วันที่ประเมิน: 20 สิงหาคม 2567, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)
|
|
ข้อคิดเห็น
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คนที่ 2 อาจารย์สุภัทร รัตนารมย์ ผลงานรวม 1 ชิ้น หมดอายุปีการศึกษา 2566 ปี 2567 จะต้องผลิตผลงานเพิ่ม มิเช่นนั้นปีหน้าจะไม่ผ่าน(1) เชฏฐ คำวรรณ สุภัทร รัตนารมย์และ อนันต์ สันติภาพ (2562). ข้อยกเว้นของพยานหลักฐานซึ่งต้องห้ามรับฟัง ในคดีอาญา. งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2562.วันที่ 26 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า)
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 39 | 4.51 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 23 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.51 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 39 | 5.00 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 31 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 12 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 6 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 5 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 8 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 100.00 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษาที่ 2566 นี้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ ได้มีการประเมินและปรับปรุงพัฒนากระบวนการรับนักศึกษา ของปีการศึกษาที่ 2565 ให้มีประสิทธิภาพ ตรงกลุ่มเป้าหมายเชิงคุณสมบัติของนักศึกษา และสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่เบาบางลงยิ่งไปกว่าในปีการศึกษาที่ 2565 ดังต่อไปนี้
ปีการศึกษา 2566 มีจำนวนนักศึกษาเข้าใหม่เกินกว่าเป้าหมาย และมากกว่าปีการศึกษา 2565 อย่างมีนัยยะสำคัญ กล่าวคือ เพิ่มจากจำนวน 173 ราย ในปีการศึกษาที 2565 เป็นจำนวน 183 รายในปีการศึกษาที่ 2566 และเป็นนักศึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามเป้าหมายเชิงคุณภาพมากยิ่งขึ้น กล่าวคือ เป็นผู้มีความพร้อมเป็นผู้มีความพร้อม มีความถนัด และสนใจการศึกษาวิชากฎหมาย มีแนวโน้มนำเอากฎหมายไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือในการดำรงชีวิตอย่างแท้จริง รวมถึงมีความเหมาะสมทางปัญญา สุขภาพกาย และจิต มีความมุ่งมั่นที่จะเรียนและมีเวลาเรียนเพียงพอเพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรอธิบายว่านักศึกษาใหม่มีคุณสมบัติตรงตามเป้าหมายเชิงคุณภาพมากยิ่งขึ้น กล่าวคือ เป็นผู้มีความพร้อมเป็นผู้มีความพร้อม มีความถนัด และสนใจการศึกษาวิชากฎหมาย มีแนวโน้มนำเอากฎหมายไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือในการดำรงชีวิตอย่างแท้จริง รวมถึงมีความเหมาะสมทางปัญญา สุขภาพกาย และจิต มีความมุ่งมั่นที่จะเรียนและมีเวลาเรียนเพียงพอเพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด หลักสูตรควรรายงานเป็นค่าร้อยละนักศึกษาให ม่ที่มีคุณสมบัติดังกล่าว เพื่อใช้ประกอบการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จากการปรับปรุงพัฒนากระบวนการการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ส่งผลให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลของคณะนิติศาสตร์ที่ชัดเจน ตามผลการประเมิน 4.56ได้รับแนวทางการจัดการกับปัญหาและอุปสรรคในการเรียน ตามผลการประเมิน4.50 แนวทางการวางแผนเส้นทางการเรียน ตามผลการประเมิน 4.53 และการวางเป้าหมายในการประกอบอาชีพทางนิติศาสตร์ให้สอดคล้องกับเส้นทางการเรียนตั้งแต่ต้น ตามผลการประเมิน ใส่ผลการประเมินในแต่ละดัชนี ซึ่งผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในด้านการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษามีอัตราสูงขึ้นจากคะแนนเฉลี่ย 4.90 ในปีการศึกษาที่ 2565 เป็น 4.91 ในปีการศึกษาที่ 2566 อันสะท้อนในอัตราการสอบผ่านของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่มีอัตราเพิ่มขึ้นในปี 2566 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ห ลักสูตรควรรายงานร้อยละนักศึกษาใหม่ที่มีความพร้อมในแต่ ละด้านที่นอกเหนือจากการรายงานคะแนนความพึงพอใจ เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกิจกรรมการเตียมความพร้อม (นตบ.3.1.02 รายชื่อและภาพประกอบโครงการ/กิจกรรมคณะนิติศาสตร์ ปีการศึกษา 2566) |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผลการประเมินของนักศึกษาต่อการให้คำปรึกษาและการแนะแนว มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจรายปีที่เพิ่มขึ้น จากคะแนน 4.89 ในปีการศึกษาที่ 2565 เป็นคะแนน 4.90 ในปีการศึกษาที่ 2566ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรกำหนดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม โดยกำหนดให้มีการจัดทำรายงานต่อคณะกรรมการบริหารแสดงถึงผลการดำเนินงานในหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาของอาจารย์ประจำหลักสูตร ดังต่อไปนี้1. ให้คำปรึกษาแนะนำนักศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตร การลงทะเบียนเรียน ข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยฯ 2. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความประพฤติและจริยธรรม การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา 3. ให้คำปรึกษาแนะนำเมื่อผลการเรียนของนักศึกษาต่ำลง 4. ให้คำปรึกษาแนะนำและช่วยเหลือนักศึกษาเพื่อแก้ไขอุปสรรคปัญหาในการเรียนวิชาต่าง ๆ 5. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดคะแนนระดับเฉลี่ยของนักศึกษา 6. ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรควรประเมินผลการทำหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา แยกหัวข้อประเมินย่อย เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงการดำเนินงานการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผลการการประเมินของนักศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจรายปีที่เพิ่มขึ้น จากคะแนน 4.85 ในปีการศึกษาที่ 2565 เป็นคะแนน 4.87 ในปีการศึกษาที่ 2566 และยังสะท้อนได้จากผลการประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติมีผลคะแนนเฉลี่ยที่ดีขึ้น จากคะแนนเฉลี่ยคุณภาพบัณฑิต ฯ 4.50 คะแนน ในปีการศึกษาที่ 2565 เป็น 4.51 คะแนน ในปีการศึกษาที่ 2566 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควร mapping ทักษะต่าง ๆ เทียบกับกิจกรรมต่าง ๆ แล้วประเมินผลทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ทั้งร้อยละจำนวนนักศึกษาตามกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ร้อยละนักศึกษาที่เข้าร่วมที่มีทักษะตามกิจกรรม mapping แล้วนำผลประเมินไปปรับปรุงกิจกรรม |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร ฯ ได้ มีการประเมินทบทวนกระบวนการของปีการศึกษาที่ 2565 และได้ทำการปรับปรุงพัฒนากระบวนการในปี 2566 โดยมีการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ ผ่านศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย คณะนิติศาสตร์ คลินิกช่วยประชาชนและกฎหมาย และศูนย์กฎหมายและระงับข้อพิพาทอาเซียน คณะนิติศาสตร์ ในรูปแบบการเข้าเป็นผู้ช่วยศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ร่วมวิเคราะห์ประเด็นและเข้าเรียนรู้กระบวนการทำวิจัย และการเขียนผลงานทางวิชาการรูปแบบต่างๆ ภายใต้การกำกับดูแลของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ของศูนย์ ดังกล่าว โดยหลักสูตรได้มีการจัดทำบันทึกข้อความเพื่อแจ้งประชาสัมพันธ์ศูนย์ต่างๆแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีภาคปกติ จัดทำหนังสือประชาสัมพันธ์ ซึ่งจากการดำเนินการดังกล่าวส่งผลให้ผลคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจรายปีของนักศึกษาในด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ในปีการศึกษาที่ 2566 ได้คะแนน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากคะแนนเฉลี่ยในปีการศึกษาที่ 2565 ที่อัตรา 4.91 คะแนนการประเมินปี 2566 ได้ 4.92 จากคะแนนเต็ม 5ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรได้กำหนดให้มี1.การทำการวิจัยกฎหมาย (เบื้องต้น) ในบางวิชาแทนการสอบ เพื่อให้นักศึกษาได้เริ่มศึกกระบวนการทำวิจัยกฎหมายขั้นพื้นฐาน เช่น ในวิชาสัมมนากฎหมายธุรกิจ ที่ได้ปรับให้มีการสอนการทำวิจัยเบื้องต้น 2. กำหนดให้มีการเรียนรู้เชิงคลินิก สร้างการเรียนรู้จากการปฎิบัติงานจริง โดยการกำหนดให้ลดการบรรยายในห้องเรียน โดยให้นักศึกษาได้ศึกษาจากคดี ข้อเท็จจริง โดยโครงการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย (Pro bono) โดยคณาจารย์ทำหน้าที่สอนและชี้แนะ โดยให้นักศึกษานำเอาความรู้กฎหมาย ปรับเข้ากับข้อเท็จจริง ไม่เป็นการเรียนรู้แต่ภาคทฤษฎี เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบริบทของสังคมและกฎหมายในยุคปัจจุบัน หลักสูตรควรรายงานร้อยละนักศึกษาผลลัพธ์การเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์รายวิชาดังกล่าวเพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกิจกรรม |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 35.82
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 39.44
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 73.58 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 23.88
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 38.03
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 67.92 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.85
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.89
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.90
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานการประเมินความพึงพอใจใน dbs มีหนึ่งบรรทัดบอกคะแนนเฉลี่ย ไม่เห็นรายละเอียดคะแนนประเมินรายนักศึกษา |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษาที่ 2566 ได้สนับสนุนให้อาจารย์ประจำหลักสูตรเข้าเสนอตนเป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อหัวหน้าหลักสูตร ฯ ได้ หากมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ที่แจ้ง ซึ่งต้องผ่านกระบวนการนำเสนอเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการแต่งตั้งต่อไปตามที่บรรยายไว้ข้างต้น ทั้งนี้ เพื่อให้กระบวนการอันดีเกี่ยวด้วยกระบวนการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ ได้รับการปฏิบัติสืบเนื่องต่อไปและมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น ในปีการศึกษาที่ 2566 อันควรจะสะท้อนผลเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาที่ 2567 ต่อไป โดยผลคะแนนความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตรมีอัตราที่เพิ่มขึ้น จากคะแนน 4.89 ในปีการศึกษาที่ 2565 คะแนน 4.90 ในปีการศึกษาที่ 2566จากผลการดำเนินการในปีการศึกษาที่ 2566 พบว่าอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์เพิ่มเติม ซึ่งตีพิมพ์/เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ 2566 นี้ 2 ท่าน คือ ท่านอาจารย์อนิสา มานะทน และท่านดร.สลิลา กลั่นเรืองแสง โดยรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรคงเดิม ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษาที่ 2566 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีภาระการบริหารหลักสูตรในแต่ละด้านภายใต้การกำกับดูแลของหัวหน้าหลักสูตร ฯ ตามความถนัดและความเหมาะสม ดังนี้
1.ผลการประเมินการสอนของนักศึกษารายวิชาอยู่ในระดับดี กล่าวคือได้คะแนนรวม 4.00 ขึ้นไป โดยมีคะแนนที่สูงขึ้นจากปีการศึกษาที่ 2565 กล่าวคือ คะแนน 4.34 ในปีการศึกษาที่ 2565 เป็นคะแนน 4.37 ในปีการศึกษาที่ 2566
2. อาจารย์ประจำหลักสูตร มีอัตราการคงอยู่ 100% ในปีการศึกษาที่ 2566 ต่อเนื่องมาจากในปีการศึกษาที่ 2565
3.อาจารย์ผู้รับผิดชอบกลุ่มกฎหมาย มีหน้าที่สร้างสรรค์งานวิจัย พัฒนาการเรียน การสอน จัดหาผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในการบรรยาย การฝึกอบรมให้แก่อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา เพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะในด้านกฎหมาย ให้ไปสู่ความเป็นเลิศ ในด้านวิชาการและทางปฎิบัติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ มีระบบกลไกในการส่งเสริมและผลักดันให้อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนพัฒนาศักยภาพทางวิชาการภายใต้นโยบายหลักของมหาวิทยาลัย และภายใต้กรอบแผนยุทธศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ พ.ศ. 2565-2569ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานแผนพัฒนาอาจารย์เป็นรายบุคคล ตาม idp ของ hrd ที่ครอบคลุมการพัฒนาคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ รวมทั้งควรมีแผนในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ทำการประเมินความสำเร็จตามแผน และนำผลการประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไม่เห็นหลักฐาน idp ตามระบบของ hrd |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 2 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 40.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 0.00 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 5 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 0 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 0 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 0 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 0.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 0.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 1 | 1 | 0 | 0 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 0.60 | 3.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 12.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 3.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.93
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.94
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.95
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษาที่ 2566 คณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ ยังได้มีการปรับปรุงพัฒนาการควบคุมกำกับการจัดการรายวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตร ดังนี้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานรายวิชาที่มีการปรับเนื้อหาให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ ระบุชื่อวิชา ระบุชื่อสถานประกอบการ ระบุวัตถุประสงค์รายวิชาดังกล่าว ทำการประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ เช่น ร้อยละนักศึกษาที่มีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามหัวข้อที่เชื่อมโยงกับสถานประกอบการ เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการ mapping รายวิชากับ doe3 และมีผลประเมินผู้ใช้บัณฑิตปีการศึกษา2566 ทั้ง tqf5 และ doe3 ที่ดีขึ้นกว่าปีการศึกษา 2565 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานร้อยละนักศึกษาที่มีผลลัพธ์การเรียนรู้ตาม tqf5 และ doe3 ที่สรุปจาก RQF.5 และ จากรายงานผลประเมินผู้ใช้บัณฑิต เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาการปรับปรุง mapping ระหว่างรายวิชากับ tqf5 และ doe3 และ/หรือ ปรับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อคาดหวังผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดีขึ้น |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษาที่ 2566 นี้ มีรายวิชา จำนวน 28 จาก 33 รายวิชา ได้แก่ 1. LAW101 หลักกฎหมายเอกชน 2.LAW102 หลักกฎหมายมหาชน 3. LAW103ทรัพย์สินและที่ดิน 4.LAW104 นิติกรรมและสัญญา 5. LAW105 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 6.LAW202 หนี้ 7.LAW203ละเมิด 8.LAW204 กฎหมายอาญา : หลักทั่วไป 9.LAW205 เอกเทศสัญญา 1 10.LAW206 กฎหมายแรงงานและประกันสังคม 11. LAW207 เอกเทศสัญญา 2 12. LAW208 ค้ำประกัน จำนอง และจำนำ13. LAW209 ประกันภัย 14.LAW210 นิติปรัชญา 15.LAW211 กฎหมายอาญา : ภาคความผิด 16. LAW301 หุ้นส่วนและบริษัท 17. LAW302 ครอบครัว 18. LAW305 กระบวนการยุติธรรมและระบบศาลไทย 19. LAW308 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1 20.LAW310 กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล 21.LAW311 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2 22.LAW312หลักวิชาชีพและประสบการณ์นักกฎหมาย 23.LAW401 กฎหมายลักษณะล้มละลาย 24. LAW402 กฎหมายปกครอง 25. LAW403 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง 26. LAW404 กฎหมายภาษีอากร 27. LAW336 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา 28. การสืบสวนสอบสวน ที่ดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาการบรรยายให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานผลประเมินร้อยละนักศึกษาที่มีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์รายวิชาในกลุ่มรายวิชาปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกในการการกำหนดผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีความรู้ที่ทันสมัย เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริงระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานผลการประเมินจากปีการศึกษาก่อนนำมาสู่การปรับปรุง mapping ระหว่าง 1.รายวิชา 2.รายชื่ออาจารย์ผู้สอน 3.ความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมีความรู้ที่ทันสมัย เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริง โดยอาจนำเสนอในรูปแบบตาราง 3 คอลัมน์ ทำการรายงานผลลัพธ์การกำหนดผู้สอนตามความเชี่ยวชาญดังกล่าวได้เชื่อมโยงไปสู่ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา clo ที่ดีขึ้นอย่างไร นำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ mapping หรือ พัฒนาความสามารถของอาจารย์ผู้สอน |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ปีการศึกษาที่ 2566 นี้ คณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้มีการกำกับ ติดตามและตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบกลไกที่ปฎิบัติสืบเนื่องต่อมาหลายวงรอบ และมีการปรับปรุงพัฒนาเพิ่มเติมในปีการศึกษาที่ 2565 กล่าวคือ จัดให้มีประชุมเชิงวิเคราะห์ เพื่อกำกับ ติดตาม แผนการเรียนการสอน ในต้นภาคการศึกษา และตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนในกลางภาคการศึกษา และผลการจัดการเรียนการสอนในปลายภาคการศึกษา โดยคณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานผลการการกำกับ ติดตามและตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบกลไกที่ปฎิบัติสืบเนื่องต่อมาหลายวงรอบ และมีการปรับปรุงพัฒนาเพิ่มเติมในปีการศึกษาที่ 2565 กล่าวคือ จัดให้มีประชุมเชิงวิเคราะห์ เพื่อกำกับ ติดตาม แผนการเรียนการสอน ในต้นภาคการศึกษา และตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนในกลางภาคการศึกษา และผลการจัดการเรียนการสอนในปลายภาคการศึกษา โดยคณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมีระบบการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีการกำหนดเป้าหมายและประเมินผลสำเร็จการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาที่บูรณาการกับพันธกิจต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแนวทางของประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการนำมาตรฐานการอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ พ.ศ. 2561 ได้แก่1. มุ่งให้มีการบูรณาการวิจัย โดยการเสริมสร้างสมรรถนะการวิจัยแก่ผู้เรียนที่นำไปสู่การร่วมสร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมให้กับประเทศและในโลกอนาคต 2. มุ่งให้มีการบูรณาการวิชาการ โดยการส่งเสริมการจัดทำการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคม และเรียนรู้เพื่อรับใช้สังคม รวมทั้งมีการส่งเสริมการเผยแพร่การบริการวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ 3. มุ่งให้มีการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โดยการส่งเสริมให้มีการเสริมความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตื่นตัว ความภูมิใจในความเป็นไทย ความเข้าใจในจุดร่วมความแตกต่างของวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทั้งของไทยและต่างประเทศอย่างสร้างสรรค์ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานการ mapping ชื่อรายวิชากับการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ระบุวัตถุประสงค์ และ lerarning outcome ตามพันธกิจการบูรณาการ ทำการประเมินร้อยละนักศึกษาที่มีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์รายวิชาบูรณาการพันธกิจต่าง ๆ เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีระบบกลไกในการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตรระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรไม่ได้รายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา ซึ่งสามารถสรุปร้อยละนักศึกษาที่มี clo จากผลจากการประเมินร้อยละนักศึกษาที่มีความรู้ทักษะใน rqf.5 ของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงกระบวนการ |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ ซึ่งแต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยคณะกรรมการจากภายนอก ได้แก่ กรรมการจากสภาวิชาชีพ(นายกสภาทนายความ) กรรมการจากเนติบัณฑิตยสภา กรรมการจากศาลยุติธรรม และกรรมการจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครบถ้วนตามข้อกำหนดของสภาวิชาชีพ โดยคณะกรรมการชุดนี้ก็จะตรวจสอบในสองขั้นตอน กล่าวคือ 1. ตรวจสอบโดยการคัดเลือกข้อสอบที่จัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการสอบปลายภาคในแต่ละภาคการศึกษา 2. ตรวจสอบผลการสอบในแต่ละภาคการศึกษา โดยจะมีการนำวิชาที่มีผลการเรียนไม่ดีทั้งหมดเข้าวิพากษ์และให้ข้อชี้แนะเพื่อให้อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร ฯ และ/หรือหลักสูตร ฯ ได้ปรับปรุงแก้ไขให้เกิดการปรับปรุงข้อสอบหรือการให้คะแนนสอบระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานรายวิชาที่มีการทวนสอบกระบวนการ จำนวนวิชาที่ทวนสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ทำการรายงานผลการทวนสอบครอบคลุมความเหมาะสมของการตรวจสอบเครื่องมือในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา แล้วรายงานความเห็นของกรรมการทวนสอบที่มีต่อการปรับปรุงเครื่องมือในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา เพื่อนำมาประปรับปรุงกระบวนการต่อไป |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมีกระบวนการให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่างๆที่ได้จัดการเรียนการสอน เข้าสู่กระบวนการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนโดยการจัดทำ RQF. 5 ในทุกภาคการศึกษาที่จัดการเรียนการสอน เพื่อนำสรุปจัดทำรายงาน RQF.7 ต่อไป อันเป็นแนวปฏิบัติที่คณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบได้มีการประเมินกระบวนการและเห็นว่าเป็นแนวปฏิบัติอันดี จึงได้ปฏิบัติต่อเนื่องมาจนถึงปีการศึกษา 2566ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานสัมฤทธิผลการเรียนรู้รายวิชา และสรุปหัวข้อการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนรายวิชาที่จะนำไปปรับปรุง rqf.3 ในรอบปีการศึกษาต่อไป |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีประชุมรายการหลักฐาน : นตบ.5.4.01 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2566 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
รายการหลักฐาน : นตบ.5.4.02 เอกสารมคอ.2 ของหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 ไม่มีอาจารย์ใหม่ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1.กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เพื่อเสริมสร้างผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา"อาจารย์ดร.นิดาวรรณ เพราะสุนทร อาจารย์สุภัทร รัตนารมย์ 2.กิจกรรมการขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยของสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต 1. อาจารย์อนิสา มานะทน 2. อาจารย์รพีพร สายสงวน 3. อาจารย์ดร.สลิลา กลั่นเรืองแสง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานควรเป็น ข้อมูลงานอบรมที่เข้าร่วม อาจจะเป็นภาพงาน เป็นต้น |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 4.92 จากคะแนนเต็ม 5.00 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานเป็นการรายงาน 1 บรรทัด ไม่มีรายละเอียดการประเมินรายนักศึกษา ไม่มีรายละเอียดข้อย่อยการประเมิน |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
4.51 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 35 รายวิชา โดยสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมีการจัดการเรียนการสอน จำนวน 35 รายวิชา โดยมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน จำนวน 35 รายวิชา ซึ่งรวมทุกรายวิชามีคะแนนเฉลี่ย 4.37 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
มีคะแนนเฉลี่ย 4.54 ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 13 | 5.00 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 13 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร ฯ มีระบบการดำเนินงานของคณะนิติศาสตร์ ให้เกิดการมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล อันเป็นระบบกลไกที่ปฏิบัติต่อเนื่องระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรไม่ได้ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
จากการประเมินระบบกลไกเกี่ยวด้วยคณะอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ฯ ของปีการศึกษาที่ 2565 ที่ผ่านมา หลักสูตร ฯ ได้มีการดำเนินการให้มีการปรับปรุงพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลในปีการศึกษาที่ 2566 ดังนี้1.มีการเพิ่มหนังสือ สื่อการเรียนการสอนให้มีจำนวนและความหลากหลายทางวิชาการนิติศาสตร์มากขึ้น โดยศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย 2.สโมสรนักศึกษาจัดตั้งระบบการดำเนินงานของนักศึกษาอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรควรรายงานความพร้อมของจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน ทั้งเชิงกายภาพ เชิงสภาพแวดล้อม เชิงสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิตอล ที่ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนทั้งวิชาบรรยายและปฏิบัติการ |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตร ฯ ได้มีการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจและแบบสอบถามของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล โดยผลการประเมินคะแนนความพึงพอใจของปีการศึกษาที่ 2566 ได้คะแนน 4.54 จาก 5.00 โดยมีข้อเสนอแนะจากนักศึกษาให้มีการประสานงานระหว่างนักศึกษากับหลักสูตรเกี่ยวกับการเรียนการสอนและสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงขอให้ทางคณะ ฯ จัดให้มีทรัพยากรทางหนังสือ เอกสาร สารสนเทศเกี่ยวกับการเรียนที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับจำนวนนักศึกษาแรกเข้าที่เพิ่มมากขึ้น ทางหลักสูตร ฯ จึงได้นำข้อเสนอแนะดังกล่าวมาพัฒนาปรับปรุงระบบกลไก ในปีการศึกษาที่ 2566 ดังต่อไปนี้1.มีการเพิ่มหนังสือ สื่อการเรียนการสอนให้มีจำนวนและความหลากหลายทางวิชาการนิติศาสตร์มากขึ้น โดยศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศทางกฎหมาย 2.สโมสรนักศึกษาจัดตั้งระบบการดำเนินงานของนักศึกษาอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นและให้มีบทบาทประสานงานระหว่างนักศึกษากับหลักสูตรเกี่ยวกับการเรียนการสอนและสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้โดยตรง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรไม่ได้ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล เพื่อนำผลประเมินมาปรับปรุงกระบวนการ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.51 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 5.00 |
3.1 การรับนักศึกษา | 3.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 3.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 4.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 3.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 2.67 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 3.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 3.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 3.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 3.48 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.76 | 4.76 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 3.33 | - | - | 3.33 | ระดับคุณภาพดี |
4 | 3 | 2.89 | - | - | 2.89 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
5 | 4 | 3.00 | 3.67 | - | 3.50 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 3.00 | - | 3.00 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
ผลการประเมิน | 3.10 | 3.50 | 4.76 | 3.48 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |