รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

วันที่ประเมิน: 3 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3 คน และเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และประจำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ขอให้ปรับรายชื่อและข้อมูล (ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี) ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีการปรับตาม สมอ.08 ในรอบสภา 4/2565
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
1. ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ เขียนว่ามี 18 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 14 ชิ้น ลบ 1 ชิ้น = 13 ชิ้น เท่านั้น ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2017ใช้ไม่ได้)
2. ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ แก้ไขจาก ผศ. เป็น รศ. และเขียนว่ามี 15 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 2 ชิ้นเท่านั้นที่ใช้ได้ ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2016 และ2017ใช้ไม่ได้)


ขอให้ปรับการรายงานผลงานในรอบ 5 ปี ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ดังนี้
-รศ.ดร.ปณิธิ จำนวน 13 ชิ้น (ชิ้นที่ 14 Aspect-Oriented Approach for Supporting House Bookkeeping Software Design.) Expire
-ผศ.ดร.สิริพร จำนวน 2 ชิ้น ชิ้นที่ 3-5 Expire *** มีผลงานที่พบในปีการศึกษา 2565 อีก 3 ชิ้น สามารถรวมทั้งหมดเป็น 5 ชิ้น***
-ขอให้ปรับรายชื่อและข้อมูล (ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี) ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีการปรับตาม สมอ.08 ในรอบสภา 4/2565
-ตรวจสอบข้อมูลภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์+ค้นคว้าอิสระ (นับจากคำสั่งแต่งตั้งฯ จากบัณฑิตวิทยาลัย)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
1. รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ 2. ผศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ 3. ผศ.ดร.กวีวัฒน์ อำนาจโชติพันธ์
4.รศ.ดร.เชฎฐเนติ ศรีสอ้าน 5.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก 6.รศ.ดร.คริชณะ ฉิมมณี 7.ผศ.ดร.กานต์ ยงศิริวิทย์
8.ผศ.ดร.ธรรณพ อารีพรรค 9.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ 10.ผศ.ดร.สมชาย เล็กเจริญ

มี 2 ท่านใส่ผลงานไม่ครบตามข้อกำหนด 5 ปีย้อนหลัง ให้ใส่เพิ่มเติม ได้แก่
1.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์
2.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก และ
แก้ไขนามสกุล ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก เป็น เบี้ยวไข่มุข

***ขอให้เปลี่ยนข้อมูลของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และตรวจสอบผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตร***
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็น
1. รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ 2. ผศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ 3. ผศ.ดร.กวีวัฒน์ อำนาจโชติพันธ์ 4.รศ.ดร.เชฎฐเนติ ศรีสอ้าน 5.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก 6.รศ.ดร.คริชณะ ฉิมมณี 7.ผศ.ดร.กานต์ ยงศิริวิทย์
8.ผศ.ดร.ธรรณพ อารีพรรค 9.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ 10.ผศ.ดร.สมชาย เล็กเจริญ 
มี 2 ท่านใส่ผลงานไม่ครบตามข้อกำหนด 5 ปีย้อนหลัง ให้ใส่เพิ่มเติม ได้แก่
1.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์
2.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก

-ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ เขียนว่ามี 18 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 14 ชิ้น ลบ 1 ชิ้น = 13 ชิ้น เท่านั้น ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2017ใช้ไม่ได้)
-ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ เขียนว่ามี 15 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 2 ชิ้นเท่านั้นที่ใช้ได้ ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2016 และ2017ใช้ไม่ได้)
-แก้ไขนามสกุล ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก เป็น เบี้ยวไข่มุข
-ตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี ของ ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุข ในเล่มมีจำนวน 1 ชิ้นงานเท่านั้น ซึ่งอาจารย์น่าจะมีมากกว่านี้
-ตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี ของ ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ ในเล่มมีจำนวน 1 ชิ้นงานเท่านั้น ซึ่งอาจารย์น่าจะมีมากกว่านี้
***ขอให้ตรวจสอบ ผศ.ดร.กวีวัฒน์ เป็นอาจารย์ผู้สอนหรือไม่***
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) คุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่ามีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนและมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
5.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
  1. เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ
  2. มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
1. รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ 2. ผศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ 3. ผศ.ดร.กวีวัฒน์ อำนาจโชติพันธ์ 4.รศ.ดร.เชฎฐเนติ ศรีสอ้าน 5.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก 6.รศ.ดร.คริชณะ ฉิมมณี 7.ผศ.ดร.กานต์ ยงศิริวิทย์ 8.ผศ.ดร.ธรรณพ อารีพรรค 9.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ 10.ผศ.ดร.สมชาย เล็กเจริญ มี 2 ท่านใส่ผลงานไม่ครบตามข้อกำหนด 5 ปีย้อนหลัง ให้ใส่เพิ่มเติม ได้แก่
1.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์
2.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก

-ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ เขียนว่ามี 18 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 14 ชิ้น ลบ 1 ชิ้น = 13 ชิ้น เท่านั้น ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2017ใช้ไม่ได้)
-ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์เขียนว่ามี 15 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 2 ชิ้นเท่านั้นที่ใช้ได้ ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2016 และ2017ใช้ไม่ได้)
-แก้ไขนามสกุล ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก  เป็น เบี้ยวไข่มุข
-ตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี ของ ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุข ในเล่มมีจำนวน 1 ชิ้นงานเท่านั้น เกณฑ์ข้อนี้ควรมีไม่น้อยกว่า 3  ชิ้นงาน ซึ่งอาจารย์น่าจะมีมากกว่านี้
-ตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี ของ ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ ในเล่มมีจำนวน 1 ชิ้นงานเท่านั้น เกณฑ์ข้อนี้ควรมีไม่น้อยกว่า 3  ชิ้นงาน ซึ่งอาจารย์น่าจะมีมากกว่านี้

-ขอให้ตรวจสอบภาระที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เป็นไปตามคำสั่งฯบัณฑิตวิทยาลัย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
6.คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ประจำต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านการเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ต้องระบุที่ปรึกษาร่วม (ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)

 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
--
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
7.คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสูตร และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกไม่น้อยกว่า 5 คน ประธานผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องไม่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรือที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือ ขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการใน 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง หากไม่มีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ตามที่กำหนดจะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูง เป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
1. รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ 2. ผศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ 3. ผศ.ดร.กวีวัฒน์ อำนาจโชติพันธ์ 4.รศ.ดร.เชฎฐเนติ ศรีสอ้าน 5.ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก 6.รศ.ดร.คริชณะ ฉิมมณี 7.ผศ.ดร.กานต์ ยงศิริวิทย์ 8.ผศ.ดร.ธรรณพ อารีพรรค 9.ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ 10.ผศ.ดร.สมชาย เล็กเจริญ
-มี 2 ท่านใส่ผลงานไม่ครบตามข้อกำหนด 5 ปีย้อนหลัง ให้ใส่เพิ่มเติม
ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์
ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก

-ไม่ได้ระบุกรรมการภายนอก
-ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันทน์ เขียนว่ามี 18 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 14 ชิ้น ลบ 1 ชิ้น = 13 ชิ้น เท่านั้น ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2017 ใช้ไม่ได้)
-ผลงานทางวิชาการของ รศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์เขียนว่ามี 15 ชิ้น แต่ในส่วนของท้ายเล่ม มีเพียง 2 ชิ้นเท่านั้นที่ใช้ได้ ควรปรับให้ตรงกัน (ปี ค.ศ.2016 และ 2017 ใช้ไม่ได้)
-แก้ไขนามสกุล ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุก  เป็น เบี้ยวไข่มุข
-ตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี ของ ผศ.ดร.ชุติมา เบี้ยวไข่มุข ในเล่มมีจำนวน 1 ชิ้นงานเท่านั้น เกณฑ์ข้อนี้ควรมีไม่น้อยกว่า 3  ชิ้นงาน ซึ่งอาจารย์น่าจะมีมากกว่านี้
-ตรวจสอบผลงานวิชาการย้อนหลังในรอบ 5 ปี ของ ผศ.ดร.อรรถพล ป้อมสถิตย์ ในเล่มมีจำนวน 1 ชิ้นงานเท่านั้น เกณฑ์ข้อนี้ควรมีไม่น้อยกว่า 3  ชิ้นงาน ซึ่งอาจารย์น่าจะมีมากกว่านี้
***ขอให้ปรับการรายงานให้เป็นไปตาม Template***
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตรวจสอบรายการหลักฐานในรายงานให้ตรงกับในระบบ DBS
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษา
แบบ 1 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2 ต้องได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศของ กกอ.
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ปีการศึกษา 2565 มีผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 4 คน ดังนี้ (ไม่ตรงกับในเล่มที่รายงาน) ปรับแก้ไขให้ตรงกับข้อมูลบัณฑิตวิทยาลัยค่ะ
1. นายสมชาย บัวรุ่ง จบ 1/2565
2. นางสาวณภษร เผ่ากล้า จบ 2/2565
3. นางสาวอาภาภรณ์  โพธิ์กระจ่าง จบ 2/2565
4. นายเศรษฐพงศ์ วงษ์อินทร์ จบ 2/2565
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
วิทยานิพนธ์ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1คน ต่อ นักศึกษา 5 คน
การค้นคว้าอิสระ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 1 คน ต่อ นักศึกษา 15 คน หากอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการหรือปริญญาโทและตำแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คน ต่อนักศึกษา 10 คน
หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบสัดส่วนนักศึกษาที่ทำวิทยานิพนธ์ 1 คนเทียบเท่ากับ นักศึกษาที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ขอให้ตรวจสอบภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของอาจารย์ทุกท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
จะครบกำหนด 5 ปี ในการปรับปรุงหลักสูตร ในปีการศึกษา 2570
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
(3) ในกรณีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ยึดข้อมูลตามบัณฑิตวิทยาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 2 5.00
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 2
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อมูลส่วนกลางของบัณฑิตวิทยาลัยแจ้งว่า มีผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวน 2 คน คือ
1. นายปภังกร พิชญะธนกร จบ 2/2564
2. นายสรพรรค ภักดีศรี จบ 2/2564

ข้อมูลจากบัณฑิตวิทยาลัยแสดงค่าเฉลี่ยคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียน รวมทุกด้าน 5.00 และมีจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 2 คน ขอให้ใช้ข้อมูลจากบัณฑิตวิทยาลัย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานผลการประเมินจากบัณฑิตวิทยาลัย ปีการศึกษา 2565

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

หมายเหตุ : *
(1) การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนักศึกษา และผู้สำเร็จการศึกษา นับ ณ วันที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ (Accepted) และ
(2) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการศึกษาที่ประเมิน (ปีการศึกษา 2565 จะประกอบด้วย จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในภาค S/2565, 1/2565 และ 2/2565)
(3) ในกรณีที่ไม่มีผู้สำเร็จการศึกษาไม่พิจารณาตัวบ่งชี้นี้ (ให้ระบุ N/A)
(4) ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง

ระบุจำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 2 0 0 5
ระบุจำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก (ชิ้น)
0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.80 5.00
[2] จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 145.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 80 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ตัดผลงานที่ไม่อยู่ในรอบปีการศึกษา 2565 ออก (ใช้รายงานในปีการศึกษา 2566)
ชิ้นที่ 4
 Insights from a dataset on behavioral intentions in learning information flow diagram capability for software design. (August 2023)
ชิ้นที่ 5 
Dynamic Multi-Criteria Decision Making of Graduate Admission Recommender System: AHP and Fuzzy AHP Approaches.


มีเพิ่มของนักศึกษาในที่ปรึกษา รศ.ดร.เชฏฐเนติ ศรีสอ้าน คือ 
1. Kanokngamwitroj, K., & Srisa-An, C. (2022). Personalized Learning Management System using a Machine Learning Technique. TEM Journal, 11(4), 1626 -1633. DOI: 10.18421/TEM114-25
2. Kanokngamwitroj, K., Srisa-An, C. & Kasemsawasdi, S. (2022). The Effect of Data Anonymization on a Data Science Project. 6th International Conference on Information Technology (InCIT), Nonthaburi, Thailand, 201-206. doi: 10.1109/InCIT56086.2022.10067601.
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ไม่มีการปรับปรุงระบบกลไก ให้เป็นเป็นที่ประจักษ์
-ขอให้ตรวจสอบจำนวนนักศึกษาในตารางหน้า 57 และในตารางหน้า 69 ให้ตรงกัน
-ขอให้เพิ่มการรายงาน การปรับปรุงระบบกลไกการรับสมัครนักศึกษา ส่งผลให้มีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นเป็นไปตามเป้าหมายหรือเกินกว่าเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนด
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-หน้า 60 มีการรายงาน "หลักสูตรสามารถรับนักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก จำนวน 4 คน" แต่ในตารางจำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2565 และในหน้า 59 รายงานจำนวน 7 คน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานคือรายงานการประชุม จำนวน 4 ครั้ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับการรายงานตัวบ่งชี้ที่ 3.1

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ขอให้ปรับการรายงานกระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
-อธิบายใหม่ ไม่ตรงกับหัวข้อ การควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา ในเล่มไปอธิบายเรื่องการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและส่งเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
-ขอให้เพิ่มเติมการรายงาน กระบวนการดำเนินงานจากปีการศึกษา 2563 ส่งผลต่อปีการศึกษา 2564 แล้วปีการศึกษา 2565 มีการปรับปรุงกระบวนการอย่างไร แล้วส่งผลลัพธ์อย่างไร 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ควรปรับการรายงานกระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
-ขอให้ปรับการรายงานการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนกระบวนการตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 มาสู่การดำเนินงานในปีการศึกษา 2564 แล้วปีการศึกษา 2565 มีการทบทวนกระบวนการดำเนินงานอย่างไร แล้วส่งผลลัพธ์อย่างไรต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา

 
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ควรปรับการรายงานกระบวนการดำเนินงานและผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานคือรายงานการประชุม จำนวน 4 ครั้ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับการรายงานตัวบ่งชี้ที่ 3.2

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 3 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2551)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ขอให้ตรวจสอบจำนวนนักศึกษาในตารางหน้า 57 และในตารางหน้า 69 ให้ตรงกัน
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 0.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 0.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.31
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.39
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.40
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานควรเป็น แบบฟอร์มประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา และสรุปผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานจากปีการศึกษาที่ผ่านมา เพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ของการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ 1 ท่าน แล้วหลักสูตรมีกระบวนการกำกับดูแลอาจารย์ใหม่อย่างไร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้อธิบายเพิ่มเติม กระบวนการบริหารบุคลากรในหลักสูตรในด้านการสอนและการบริหารหลักสูตรอย่างไร อัตรากำลังเพียงพอหรือไม่ 
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
เพิ่มเติมการส่งเสริมให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบเข้าร่วม Conference และ Inter Conference หรือภาคเอกชน หรืองานสัมมนาด้าน Forensic โดยมีกระบวนการส่งเสริมของหลักสูตรอย่างไร เช่น การประชุมเพื่อวางแผนผลักดัน ส่งเสริม  
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐานควรเป็น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารหลักสูตร การบริหารอัตรากำลัง และการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจเป็นรายงานการประชุมที่มีวาระที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์การพิจารณาของตัวบ่งชี้ที่ 4.1

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านมีคุณวุฒิเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 0
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 0
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 3
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 3
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 100.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 100 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกท่านมีตำแหน่งทางวิชาการและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ตรวจสอบการกรอกข้อมูลในตารางใหม่
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 5 0 0 3
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 166.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ตัดผลงานที่ไม่อยู่ในรอบปีการศึกษา 2565 ออก (ใช้รายงานในปีการศึกษา 2566)
ชิ้นที่ 4
 Insights from a dataset on behavioral intentions in learning information flow diagram capability for software design. (August 2023)
ชิ้นที่ 5 Dynamic Multi-Criteria Decision Making of Graduate Admission Recommender System: AHP and Fuzzy AHP Approaches.

*** พบว่ามีผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านอื่น ที่สามารถนำมานับค่าถ่วงน้ำหนักได้ เช่น รศ.ดร.สิริพร ศุภราทิตย์ มีจำนวน 3 ชิ้น ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.40
เพิ่มของ รศ.ดร.ปณิธิ เนตินันท์
1. Netinant, P., Akkharasup-Anan, N., Rakhiran, M. (2023). Class Attendance System using Unimodal Face Recognition System based on Internet of Educational Things. IEEE 6th Eurasian Conference on Educational Innovation (ECEI), 67-70. (2023/2/3)    
2. Netinant, P., Chuencheevajaroen, S., Rakhiran, M. (2023). Ario Game: Learning English Game Development with Python on Raspberry Pi.
IEEE 6th Eurasian Conference on Educational Innovation (ECEI), 55-58. (2023/2/3)        
3. Netinant, P., Mingkhwan, A. Rakhiran, M. (2023). Two-Hand Gesture Recognition for User Information Interaction based on Internet of Educational Things. IEEE 6th Eurasian Conference on Educational Innovation (ECEI), 321-324. (2023/2/3)    
4. Chaichana, K., Netinant, P., Pukdesree, S. (2023).  Design and Implementation of an IoT-Based Surveillance System using Raspberry Pi, Camera, and Motion Sensor. Proceedings of the 2023 7th International Conference on E-Commerce, E-Business and E-Government, 195-202. (2023/4/27)    
5. Netinant, P., Prajaksuvithee, P., Pukdesree, S. (2023). Exploring the Potential of Information Flow Diagram (IFD) in Graduate Digital Library System Design and Development. Proceedings of the 2023 7th International Conference on E-Commerce, E-Business and E-Government. 168-173. (2023/4/27)
4.2.4 จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนยืนยัน
[ฐานข้อมูล]
ผลการประเมิน
กรรมการ
TCI SCOPUS
[1] จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง 0 72 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 3
[3] อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร [1] / [2] 24.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] x 5 / 2.5 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ปรับจำนวนครั้งการถูก Citation ผลงาน ดังนี้
-ลำดับที่ 2 Automated information retrieval and services of graduate school using chatbot system. = 1 Citation

 
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา
  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 2.5 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 3.0 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    อัตราส่วน จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขึ้นไป
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อมูลผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และข้อมูลการ Citation ในฐาน Scopus 
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
-
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1 ท่าน (66.67)
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
แนวโน้มดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ขอให้เพิ่มหลักฐานแบบฟอร์มและสรุปผลความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

7
0
0.00
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้กรอกข้อมูล จำนวนรายวิชาที่หลักสูตรเปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา และจำนวนวิชาที่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันฯ
-หลักสูตรมีรายวิชาที่มีการปรับกระบวนการเรียนการสอนฯ หรือไม่ หากมีขอให้รายงานในตาราง เนื่องจากหน้า 106 หลักสูตรรายงานว่ามีการปรับเพิ่มเนื้อหาในรายวิชาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
-หลักสูตรมีกระบวนการออกแบบหลักสูตรอย่างไร เพื่อมุ่งหวังผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไร เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและสถานประกอบการ
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
-หลักสูตรมีการปรับรายวิชาอย่างไร ปรับย่อย เช่น กระบวนการจัดการเรียนการสอน สาระต่างๆในรายวิชา เป็นต้น
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
รายการหลักฐาน คือ การอ้างถึงรายงานการประชุม จำนวน 4 ครั้ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับการรายงานตัวบ่งชี้ที่ 5.1

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน

การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
การควบคุมหัวข้อวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาให้สอดคล้องกับสาขาวิชาและความหน้าของศาสตร์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
การช่วยเหลือ กำกับ ติดตามในการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ และการตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

รายการหลักฐาน คือ การอ้างถึงรายงานการประชุม จำนวน 4 ครั้ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับการรายงานตัวบ่งชี้ที่ 5.2

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน

การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
-ขอให้เพิ่มเติมการรายงาน กระบวนการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการทวนสอบ จำนวนรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2565 และจำนวนรายวิชาท่ทำการทวนสอบในปีการศึกษา 2565 คิดเป็นร้อยละเท่าใด ***ในตัวบ่งชี้ 5.4 ข้อ 6 รายงานว่าเปิดสอน 4 รายวิชา ทวนสอบ จำนวน 2 รายวิชา ร้อยละ 50***
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-รายชื่อวิชาที่เปิดสอน และรายชื่อวิชาที่ทำการทวนสอบในปีการศึกษา 2565
-ผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
-หลักฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรายงานตัวบ่งชี้ที่ 5.3

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อมูลรายวิชาที่เปิดสอน รายวิชาที่ทำการทวนสอบ และผลการทวนสอบ
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ 1 ท่าน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แบบฟอร์มและสรุปผลการประเมินจากนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ใช้ข้อมูลผลการประเมินจากบัณฑิตวิทยาลัย คะแนนเฉลี่ยรวม 5.00
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ไฟล์สรุปผลการประเมินจากบัณฑิตวิทยาลัย ปีการศึกษา 2565
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ข้อมูลรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2565
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ปรับคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน เท่ากับ 4.61 (ตามที่รายงานในตารางคุณภาพของการสอน หน้า 99)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
สรุปผลการประเมินคุณภาพการสอนรวมทุกรายวิชา
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้ปรับการรายงานเป็น ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เท่ากับ 4.51 (ตามที่รายงานในตัวบ่งชี้ 6.1 หน้า 135)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ไม่พบการรายงานผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการ และการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
แบบฟอร์มและสรุปผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. นักศึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Scopus

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรมีการวางแผน ปรับปรุง พัฒนากระบวนการควบคุมดูแลการให้คำปรึกษาดุษฎีบัณฑิตเพื่อให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามกำหนด

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 5.00
2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 5.00
3.1 การรับนักศึกษา 3.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.62

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 5.00 5.00 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.00 - - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
4 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.29 3.50 5.00 3.62 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก