รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์

วันที่ประเมิน: 28 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
กรรมการทุกท่าน จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
ผศ.อรรถญา
 ตรวจสอบรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หน้า 6 ใน มคอ.2 ฉบับล่าสุด และคอลัมน์หมายเหตุ ระบุการอนุมัติจากสภาในการประชุมครั้งที่ ....... วัน เดือน ปี........
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
กรรมการทุกท่าน คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
ผศ.อรรถญา
 เพิ่มเติม จำนวนผลงานย้อนหลัง 5 ปีของ อ.พัทธ์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
กรรมการทุกท่าน คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
ผศ.อรรถญา 
เพิ่มเติม จำนวนผลงาน เหมือนข้อก่อนหน้านี้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
 คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำเป็นไปตามเกณฑ์
ผศ.อรรถญา 
แก้ไขเพิ่มเติม รายชื่อของอาจารย์ทั้ง 2 ท่านเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ผู้สอน คือ อาจารย์ที่มาสอนต่างสาขาต่างคณะ ในตารางหน้า 9 ด้วย
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษเป็นไปตามเกณฑ์
ผศ.อรรถญา 
เพิ่มเติม ประสบการณ์ของผู้สอน จำนวนปีไม่ตรงกับข้อมูลหน้า 10
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 11 4.51
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 10
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.51
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 อยู่ในระดับดีมาก
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ ร้อยละของจำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต คือ 90.90 ซึ่งดีมากที่สามารถเก็บข้อมูลได้จากเกือบทุกคน
อาจารย์อรรถยา 
ข้อมูลครบถ้วน แนวทางเสริม ติดตามผลของบัณฑิตจากปัญหาการแพร่ระบาดเชื้อโควิด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 11 4.50
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 10
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 1
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 5
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 3
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 1
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 0
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 90.00
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.50
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี อยู่ในระดับดี
ผศ.ดร.ดวงทิพย์
พบว่าการจัดหลักสูตรนั้น ได้สร้างโอกาสให้นักศึกษาฝึกทักษะที่เกี่ยวข้องกับการผลิตผลงานดิจิทัล โดยการเน้นและพัฒนาทักษะในรายวิชาที่เน้นการปฏิบัติ ซึ่งได้ผลดีให้กับนักศึกษา และทำให้พวกเขาเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่วงการอาชีพ และแสวงหางานทำที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์ดิจิทัล และฟรีแลนซ์ได้อย่างดี ที่เน้นการผลิตผลงานในรูปแบบดิจิทัล และทักษะที่ได้ฝึกในหลักสูตร ช่วยให้นักศึกษาสามารถพัฒนาความเป็นผู้ประกอบอาชีพอิสระที่มีความสามารถในการคิด และการผลิตครบกระบวนการ อย่างมีคุณภาพและเสริมสร้างความพร้อมในการเข้าสู่สายอาชีพอย่างยั่งยืน
อาจารย์อรรถยา ข้อมูลครบถ้วน แนวทางเสริม ติดตามผลของบัณฑิตเป็นระยะ เผื่อนำมาเป็นข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา การคำนวณในตารางมีข้อผิดพลาด เนื่องจากมีนักศึกษาไม่มีงานทำ 1 คน ผลลัพธ์จึงออกมา 4.50 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.51 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีระบบและกลไก การดำเนินการเรื่องการเตรียมความพร้อมทั้งเรื่องแผนการเรียนและการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษา ทำให้มีความเข้าใจในตัวหลักสูตรมากขึ้น และมีอัตราการคงอยู่ที่ดีขึ้น
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ มีเหตุผลเชิงประจักษ์ คือ สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีการทบทวน ระบบ กลไก และกระบวนการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการรับสมัคร การเตรียมความพร้อมก่อนเรียนที่ส่งผลเชิงประจักษ์ ด้านการรับสมัครนักศึกษา พบว่า จำนวนนักศึกษาสมัครเข้าเรียนในหลักสูตรมีจำนวนมากกว่าเกณ์กำหนดการรับนักศึกษาใหม่ที่ระบุไว้ใน มคอ. 2 รวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาในด้านการสร้างความเข้าใจต่อหลักสูตรและลดปัญหาการขอโอนย้ายสาขา โดยภาพรวมมีแนวโน้มที่ดีขึ้นตามลำดับ

อาจารย์อรรถยา ดำเนินการครบตามคะแนนประเมิน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีการรายงานข้อมูลของปี 2564 มากกว่าปี 2565 จึงไม่เห็นระบบและกลไก ในการดำเนินงาน และผลเชิงรูปธรรมจากประเด็นการรับสมัครนักศึกษา 

ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ได้ผ่านการปรับปรุงระบบและกลไกที่มีผลให้การรับนักศึกษามีความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์ที่ดีขึ้นนี้เกิดจากหลายปัจจัยที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการรับนักศึกษาและเป็นจุดเด่นที่ชัดเจนของหลักสูตรนี้ คือ

1.หลักสูตรได้มีการประชาสัมพันธ์หลากหลายช่องทาง เช่น การใช้เพจสาขาวิชาในโซเชียลมีเดียเพื่อแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับหลักสูตร นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอความน่าสนใจของหลักสูตรในงานแสดงผลงานและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อดึงดูดนักเรียนที่สนใจให้มาสมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้มากขึ้น ทั้งยังมีการติดตามผู้สนใจที่ทำการสอบถามอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีเพิ่มขึ้น ซึ่งนับได้ว่าเป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มโอกาสในการรับนักศึกษาที่มีคุณสมบัติตรงกับหลักสูตรนี้เพิ่มขึ้นได้ด้วย
2.หลักสูตรมีโครงการ เช่น การสอนเกรียนให้เซียนสื่อในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย นับได้ว่าเป็นการเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสาขาวิชา นักศึกษาที่มีโอกาสได้รับการแนะแนวนอกสถานที่จะสามารถมีความคิดที่น่าสนใจและมีคุณภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังสร้างโอกาสให้นักศึกษาเข้าถึงแหล่งข้อมูลและเส้นทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย
3.หลักสูตรมีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา ซึ่งนับได้ว่าเป็นแนวทางที่สร้างพื้นที่ให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะและความสามารถในทางปฏิบัติจริง นอกจากนี้ยังสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จากกิจกรรมอีกด้วย


อาจารย์อรรถยา มีการดำเนินการการดูแลนักศึกษาที่ดี แนวทางเสริม เก็บผลสำรวจตามพฤติกรรมของนักศึกษาเรื่อยๆ 

ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา ควรเพิ่มเติมการรายงานในปี 2565 เพื่อให้เห็นการดำเนินการที่ชัดเจน
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีระบบและกลไก การดำเนินการเรื่องการเตรียมความพร้อมทั้งเรื่องแผนการเรียนและการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษา ทำให้มีความเข้าใจในตัวหลักสูตรมากขึ้น และมีอัตราการคงอยู่ที่ดีขึ้น
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่มีการทบทวนระบบ กลไก และกระบวนการรับสมัคร ซึ่งการทำเช่นนี้ช่วยสร้างจุดเด่นและแนวทางเสริมเชิงบวกต่อหลักสูตร ด้วยเหตุผลเชิงประจักษ์ด้านการรับสมัคร พบว่าจำนวนนักศึกษาสมัครเพิ่มขึ้นเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ใน มคอ. 2 ซึ่งสามารถนำมาแสดงความน่าสนใจและคุณค่าของหลักสูตรได้ ทั้งนี้การปรับปรุงกระบวนการรับสมัครและการทบทวนระบบช่วยลดปัญหาเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจ และปัญหาการขอโอนย้ายสาขา ซึ่งผลลัพธ์ทั้งหมดนี้ช่วยปรับปรุงคุณภาพการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ให้ดีขึ้น ซึ่งมองเห็นแนวโน้มที่ดีขึ้นตามลำดับในสาขาวิชานี้
อาจารย์อรรถยา มีการดำเนินการแก้ไขดี แนวทางเสริม เก็บผลสำรวจตามพฤติกรรมของนักศึกษาเรื่อยๆ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกการดำเนินงาน และปรับปรุงกระบวนการ การดำเนินงานการพัฒนาศักภาพนักศึกษา ร่วมกับองค์กรวิชาชีพ รวมถึงการส่งเสริมในการแข่งขันรายการต่างๆในระดับชาติ จนได้รับรางวัลเป็นเชิงประจักษ์ 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีระบบและกลไก การดำเนินงานการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรีอย่างชัดเจน
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรฯ มีการใช้เครื่องมือสื่อสารเชิงส่วนตัว เช่น Line และ Facebook เพื่อปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่เรียนรู้ เนื่องจากนักศึกษาสามารถสอบถามและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ทันที จึงเป็นตัวช่วยในการช่วยเพิ่มความเข้าใจในเนื้อหาวิชาเรียนและความรู้ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ นักศึกษาสามารถใช้เวลานอกห้องเรียนในการศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ซึ่งเป็นแนวทางที่ส่งผลให้นักศึกษามีความเข้าใจเนื้อหามากขึ้น และสามารถตอบคำถามในการสอบได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน โดยใช้ภาษาอังกฤษที่เป็น Technical Terms อย่างถูกต้อง ทำให้พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี อีกทั้ง อาจารย์ที่ปรึกษายังเป็นผู้ขับเคลื่อนการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาเข้าร่วมการประกวดผลงานต่างๆ เพื่อส่งเสริมความมั่นใจและความสามารถในการนำเสนอผลงาน นอกจากนี้ การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับปริญญานิพนธ์ยังเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทักษะการวิจัยและการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงส่งผลให้นักศึกษามีความพึงพอใจและความสำเร็จในการเรียนรู้มหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
อาจารย์อรรถยา มีแนวทางการปรับปรุงที่ดี

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา ควรมีแผนการดูแลให้คำปรึกษาเรื่องการทำปริญญานิพนธ์เพื่อสำเร็จการศึกษา
อาจารย์อรรถยา ยังไม่เห็นกระบวนการด้านภาษาอังกฤษที่ชัดเจน
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกการดำเนินงาน และปรับปรุงกระบวนการ การดำเนินงานการพัฒนาศักภาพนักศึกษา ร่วมกับองค์กรวิชาชีพ รวมถึงการส่งเสริมในการแข่งขันรายการต่างๆในระดับชาติ จนได้รับรางวัลเป็นเชิงประจักษ์
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรฯ มีการเชื่อมโยงผลงานประกวดกับเนื้อหาที่เรียน ซึ่งเป็นจุดเด่นที่ส่งผลให้นักศึกษาเห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติจริง การสร้างโครงการหรือผลงานที่นำเสนอในการประกวดช่วยเสริมสร้างความกระตือรือร้นในการเรียนรู้และการประกอบอาชีพในอนาคต นอกจากนี้ การสร้างโอกาสในการเข้าร่วมการประกวดผลงานทางวิชาการหรือศิลปะช่วยส่งเสริมนักศึกษาให้มีความมุ่งมั่นและมีพลังที่จะพัฒนาทักษะตนเอง และการเข้าร่วมการประกวดยังช่วยสร้างประสบการณ์และเรียนรู้เพิ่มเติมที่ไม่ได้อยู่เพียงแต่ในห้องเรียน
อาจารย์อรรถยา มีแนวความคิดที่จะปรับปรุงตามแนวทางที่ดี แนวทางเสริม จัดเวทีการประกวดของนักศึกษาเองภายในมหาวิทยาลัย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา เพิ่มเติมรายละเอียดเรื่องการทำความร่วมมือกับองค์กรภายนอกในปี 2565
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีระบบและกลไกการดำเนินงาน และปรับปรุงกระบวนการ การดำเนินงานการพัฒนาศักภาพนักศึกษา ร่วมกับองค์กรวิชาชีพ รวมถึงการส่งเสริมในการแข่งขันรายการต่างๆในระดับชาติ จนได้รับรางวัลเป็นเชิงประจักษ์
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรฯ มีการเชื่อมโยงผลงานประกวดกับเนื้อหาการเรียนเป็นสิ่งที่เพิ่มความเข้าใจและความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและปฏิบัติ นักศึกษาจะสามารถนำความรู้ในการเรียนไปใช้สร้างผลงานที่มีคุณค่าในสายงานต่างๆ นอกจากนี้ มีการสร้างโอกาสให้กับนักศึกษาในการเข้าร่วมการประกวด ช่วยเสริมสร้างความกระตือรือร้นในการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะ นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์ที่มีค่าและเรียนรู้เพิ่มเติมจากการแข่งขันกับผลงานคุณภาพ ผลลัพธ์ที่ได้จากการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม จะช่วยส่งเสริมให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง นอกจากนี้ การดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภายนอกช่วยให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่มีคุณค่าในการนำความรู้ไปใช้ในการทำงานจริงและสร้างสรรค์สู่การพัฒนาชาติในยุทธศาสตร์ชาติ
อาจารย์อรรถยา มีวิธีการปรับปรุงที่ดี แนวทางเสริม เพิ่มกิจกรรมนอกหลักสูตรที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา เพิ่มเติมเรื่องผลของรางวัลจากหน่วยงานที่ได้รับ และมีความสอดคล้องกับการบรูณาการอย่างไร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2558 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2561)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 89.50
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา มีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อยู่ในระดับมากกว่าร้อยละ 90 ***รอสอบถามหลักสูตรเพื่อตรวจสอบตัวเลขอีกครั้ง***
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ การคงอยู่ของนักศึกษาในระดับสูงในช่วงปี 2560-2561 อาจเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น อาจารย์และระบบการสนับสนุนอาจมีบทบาทที่สำคัญในการสร้างความเข้มแข็งในการศึกษา นอกจากนี้ โครงสร้างการเรียนรู้ที่เน้นการให้สิ่งที่ตอบสนองความสนใจและความถนัดของนักศึกษา และใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือการเรียนรู้ที่ทันสมัย
อาจารย์อรรถยา มีผลจากการดำเนินการที่ดี

 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา  ตรวจสอบการกรอกข้อมูลในหัวข้อการตกออกระหว่างทาง เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลตารางการรับเข้าหน้า 19
อาจารย์อรรถยา ติดตามผลในปีต่อๆ ไปที่ไม่มีผลกระทบจากโควิด-19
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 44.40
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 63.20
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 57.90
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีแผนการติดตามและการทำความเข้าใจเรื่องการทำปริญญานิพนธ์เพื่อสำเร็จการศึกษา
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ การสำเร็จการศึกษาในแต่ละปีสามารถเห็นได้ว่าหลักสูตรมีการเพิ่มสัดส่วนของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ซึ่งแสดงถึงความเติบโตและพัฒนาทางการเรียนรู้ของนักศึกษา
อาจารย์อรรถยา มีปัญหาจากสถานการณ์โควิด-19 ที่ควบคุมไม่ได้ แนวทางเสริม ติดตามผลของนักศึกษาในปีต่อๆ ไป
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.50
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.52
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.55
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรฯ มีการปรับกระบวนการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ช่วยให้นักศึกษามีการฝึกทักษะและเข้าใจบทเรียนที่มากขึ้น โดยการปฐมนิเทศและกิจกรรมเตรียมความพร้อมช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในการใช้ชีวิตและการเรียนในวิทยาลัย นอกจากนี้ ความใกล้ชิดและระบบการประเมินในการให้คำปรึกษาทางวิชาการช่วยให้อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถสนับสนุนและแนะแนวให้นักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และหลักสูตรมีการส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในสังคม
อาจารย์อรรถยา
ผลความพึงพอใจดีขึ้นตามลำดับ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.67 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีระบบและกลไก การดำเนินงานระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกี่ยวกับการบริหารอาจารย์แสดงให้เห็นถึงค่าเฉลี่ยที่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ สิ่งนี้ช่วยเสริมความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างอาจารย์และผู้บริหารในการดำเนินงานหลักสูตรอย่างเป็นประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ อาจารย์ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีจุดมุ่งหมายถึงผลสัมฤทธิ์ โดยวัดผลจากการให้คำปรึกษาและคำแนะนำกับนักศึกษา ซึ่งช่วยในการให้คำแนะนำที่ตรงไปในทิศทางเดียวกันและช่วยให้นักศึกษาเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายและบูรณาการของวิชาที่เรียน มีการใช้ระบบ Notification ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและครบถ้วนในการประสานงานระหว่างอาจารย์ ดังนั้น อาจารย์ประจำสาขาสามารถทำงานได้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มความเที่ยงตรงในการตอบรับเอกสาร การส่งเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขา
อาจารย์อรรถยา มีการดำเนิกการที่ดี ควรพัฒนาให้ครบองค์ประกอบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา นื่องจากปี 2565 มีการปรับรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2 คน จึงควรมีการนำเสนอเรื่องการรับอาจารย์ใหม่
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีระบบและกลไก การดำเนินงานระบบการบริหารอาจารย์ ในทุกด้าน เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปในทางที่ดี
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรได้ปรับปรุงกลยุทธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของอาจารย์ โดยมุ่งหวังให้อาจารย์มีความรู้ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบและสามารถเข้ารอบวิทยาการสมัยใหม่ได้ อีกทั้งยังสามารถจัดการเรียนรู้ วิจัย และพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การปรับปรุงและส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพเป็นการขับเคลื่อนสาขาวิชาให้เข้าสู่การพัฒนาและประสิทธิภาพที่สูงขึ้นในการศึกษาและวิชาชีพด้านภาพยนตร์และโทรทัศน์ และมีผลดีต่อการเรียนรู้และการสร้างสรรค์ของนักศึกษาในอนาคต
อาจารย์อรรถยา มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ควร
พัฒนาให้ครบองค์ประกอบ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา หลักสูตรสามารถเพิ่มเติมผลจากการบริหารอาจารย์ ว่ามีผลเป็นอย่างไร มีการพัฒนาปรับปรุงอย่างไร
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีระบบและกลไก การดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ สาขาวิชาได้เฝ้าติดตามและประเมินผลดังนี้
1.สาขาวิชาตรวจสอบและติดตามผลของการพัฒนาตนเองของอาจารย์ตามแผนที่กำหนดไว้
2.อาจารย์และบุคลากรได้สร้างเครือข่ายกับองค์กรและบุคลากรภายนอกวิทยาลัย และได้รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนาตนเองในภาคหน้า
3.สาขาวิชาตรวจสอบผลการพัฒนาตนเองและผลงานที่ได้ผลผ่านการเรียนการสอน การทำงานวิจัย และการสร้างสรรค์
อาจารย์อรรถยา มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา หลักสูตรควรมีการนำเสนอแผนการพัฒนาบุคลากรรายบุคคลและมีสรุปผลจากการวางแผนพัฒนาว่าเป็นอย่างไร เพื่อเห็นผลเชิงรูปธรรม ระบุการพัฒนาของอาจารย์แต่ละท่านรายบุคคล
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เป็นไปตามเกณฑ์

ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรฯ มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกอยู่จำนวน 1 คน คือ ดร.ณชรต อิ่มณะรัญ ซึ่งเป็นร้อยละ 20 ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกทั้งหมด เมื่อเทียบคะแนนได้เท่ากับ 5.00 คะแนน ในปีการศึกษา 2565 หลักสูตรฯ มีการสร้างงานสร้างสรรค์จากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 3 ชิ้น อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกในสาขาวิชานี้ช่วยเสริมและยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน และสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักศึกษาในการเรียนรู้และการสร้างสรรค์งานภาพยนตร์และโทรทัศน์

ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 1.67
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 4
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 0
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 1
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 20.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 1.67
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา หลักสูตรส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 3
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 60.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา ตรวจสอบบทความวิจัยของ ผศ.ดร.ณชรต ที่มีการเขียนไว้ในข้อ 4.1 หน้า 42 เพราะไม่ได้นำมานับในข้อ 4.2
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 3.89 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรฯ มีการปรับรายชื่อของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในปี 2565 จำนวน 2 คน จึงทำให้อยู่ในร้อยละ 60 มีแนวโน้วลดลง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก อย่างต่อเนื่อง
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ จากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับอาจารย์ในหลักสูตร ทำให้เห็นว่าการบริหารหลักสูตรมีแนวโน้มการดำเนินงานที่ดีขึ้นในทุกด้าน เมื่อเปรียบเทียบกับผลความพึงพอใจของอาจารย์ในปีการศึกษา 2564 ถึง ปีการศึกษา 2565 พบว่ามีผลการประเมินที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
อาจารย์อรรถยา มีการพัฒนาที่ดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.30 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

21
17
80.95
คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อให้สอดคล้องกับรายวิชา และมีการต่อยอดเรื่องการบรูณาการรายวิชา เพื่อการประกวดทางวิชาชีพ และได้รับรางวัลระดับชาติ
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีการออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อให้สอดคล้องกับรายวิชา และมีการต่อยอดเรื่องการบรูณาการรายวิชา เพื่อการประกวดทางวิชาชีพ และได้รับรางวัลระดับชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา เพิ่มเติมการเขียนเรื่องการดำเนินงานในปี 2565 ว่ามีการดำเนินการอย่างไร จึงได้ผลตามที่รายงานมา
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ การสำรวจและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและอุตสาหกรรมในสาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ เป็นพื้นฐานสำคัญในการปรับปรุงหลักสูตร เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความพร้อมที่จะทำงานในสาขานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการของตลาดจริง โดยการอัพเดตเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และทักษะที่เป็นที่ต้องการในสภาวะปัจจุบันและอนาคต
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีระบบและกลไก มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร แต่ไม่พบการดำเนินงาน และผลที่เกิดขึ้น
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีความรู้และทักษะที่เป็นที่ต้องการในสภาวะปัจจุบัน โดยกำหนดผลลัพธ์เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการทำงานในสาขาวิชา นอกจากนี้ หลักสูตรให้ความสำคัญกับการสร้างนวัตกรรมและการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงในสาขาวิชา โดยเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเพื่อนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้ หลักสูตรมุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะส่วนบุคคลและความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง เพื่อให้สามารถรับบทบาทและทำหน้าที่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีระบบและกลไก การกำหนดผู้สอนและการดำเนินงานเรื่องการกำหนดผู้สอน
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ อาจารย์ผู้สอนได้มีการพัฒนาตนเองในวิชาชีพผ่านการอบรมและสัมมนาที่เกี่ยวข้อง ทำให้พวกเขามีความรู้และความสามารถที่เป็นที่ต้องการในการสอน และสามารถยกระดับคุณภาพการสอนได้อย่างดี ทั้งยังมีการเพิ่มกิจกรรมพิเศษและชั่วโมงเรียนพิเศษที่เกี่ยวข้องในรายวิชาเพื่อให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในสภาพจริง ทำให้พวกเขาได้ฝึกและมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา ตรวจสอบข้อมูลการรายงานของปี 2565 ในหน้า 81
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ ในการกำหนดผู้สอนในแต่ละวิชาควรพิจารณาความเหมาะสมของอาจารย์ในการสอนทางทฤษฎีและปฏิบัติ และการนำเอาอาจารย์พิเศษเข้ามาช่วยสอนในวิชาที่จำเป็น จะเป็นการดีต่อหลักสูตร
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา หลักสูตร มีระบบและกลไก การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 
ผศ.ดร.ดวงทิพย์
 คณาจารย์ได้จัดสรรเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการนำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเข้ามาในทุกรายวิชา ซึ่งช่วยให้นักศึกษามีมุมมองที่เชื่อมโยงกับเรื่องราวและแนวคิดที่เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทยและการอยู่ร่วมกันในสังคม นอกจากนี้ ยังมีการนำเสนอกิจกรรมบริการสังคมในรายวิชา เพื่อประยุกต์ปัญหาของสังคมเข้าสู่การเรียนรู้ ช่วยสร้างบทละครสะท้อนสังคม และส่งเสริมการบำรุงศิลปวัฒนธรรมในชุมชน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา สามารถเพิ่มเติมการอธิบาย เรื่องประเด็นในการบูรณาการในด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น 
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักศูตรมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา และการทวนสอบเป็นไปตามเกณฑ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรมีการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน หลักสูตรได้ดำเนินการวางแผน ติดตาม ทบทวนหลักสูตรในรอบปีที่ผ่านมา โดยได้มีการประชุม จำนวน 3 ครั้ง โดยที่อาจารย์ได้เข้าร่วมประชุมครบทุกคน และทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรได้ดำเนินการมีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบมคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ มีการจัดทำ มคอ. 3 และ มคอ.4 ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยได้กำหนดไว้ครบทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญาผศ.+ดร.ดวงทิพย์ จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ กำหนดให้หัวหน้าสาขาวิชาเป็นผู้จัดทำ มคอ.7 หลังสิ้นสุดปีการศึกษา ภายใน 60 วัน โดยวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ได้มีการควบคุมการจัดทำ มคอ. เพื่อตรวจสอบการดำเนินการ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 ร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 ร้อยละ 25 ของทุกรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2565 ทั้งหมดจำนวน 20 รายวิชา ทวนสอบจำนวน 5 วิชา คิดเป็นร้อยละ 25%
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ หลักสูตรมีผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.7 และมีการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนดังที่มีการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา หลักสูตรมีการปรับรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ ตามแผนพัฒนาตนเองของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มีการอบรม สัมมนา ปีละ 1  ครั้ง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา ตรวจสอบการอบรมของ อ.ชานนท์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนทุกคน ได้รับการพัฒนาวิชาการตามแผนพัฒนาตนเองของวิทยาลียนิเทศศาสตร์ เช่น การอบรม สัมมนา อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผศ.อรรถญา ไม่พบข้อมูลการรายงานของบุคคากรสายสนับสนุน
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ย 4.48 ระดับดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ย 4.51 ในระดีบดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ร้อยละของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด ร้อยละ100
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ย 4.37
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ย 4.41 ระดับดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 15 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 15
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.50 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.ดร.ดวงทิพย์ (ระบุ 4.000) หลักสูตรมีระบบการดำเนินการจัดการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีการบริหารจัดการที่สามารถสนับสนุนการผลิตผลงานของนักศึกษาได้ครอบคลุมทุกรายวิชา รวมทั้งผลิตงานภาพยนตร์สั้นส่งประกวดได้รับรางวัลสร้างชื่อเสียงให้สาขาวิชา วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ และมหาวิทยาลัยรังสิต จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จัดหาเพิ่มเติมทุกปีมีความเพียงพอต่อการใช้งานของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี โดยที่อาจารย์และนักศึกษามีความพึงพอใจต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา เพิ่มเติมระบบการดำเนินงานของหลักสูตร โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ผศ.อรรถญา เพิ่มเติมจำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา มหาวิทยาลัยควรจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการเติบโตของยอดนักศึกษา
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ผศ.อรรถญา ยังไม่พบผลที่เป็นรูปธรรมของกระบวนการในการปรับปรุง
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาโดยปรับปรุงรูปแบบการประชาสัมพันธ์หลักสูตรส่งผลให้ในปีการศึกษา 2565 มีจำนวนนักศึกษารับเข้าเกินกว่าเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนด และดำเนินการเรื่องการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาเพื่อให้เข้าใจหลักสูตรและมีอัตราคงอยู่ที่ดีขึ้น
  2. หลักสูตรมีการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา เพื่อเข้าสู่วิชาชีพในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ และการได้รับรางวัลในระดับชาติ
  3. มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. หลักสูตรควรมีกระบวนการส่งเสริมให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
  2. หลักสูตรส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตผลงานทางวิชาการ เพื่อผลักดันการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
  3. เก็บข้อมูลเพื่อการต่อยอดการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.51
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.50
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 3.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.61

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.51 4.51 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 3.67 - - 3.67 ระดับคุณภาพดี
4 3 3.30 - - 3.30 ระดับคุณภาพดี
5 4 3.00 3.67 - 3.50 ระดับคุณภาพดี
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 3.41 3.50 4.51 3.61 ระดับคุณภาพดี
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก