. ขอเสนอแนวทางการเขียน ระบบการบริหารอาจารย์ หากแยกเขียนเป็นด้านๆ จะทำให้ชัดเจนมากขึ้น เช่น ด้านบริหารอัตรากำลัง ด้านบริหารความเสี่ยง ด้านการกำหนดบทบาทหน้าที่ ด้านกำหนดภาระงานสอน ด้านพัฒนาคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ เป็นต้น 3. หลักสูตรควรร่วมกันพิจารณาการบริหารความเสี่ยง และการบริหารอัตรากำลังคน เพื่อรองรับปัญหานักศึกษาแรกเข้าที่มีจำนวนมาก |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตร มีระบบกลไกที่ชัดเจนในเรื่องการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีระบบที่ส่งเสริมให้อาจารย์ผลิตผลงานวิชาการ ตลอดจนมีแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคลทั้งในด้านตำแหน่งวิชาการและแผนการลาศึกษาต่อ ซึ่งช่วยให้ระบบการบริหารอาจารย์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เห็นผลเป็นรูปธรรมชัดเจนระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ขอเสนอการเขียนระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพ หากแยกเขียนประเด็นต่างๆ เช่น การพัฒนาการเรียนการสอน การพัฒนาการจัดการความรู้ (KM) การพัฒนาผลงานทางวิชาการ(งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือ นวัตกรรม) เป็นต้น2. มีข้อสังเกตจากการเขียนรายงาน กล่าวถึง ผู้ช่วยอาจารย์ จึงไม่แน่ใจว่า มีผู้ช่วยอาจารย์เป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตรด้วยหรือไม่ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 2 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 40.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 0.00 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 5 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 0 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 0 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 0 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 0.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 0.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จัดทำแผนพัฒนาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่ละท่าน จากนั้นหลักสูตรคอยกำกับ ติดตาม ให้เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้ |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 2 | 1 | 0 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 1.40 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 28.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรมีคุณภาพสูง ควรส่งเสริมให้อาจารย์ประจำตีพิมพ์ในวารสาร TCI1ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับผิดชอบหลักสูตรดีขึ้น 3 ปีต่อเนื่องกันระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปี 2565 มีการปรับปรุงพัฒนาการควบคุมกำกับการจัดการรายวิชาต่างๆ ของหลักสูตร มีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากการประเมินความพึงพอใจเฉลี่ยของรายวิชาเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2564ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ควรจะมีผลลัพธ์ที่เป็นนูปธรรมจากการเรียนรู้แบบบริการสังคม ในทางปฏิบัติ (Pro Bono) ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย เชื่อมโยงกับการนำไปใช้จริง ซึ่งเป็นการบริการกฏหมายสู่สังคม และเน้นการสอนเชิงคลินิก ดังนั้น หลักสูตรควรกระตุ้นให้นักศึกษาผลิตผลงานจากกรณีศึกษาทางด้านกฏหมาย เพื่อต่อยอดไปสู่งานวิจัยที่สามารถตีพิมพ์เผยแพร่ได้ |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธ์ผู้เรียนครบทั้ง 3 ด้าน มีการพัฒนารายวิชาให้สอดคล้องกับการพัฒนาผลลัพธ์ผู้เรียน ประเด็นนี้หลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจทั้ง 3 ด้าน ได้ระดับดีขึ้นจากปีก่อน แต่ไม่พบผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม เช่น ผลงานของนักศึกษาได้รับรางวัล หรือเผยแพร่ที่ใดหรือไม่ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการกำหนดแผนการกำหนดผู้สอนไว้อย่างชัดเจน แม้ในปี 2565 หลักสูตรจะไม่ได้ปรับกระบวนการการกำหนดผู้สอน แต่ก็ได้เพิ่มเติมกลไกบางอย่าง เช่น การกำหนดหัวหน้ากลุ่มวิชาทางกฏหมาย- หลักสูตรควรทบทวนและประเมินกระบวนการในการกำหนดผู้สอนด้วย (ผลที่หลักสูตรได้รายงานไว้ คือผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอน) ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรนี้มีอาจารย์พิเศษ ควรกล่าวถึงการวางระบบผู้สอนที่เป็นอาจารย์พิเศษในรายวิชาตามความเชี่ยวชาญ และต้องมีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอน ไม่น้อยกว่า 6 ปี และอาจารย์พิเศษทุกท่านมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยทางหลักสูตรจะกำหนดอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบวิชานั้นร่วมด้วย |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการในปี 2565 เช่น การรับผู้ช่วยอาจารย์เพื่อช่วยประสานงาน ติดตาม ดูแล ฯลฯระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. หลักสูตรได้มุ่งให้มีการบูรณาการวิจัย บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ดังนั้น หลักสูตรควรระบุรายวิชาที่จะบูรณาการให้ชัดเจน เพื่อบรรจุไว้ใน มคอ 3 หรืออาจใช้โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุน ส่งเสริมการบูรณาการเหล่านั้น2. นอกจากผลลัพธ์ที่เป็นการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในการจัดการเรียนการสอน ยังมีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมอย่างอื่นอีกหรือไม่ เช่น ผลงานวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม หรือมีกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น 3. ควรจะมีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมว่านักศึกษานำความรู้ไปใช้ได้จริง เพื่อสนับสนุนผลคะแนนผลการประเมินความพึงพอใจในผลลัพธ์การจัดการเรียนการสอน |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ในระบบ DBS ไม่พบ นตบ.5.2.03 รายงานการประชุมเรื่องคะแนนเก็บ 30 คะแนน |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ยังไม่เห็นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม นอกจากผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในการจัดการเรียนการสอน - มีระบบและกลไกการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานฯ ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน ในปี 2565 หลักสูตรนำกลไกเดิมจากปี 2564 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรต้องกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 5 ด้าน คือ คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สอดคล้องผลลัพธ์ผู้เรียน 3 ด้าน คือ Learner Person, Innovative Co-Creator และ Active Citizen หลังจากนั้นทำการประเมินผู้เรียนจากรายวิชาที่ได้กำหนดไว้ ว่าเกิดการเรียนรู้อย่างไร ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. ระบุให้ชัดเจนว่าทวนสอบกี่วิชา จากวิชาที่เปิดทั้งหมดกี่วิชา2. ขอเสนอเป็นแนวทางการทวนสอบจากรายวิชา ซึ่งหลักสูตรอาจกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นระดับชั้นปี เช่น ชั้นปีที่ 1, 2, 3, 4 มีรายวิชาอะไรบ้างที่ต้องทวนสอบ แต่ละชั้นปีต้องประเมินผู้เรียนด้านใดบ้าง |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- ในระบบ DBS ไม่พบ นตบ.5.3.02 สรุปรายงานการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่พบรายงานการประชุม |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่จำเป็นต้องอธิบายผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน เขียนผลการดำเนินงานว่า หลักสูตรได้จัดทำรายละเอียดตามรูปแบบ มคอ 2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ โดยนำขึ้นระบบของสำนักงานมาตรฐานวิชาการ |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 14 | 5 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 14 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและไกที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าไปมีส่วนร่วม มีการเพิ่มเติมกลไกในปี 2565 โดยรับผู้ช่วยอาจารย์ 1 อัตราเป็นผู้ประสานงานในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการเรียนรู้ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ยุคดิจิทัลจำนวนมากและหลากหลาย ในปี 2565 หลักสูตรผลักดันให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีประโยชน์ คือ การจัดตั้งวารสารนิติศาสตร์ TCI 2 และการรับผู้ช่วยอาจารย์ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรนี้ไม่มีเจ้าหน้าที่ ไม่ต้องกล่าวถึง |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.49 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 5.00 |
3.1 การรับนักศึกษา | 4.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 3.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 4.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 4.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 3.33 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 3.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 4.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 4.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 3.83 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.75 | 4.75 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 3.67 | - | - | 3.67 | ระดับคุณภาพดี |
4 | 3 | 3.44 | - | - | 3.44 | ระดับคุณภาพดี |
5 | 4 | 4.00 | 3.67 | - | 3.75 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 4.00 | - | 4.00 | ระดับคุณภาพดี |
ผลการประเมิน | 3.62 | 3.75 | 4.75 | 3.83 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |