รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการภาพยนตร์ดิจิทัล

วันที่ประเมิน: 18 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผศ.ดร.กฤษณีกร 
คำแนะนำ
- เรียงตามรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้สัมพันธ์กัน

อาจารย์เขมนิจ หน้า 6 ข้อมูลทั่วไป ตารางอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ควรระบุวันที่ได้รับอนุมัติผ่านสภามหาวิทยาลัย
 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผศ.ดร.กฤษณีกร
คำแนะนำ

- ในผลการดำเนินงาน ใส่จำนวน.........ชิ้นก็พอ หรือให้เขียนด้วยรูปแบบเดียวกันทั้ง 5 คน
ข้อสังเกต
- จำนวนชิ้นงานของผลงานวิชาการ ไม่ตรงกับแบบรองรับความถูกต้องของข้อมูลท้ายเล่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผศ.ดร.กฤษณีกร ไม่มีรายการหลักฐาน
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผศ.ดร.กฤษณีกร
ข้อสังเกต

- จำนวนชิ้นงานของผลงานวิชาการ ไม่ตรงกับแบบรองรับความถูกต้องของข้อมูลท้ายเล่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ผศ.ดร.กฤษณีกร
ข้อสังเกต

- ประสบการณ์ทำงานของอาจารย์พิเศษระหว่างตารางแนวนอนกับตัวบ่งชี้นี้ระบุไม่เท่ากัน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 122 4.52
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 65
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.52
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.กฤษณีกร ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตมีค่าเฉลี่ยในระดับดีมาก โดยเฉพาะด้านคุณธรรม จริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หลักสูตรสามารถนำผลสำรวจนี้ไปใช้วางแผนปรับปรุงหลักสูตรด้านการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องต่อไปได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 122 4.74
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 101
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 8
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 12
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 72
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 5
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 2
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 2
ร้อยละที่ได้ 94.85
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.74
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์อรรจน์ จำนวนบัณฑิตที่จบเข้าทำงานในสายงานเฉพาะทางที่เรียนมีน้อย ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจส่วนตัว/ ครอบครัว แสดงถึงแนวโน้มการศึกษาที่เรียนเพื่อรู้ ไม่ได้เรียนเพื่อประกอบวิชาชีพเฉพาะทาง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.63 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาทำให้มีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม
อาจารย์อรรจน์ ระบบกลไกชัดเจน เห็นผลเป็นรูปธรรม
อาจารย์เขมนิจ หลักสูตรมีจำนวนนักศึกษาใหม่เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2563 และปีการศึกษา 2564 ซึ่งเห็นผลเป็นรูปธรรม จากการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรได้คะแนนประเมิน 4 คะแนนจากประเด็นการรับนักศึกษาเพราะมี PDCA ครบเกณฑ์การประเมินและมีผลจากการประเมินที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร
ในการดำเนินการที่เห็นเป็นรูปธรรม: หลักสูตรควรอธิบายเพิ่มเติมด้วยการใส่ข้อมูลเชิงประจักษ์ เกี่ยวกับการดำเนินการรับนักศึกษาที่ทำให้จำนวนนักศึกษาแรกเข้าเพิ่มมากขึ้น เช่น
- การให้ข้อมูลตัวเลขจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นใน 3 ปีย้อนหลัง
- การยกผลลัพธ์ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ เช่น ยอดคนติดตาม หรือกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมแต่ละโครงการที่หลักสูตรจัดทำขึ้น
- การรายงานกิจกรรมเชิงการตลาดและการประชาสัมพันธ์ของหลักสูตรที่ได้ทำเพิ่มขึ้นอย่างไรบ้าง เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีผลการดำเนินการครบเกณฑ์ประเมิน 4 คะแนน ในประเด็นด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จนเกิดผลงานของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลระดับชาติ
อาจารย์อรรจน์ มีระบบกลไกที่ชัดเจน เห็นผลเป็นรูปธรรม
อาจารย์เขมนิจ หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการให้คำปรึกษาในเรื่องการเรียนและการจัดทำวิทยานิพนธ์ รวมถึงระบบในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ส่งผลให้นักศึกษาได้รับรางวัลในระดับชาติ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีการส่งเสริมทักษะที่จำเป็นต่อวิชาชีพจนทำให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษาที่ตอบสนองต่อสังคมและยุทธศาสตร์ชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร
- ขยายความผลการปรับปรุงให้เป็นรูปธรรม โดยการระบุข้อมูลเชิงประจักษ์ เช่น รางวัลอะไรบ้าง จำนวนรางวัลเพิ่มขึ้นอย่างไร หรือมีเวทีในระดับคุณภาพที่สูงขึ้นอย่างไรบ้าง
- ในการระบุเหตุผลที่ได้ 4 คะแนนให้หลักสูตรอธิบายด้วยเหตุผลที่สอดคล้องกับเกณฑ์ของตัวบ่งชี้นี้
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2536 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2539)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 92.60
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 88.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร ผลการดำเนินงานให้รายงานการคงอยู่เฉพาะปีที่ประเมิน 2563-2565
อาจารย์เขมนิจ ควรมีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการผ่อนชำระค่าเล่าเรียนและติดตามนักศึกษา เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องการพักการเรียนหรือลาออกของนักศึกษา
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 61.00
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 41.20
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 58.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์เขมนิจ เพิ่มการติดตามนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาตามกำหนดของหลักสูตร
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.45
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.48
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีแผนบริหารและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาให้สามารถจัดการเรียนรู้ในศาสตร์สาขาวิชาที่รับผิดชอบได้ 
อาจารย์อรรจน์ กระบวนการพัฒนา ทำให้อาจารย์มีผลงานในวงกว้าง
อาจารย์เขมนิจ หลักสูตรมีการปรับปรุงระบบการรับและแต่งตั้ง การบริหารอาจารย์ และการพัฒนาอาจารย์ ส่งผลให้อาจารย์มีการปรับตัวในการพัฒนาการสอนสู่ระบบออนไลน์และมีผลงานทางวิชาการเห็นผลในเชิงประจักษ์ 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร
- ประเด็นที่หลักสูตรใช้ประเมิน 3 คะแนนเป็นส่วนของระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพ แต่ในรายงานมีแต่ C - การประเมิน แต่ขาดรายงานเกี่ยวกับ P - ระบบกลไก และ D - การดำเนินงาน จึงควรใส่ให้ครบ P D C
- หรือ นำ C - การประเมินบางส่วนในหมวดนี้ไปใส่ในประเด็นอื่นที่มี P และ D อยู่แล้ว เช่น ประเด็นการบริหารอาจารย์ เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งได้เลย

หากหลักสูตรเขียนรายงานเพิ่มเติมจะทำให้ได้ 4.00 คะแนน เพราะมีผลการดำเนินการให้เห็นเป็นรูปธรรมได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์อรรจน์ ส่งเสริมให้อาจารย์มีวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร + อาจารย์อรรจน์ หลักสูตรควรส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร ให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการมากยิ่งขึ้น
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 3
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.กฤษณีกร อาจารย์มีผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคจำนวนมาก ทำให้ได้ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการในระดับคะแนนเต็ม 5 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรควรวางแผนการประเมินความเสี่ยง และวางแผนการส่งเสริมศักยภาพอาจารย์ประจำหลักสูตรให้มีผลงานทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น เพื่อแผนการปรับปรุงหลักสูตรและสอดคล้องกับการดำเนินการด้านการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการอีกด้วย
อาจารย์อรรจน์ ส่งเสริมการทำผลงานวิชาการ และงานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.กฤษณีกร
- มีรายงานผลการดำเนินงานครบทุกด้านและมีแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นทุกเรื่อง
- มีอัตราการคงอยู่และมีความพึงพอใจของอาจารย์ที่มีต่อการบริหารหลักสูตรที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จากอาจารย์เทพิน เป็นอาจารย์ชนาพร หรือไม่
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.63 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

34
23
67.65
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย และมีการกำหนดสาระรายวิชาการปฏิบัติที่ช่วยสร้างโอกาสในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่มีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
อาจารย์อรรจน์
 มีระบบชัดเจน มีผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จริง
อาจารย์เขมนิจ
 หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรและสาระรายวาให้เหมาะสมกับกับต้องการของผู้เรียนและมีความทันสมัย ส่งผลให้นักศึกษามีความพึงพอใขในการเรียนการสอนมากขึ้น และนำไปปรับใช้ในการผลิตภาพยนตร์จนได้รับรางวัลในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาติ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ข้อสังเกต 
- ในตารางสรุปรายวิชาของหลักสูตรหน้า 54-57 นับรายวิชาได้ 34 วิชา ถ้ามีวิชาที่ปรับเปลี่ยน 23 วิชา จะได้ร้อยละ 67.65
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีผลการดำเนินการครบตามเกณฑ์ประเมิน PDCA ในประเด็นการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร
ในเกณฑ์การประเมิน 4 คะแนน ยังไม่เห็นรายงานผลการดำเนินการที่มีผลการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม
ข้อเสนอแนะ: ควรขยายเพิ่มเติมในหน้า 83 เกี่ยวกับผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมให้สอดคล้องกับประเด็น เช่น 
- เด็กมีงานทำมากขึ้น / เด็กมีงานทำในสายงานมากขึ้น / มีงานทำในองค์กรมากขึ้น
- ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตด้าน.........คุณภาพบัณฑิตที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและสะท้อนการนำไปใช้ได้จริง
- ปรับปรุงหลักสูตรด้านใด ในวิชาอะไร แล้วมีผลลัพธ์อะไรดีขึ้นจากการปรับปรุงนั้น เช่น จำนวนเด็กได้รับรางวัล หรือ จำนวนรางวัลที่มากขึ้น ผลงานคุณภาพที่สูงขึ้น เป็นต้น
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์เขมนิจ หลักสูตรมีการปรับปรุงและประเมินผลระบบการกำหนดผู้สอนและการจัดการเรียนการสอน โดยการประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาพบว่านักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับสูง 4.31 นอกจากนี้ในเรื่องการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม พบว่าหลักสูตรมีการบูรณาการรายวิชากับโครงการบริการวิชาการทางสังคม ส่งผลให้นักศึกษามีทักษะการผลิตสื่อเพิ่มขึ้นจนได้รับรางวัลทั้งระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาติอย่างเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์อรรจน์ มีระบบที่ชัดเจน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีผลการปรับปรุงการดำเนินการที่เห็นเป็นรูปธรรมได้จากจากการสอดแทรกศิลปวัฒนธรรมในกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาและการบูรณาการร่วมกับโครงการต่างๆ จนทำให้นักศึกษาได้รับรางวัลภาพยนตร์สั้นคุณธรรมจริยธรรมได้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร ประเด็นนี้มีรายงาน C-การประเมิน และ A-การปรับปรุง/พัฒนา แต่ขาดรายงาน P - ระบบกลไก และ D - การดำเนินงาน ควรเพิ่มเติมรายงานการประเมินให้ครบ PDCA
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์เขมนิจ + อาจารย์อรรจน์ (ระบุคะแนน 4.00) ทางหลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการทวนสอบเพื่อวัดผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน โดยในปี 2565 มีการจัดตั้งคณะกรรมการทวนสอบที่ประกอบด้วย อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อและในวงการวิชาชีพ พร้อมกับมีการสะท้อนผลการเรียนรู้กลับไปยังนักศึกษา ทำให้นักศึกษาทราบว่าตนเองควรพัฒนาด้านใด ส่งผลให้ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตอยู่ในระดับสูงมาก คือ มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.57 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ช่องรายการหลักฐานหายไป
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อย่าลืมรีเช็คจำนวนรายวิชาที่เปิดสอนให้ชัดเจนและสัมพันธ์กันทั้งเล่ม
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 14 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 14
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลอย่างครบถ้วนแต่อยากให้หลักสูตรอธิบายให้เห็นเป็นรูปธรรมเพิ่มเติมมากกว่านี้
     ***หากหลักสูตรต้องการประเมินที่ 5 คะแนนต้องรายงานและดำเนินการตามเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน***

อาจารย์เขมนิจ หลักสูตรมีการนำผลการประเมินเรื่องการใช้เครื่องมืออุปกรณ์หรือสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในปี 2564 มาปรับปรุงกระบวนการขอใช้เครื่องมืออุปกรณ์ให้ตอบโจทย์ความต้องการของนักศึกษามากขึ้น โดยมีการมอบหมายให้อาจารย์ประสานงานเจ้าหน้าที่เรื่องการจัดคิวการยืมอุปกรณ์ที่มีระบบ และให้คำแนะนำเช่ายืมอุปกรณ์จากบริษัทของศิษย์เก่า เป็นต้น ส่งผลให้ในปี 2565 นักศึกษามีความพึงพอใจต่อหลักสูตรและทรัพยากรการจัดสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนโดยรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.39 สูงขึ้นจากปีการศึกษา 2564
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.กฤษณีกร หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลอย่างครบถ้วนแต่อยากให้หลักสูตรอธิบายให้เห็นเป็นรูปธรรม
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.ดร.กฤษณีกร หากหลักสูตรต้องการคะแนนประเมินที่ 5.00 คะแนนต้องรายงาน 4.00 คะแนน + KM แนวทางปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน เช่น
- เปรียบเทียบอุปกรณ์กับหลักสูตรในมหาวิทยาลัยอื่น
- ความทันสมัยของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เป็นที่ประจักษ์จนได้รับการยอมรับ / การทำ MOU / การทำโครงการขอความร่วมมือจากองค์กรอื่นในการใช้อุปกรณ์
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีแผนการรับนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ทำให้จำนวนนักศึกษารับเข้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  2. หลักสูตรมีการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาจนทำให้เกิดผลงานเชิงสร้างสรรค์สังคมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยจนได้รับรางวัลในระดับชาติ
  3. หลักสูตรมีแผนบริหารความเสี่ยงด้านการบริหารอาจารย์ที่สามารถรักษาอาจารย์ให้มีอัตราคงอยู่อย่างสมดุลกับภาระงานในหลักสูตรได้
  4. หลักสูตรมีการบูรณาการกิจกรรมกับการเรียนการสอน
  5. หลักสูตรมีการจัดสรรอุปกรณ์การเรียนเพิ่มขึ้นให้เพียงพอต่อการจัดกรเรียนการสอน
  6. หลักสูตรมีระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำและอาจารย์พิเศษ ที่ให้ความสำคัญกับการพิจารณาคุณสมบัติของอาจารย์ โดยมีการเพิ่มคุณสมบัติการมีความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย มาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่เน้นที่ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถในการเป็นผู้ผลิตภาพยนตร์ดิจิทัล และพร้อมก้าวสู่การเป็นมืออาชีพในสายงานทางด้านภาพยนตร์ในยุคดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  7. หลักสูตรมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน รวมทั้งมีการวางกลยุทธ์การสอนทั้งในระบบห้องเรียนและการสอนนอกห้องเรียน ส่งผลให้นักศึกษามีพัฒนาการเรียนรู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เกี่ยวกับการผลิตสื่อภาพยนตร์ดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการที่นักศึกษาได้รับรางวัลทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับประเทศ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการทำงานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากผลความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่มีค่าเฉลี่ยที่เพิ่มสูงขึ้นจากปี 2564

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมุ่งพัฒนาและส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการมากยิ่งขึ้น
  2. หลักสูตรควรวางแผนและการจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา เพื่อให้อัตราการคงอยู่และอัตราการสำเร็จการศึกษาเป็นไปตามแผนและระยะเวลาของหลักสูตร
  3. หลักสูตรควรมีกระบวนการติดตามนักศึกษาที่มีผลการเรียน IP

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.52
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.74
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.78

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.63 4.63 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.63 - - 3.63 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 4.00 - 4.00 ระดับคุณภาพดี
ผลการประเมิน 3.56 3.75 4.63 3.78 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก