วันที่ประเมิน: 19 กรกฏาคม 2567, 09:30น.
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบทุกท่าน คือ 1. นางสาวรพีพิมล ไชยเสนะ 2. นายณชรต อิ่มณะรัญ 3. นายณัฐศรชัย พรเอี่ยม 4. นายพัทธ์ สุวรรณกุล 5. นายชานนท์ ประดิษฐ์ |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า) - ไม่มี
|
|
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามตารางแนวนอน ที่ประกอบด้วย ชื่อย่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา ชื่อสถาบัน และปีที่สำเร็จ รวมไปถึงระบุจำนวนผลงานวิชาการของแต่ละท่านในรอบ 5 ปี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ |
|
ระบุข้อคิดเห็น
|
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ระบุชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ผลงานวิชาการในรอบ 5 ปี หมดอายุในปีการศึกษาที่ตรวจ (ต้องเพิ่มผลงานชิ้นใหม่ในปีการศึกษาหน้า) - ไม่มี
|
|
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์และรายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร ตามตารางแนวนอนที่ประกอบด้วย ชื่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา ชื่อสถาบัน และปีที่สำเร็จ รวมไปถึงระบุจำนวนผลงานวิชาการของแต่ละท่าน ในรอบ 5 ปี |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
|
|
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์ประจำ และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนตามตารางแนวนอน ที่ประกอบด้วย ชื่อย่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
|
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ |
|
ข้อคิดเห็น
- ได้ระบุชื่ออาจารย์ผู้สอนที่เป็นอาจารย์พิเศษ และให้รายละเอียดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอนตามตารางแนวนอน ที่ประกอบด้วย ชื่อย่อปริญญาที่จบวุฒิสูงสุด สาขาวิชา ชื่อสถาบัน และปีที่สำเร็จ รวมทั้งให้ข้อมูลประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนให้ชัดเจน |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
เกณฑ์การประเมิน | ผลการประเมิน |
---|---|
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ข้อคิดเห็น
1.หลักสูตรได้เปิดดำเนินการเรียนการสอนในครั้งแรกตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1/ ปีการศึกษา 2558 โดยได้มีการปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนดดังนี้ครั้งที่ 1 ในปี 2560 ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี 2561 ครั้งที่ 2 ในปี 2563 ปรับปรุงเพื่อใช้ในปี 2564 2.จะครบกำหนด 5 ปี ในการปรับปรุงหลักสูตร ปีการศึกษา 2567 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1 |
---|
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2565 , 2/2565 และ S/2566 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 7 | 4.54 |
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด | 6 | |
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 | 4.54 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ ได้รับการประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยมีจุดเด่นที่ชัดเจนในหลายด้าน ด้านคุณธรรม จริยธรรม ได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดที่ 4.70 ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าบัณฑิตมีความซื่อสัตย์และมีจริยธรรมสูง ด้านความรู้ได้คะแนนเฉลี่ยที่ 4.54 อยู่ในระดับมาก แสดงถึงความรู้ที่เข้มแข็งในสาขาวิชาที่ศึกษา ด้านทักษะทางปัญญา ได้คะแนนเฉลี่ย 4.48 อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.42 อยู่ในระดับมากที่สุด แสดงถึงการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดีและมีความรับผิดชอบสูง สุดท้ายด้านการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข ได้คะแนนเฉลี่ย 4.40 อยู่ในระดับมาก ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลและใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน คะแนนเฉลี่ยโดยรวมของคุณภาพบัณฑิตอยู่ที่ 4.50 แสดงถึงคุณภาพบัณฑิตที่สูงในทุกด้าน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาแนวทางการเรียนการสอนในอนาคตระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- แม้ว่าหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์จะมีจุดเด่นในหลายด้าน แต่ยังมีข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุงเพื่อให้หลักสูตรมีคุณภาพยิ่งขึ้น แม้ด้านคุณธรรม จริยธรรมจะมีค่าเฉลี่ยสูงถึง 4.70 แต่ควรพัฒนาให้เกิดการฝึกฝนและปลูกฝังคุณธรรมที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ด้านความรู้ที่มีค่าเฉลี่ย 4.54 ควรเสริมด้วยการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในวงการจริง และเพิ่มการอบรมเชิงปฏิบัติการ ด้านทักษะทางปัญญาที่มีค่าเฉลี่ย 4.48 ควรเน้นการพัฒนาทักษะการวิจัยและการคิดเชิงสร้างสรรค์มากขึ้น ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่มีค่าเฉลี่ย 4.42 ควรมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมและการสร้างเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ ด้านการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่มีค่าเฉลี่ย 4.40 ควรพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือดิจิทัลและโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด | 7 | 5.00 |
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ | 6 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] | 4 | |
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] | 1 | |
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท | 0 | |
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร | 0 | |
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา | 0 | |
ร้อยละที่ได้ | 100.00 | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดจากการสำรวจการได้งานทำของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2566 จากบัณฑิตจำนวน 7 คน พบว่ามีบัณฑิตที่ได้งานทำทั้งหมด 7 คน แสดงให้เห็นถึงคุณภาพของหลักสูตรที่สามารถเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดงานได้อย่างดีเยี่ยม- แนวทางเสริมที่ควรพิจารณาคือการเพิ่มความร่วมมือกับองค์กรภายนอกเพื่อเปิดโอกาสให้บัณฑิตได้ฝึกงานและสร้างเครือข่ายในวงการภาพยนตร์และโทรทัศน์ การจัดการอบรมและเวิร์กช็อปเพิ่มเติมเพื่อเสริมทักษะที่จำเป็นในวิชาชีพ รวมถึงการส่งเสริมให้บัณฑิตมีโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถที่หลากหลายและสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมการทำงานที่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา - ควรจัดหาพื้นที่การหางานแก่ผู้เรียนหน่วยงานภายนอก เช่น Jobs Fair ควรจัดสำหรับผู้เรียนทุกชั้นปี ไม่เฉพาะที่จะจบการศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์มีจุดเด่นที่น่าสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องอัตราการเรียนต่อของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 2 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงถึง 96.18 และ 98.58 ตามลำดับ แสดงให้เห็นถึงความมั่นคง ใส่ใจของคณาจารย์ และความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีกระบวนการรับนักศึกษาที่ครอบคลุมและเป็นระบบ ซึ่งช่วยให้นักศึกษาที่เข้ามามีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ที่กำหนดและสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว การดำเนินงานที่โดดเด่นคือการรับสมัครผ่านระบบของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีการกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครอย่างชัดเจน อาทิ การสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า การมีสุขภาพแข็งแรง และไม่เคยต้องโทษจำคุก ทั้งนี้ทางสาขายังมีการประเมินผลการดำเนินการในปี 2565 เพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบการรับนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้วางแนวทางเสริมต่างๆ เช่น การกระจายข้อมูลผ่าน Facebook การนำเสนอผลงานนักศึกษาที่ได้รับรางวัล การจัดกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลในโรงเรียนมัธยม และการเผยแพร่ผลงานนักศึกษาผ่าน Social Media ในปี 2566 หลักสูตรได้มีการปรับปรุงระบบและกลไกตามข้อมูลย้อนกลับจากนักศึกษาใหม่ ทำให้ได้รับนักศึกษาที่มีคุณภาพมากขึ้นและตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ - หลักสูตรมีแนวทางเข้าถึงผู้สนใจเข้าศึกษาในหลักสูตร ควรสร้างกรบวนการแลกเปลี่ยนเรียรู้กับหลักสูตรอื่นๆเพื่อจะได้เสริมแนวทางการรับนักศึกษาและบูรณาการทรัพยากรร่วมกัน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จุดที่ควรพัฒนาคืออัตราการเรียนต่อจากชั้นปีที่ 3 ไปยังชั้นปีที่ 4 ที่มีค่าเฉลี่ยเพียง 38.47 เนื่องจากนักศึกษาจำนวนมากเลือกที่จะลงทะเบียนเรียนช่วงซัมเมอร์และจบการศึกษาในเวลา 3 ปีครึ่ง เพื่อแก้ไขปัญหานี้ หลักสูตรควรเพิ่มการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น เพจสาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงการให้ข้อมูลและคำแนะนำจากรุ่นพี่และศิษย์เก่า เพื่อสร้างความเข้าใจและความมั่นใจให้แก่นักศึกษา นอกจากนี้ควรจัดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นวิทยากรในโครงการฝึกปฏิบัติวิชาชีพร่วมกับวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ เพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากยิ่งขึ้น การดำเนินการเหล่านี้จะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและการรับรู้ที่ดีต่อหลักสูตร และช่วยเพิ่มอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาในปีการศึกษาต่อไปในแง่ของการรับนักศึกษา พบว่าหลักสูตรฯ มีการดำเนินงานระบบและกลไกการรับสมัครที่ผ่านระบบของมหาวิทยาลัย และการกำหนดคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินพบว่าจำนวนนักศึกษาแรกเข้าปี 2565 เท่าเดิม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการประชาสัมพันธ์ที่ยังไม่เพียงพอ แนวทางปรับปรุงที่เสนอคือ การกระจายข้อมูลผ่าน Facebook เกี่ยวกับกิจกรรมของสาขา การนำเสนอผลงานนักศึกษาที่ได้รับรางวัล การจัดกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลตามโรงเรียนมัธยม และการเผยแพร่ผลงานทาง Social Media เพื่อเพิ่มการรับรู้และความสนใจในการสมัครเรียน ในปี 2566 หลักสูตรได้ปรับปรุงระบบการรับสมัคร โดยใช้ข้อมูลย้อนกลับจากนักศึกษาใหม่ สร้างคู่มือโครงสร้างหลักสูตร ปรับปรุงรายละเอียดการโอนย้ายนักศึกษา และเพิ่มช่องทางการติดต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ผลจากการปรับปรุงทำให้จำนวนนักศึกษาใหม่ในปี 2566 เพิ่มขึ้นถึง 105 คน ซึ่งเกินเป้าหมายที่กำหนดไว้และเพิ่มจากปีการศึกษาที่ผ่านมา ถือเป็นผลลัพธ์ที่ดีจากการดำเนินการพัฒนาปรับปรุงระบบการรับสมัครนักศึกษา - การรับนักศึกษา : ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรควรกำหนดคุณสมบัติของนักศึกษาที่สอดคล้องกับลักษณะธรรมชาติของหลักสูตร [นอกเหนือจากเกณฑ์มหาวิทยาลัย เช่น เกณฑ์การรับนักศึกษาที่ประกาศรับสะท้อนคุณภาพของนักศึกษาที่เหมาะสมกับหลักสูตรที่เปิดสอนและสอดคล้องกับระดับของหลักสูตร มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร เช่น GPA ความรู้พื้นฐานในสาขา ภาษาต่างประเทศ หรือคุณสมบัติเฉพาะอื่นๆ ] การกำหนดเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกต้องมีความโปร่งใสชัดเจน และสอดคล้องกับคุณสมบัติของนักศึกษาที่กำหนดในหลักสูตร มีเครื่องมือหรือวิธีการคัดนักศึกษาให้ได้นักศึกษาที่มีความพร้อม ตามคู่มือหน้า 213 ทั้งนี้ หลักสูตรควรมีการทบทวนระบบกลไกการดำเนินงานด้านการรับนักศึกษา มีการปรับปรุงเกณฑ์การรับนักศึกษาเพื่อให้หลักสูตรสามารถรับสมัครผู้เรียนที่มีความพร้อมเข้าศึกษาในหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ส่งผลไปที่ประเด็นการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ หลักสูตรมีการควบคุมอัตราส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์หรือไม่ หน้า 43 การประเมินกระบวนการ (C) ผลการประเมิน ควรนำเสนอในรูปตารางที่เปรียบเทียบในแต่ละปีการศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลการพัฒนา/การปรับปรุงระบบและกลไก และมีหลายข้อมูลที่ประเมินได้เช่น 1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ปชส.ตามช่องทางต่างๆ หรือโครงการ 2. จำนวนนศ.ที่เข้ามาในปี 2566 ได้รับการปชส.รูปแบบใด 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ปชส.ตามช่องทางต่างๆ หรือโครงการ 4. ผลการประเมินการนำระบบและกลไกไปใช้โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ประจำ/อาจารย์ผู้สอน การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน(A) จากการดำเนินการในปี 2564 และ 2565 พบว่า มีปัญหาในการดำเนินการอย่างไรบ้าง และในปีการศึกษา 2566 จึงปรับปรุงกระบวนการ ผลลัพธ์เป็นอย่างไร (เปรียบเทียบแนวโน้ม 3 ปีการศึกษา) |
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ ได้เตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ก่อนเข้าศึกษาใน 3 ด้านที่สำคัญ ได้แก่ ระบบแนะแนวนักศึกษา ระบบพี่เลี้ยง และระบบออนไลน์ โดยการแนะแนวจะช่วยแนะนำแนวทางการใช้ชีวิตและการเรียนในมหาวิทยาลัยอย่างเป็นระบบ มีรุ่นพี่และอาจารย์คอยให้คำแนะนำ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในสาขาวิชาและการเรียนที่มีการปฏิบัติสูง ส่วนระบบพี่เลี้ยงจะช่วยสร้างเครือข่ายการดูแลระหว่างนักศึกษารุ่นพี่และรุ่นน้อง ทำให้เกิดความคุ้นเคยและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน ทั้งยังมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การออกกองถ่ายทำภาพยนตร์ เพื่อสร้างความคุ้นเคยและแนะแนวการเรียนในบรรยากาศที่เป็นกันเอง ส่วนระบบออนไลน์มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเตรียมความพร้อม เนื่องจากนักศึกษาปัจจุบันนิยมใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการรับข่าวสาร ทางหลักสูตรจึงใช้ช่องทางนี้เพื่อสื่อสารและให้ข้อมูลแก่นักศึกษาใหม่ได้สะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีการปฐมนิเทศและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาใหม่เข้าใจการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย รู้จักคณาจารย์และบุคลากร ตลอดจนมีการติดตามและประเมินผลการดำเนินการในแต่ละปีเพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้คืออัตราการคงอยู่ของนักศึกษาที่มีแนวโน้มดีขึ้น นักศึกษาใหม่สามารถวางแผนการเรียนและลงทะเบียนเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้- หลักสูตรควรรักษามาตราฐานในแนวทางที่หลักสูตรกำลังดำเนินการและควรพัฒนาให้ทันสมัยสอดคล้องกับยุคสมัยของผู้เรียน ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์มีหลายจุดที่ต้องการพัฒนาเพื่อให้การเตรียมความพร้อมมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้านแรกคือระบบแนะแนวนักศึกษา แม้ว่ามีการแนะนำแนวทางการใช้ชีวิตและการเรียนในมหาวิทยาลัยอย่างครบถ้วน แต่การแนะแนวอาจจะยังขาดความเฉพาะเจาะจงในบางเรื่อง ดังนั้น ควรปรับปรุงให้มีการให้คำแนะนำที่เจาะจงและสอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษาใหม่ในสาขาวิชามากขึ้น ด้านที่สองคือระบบพี่เลี้ยง แม้จะมีการสร้างเครือข่ายการดูแลระหว่างนักศึกษารุ่นพี่และรุ่นน้อง จึงควรมีการจัดกิจกรรมที่เชื่อมโยงและสร้างความสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ และเพิ่มการใช้ระบบออนไลน์ในการดูแลนักศึกษา สุดท้ายควรเพิ่มการจัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาใหม่ได้ทำงานร่วมกับรุ่นพี่เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาใหม่มีความพร้อมและมั่นใจในการเรียนรู้ในหลักสูตรอย่างเต็มที่- ระบบแนะแนวนักศึกษา ได้กำหนดวัตถุประสงค์หรือ KPI อย่างไร ปรับปรุงอะไรจากปีการศึกษาที่แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร ดีขึ้นหรือไม่เมื่อเทียบกับปีการศึกษาก่อนหน้า - ระบบพี่เลี้ยง ได้กำหนดวัตถุประสงค์หรือ KPI อย่างไร ปรับปรุงอะไรจากปีการศึกษาที่แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร ดีขึ้นหรือไม่เมื่อเทียบกับปีการศึกษาก่อนหน้า - ระบบออนไลน์ ได้กำหนดวัตถุประสงค์หรือ KPI อย่างไร ปรับปรุงอะไรจากปีการศึกษาที่แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร ดีขึ้นหรือไม่เมื่อเทียบกับปีการศึกษาก่อนหน้า |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรีในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีระบบและกลไกที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งยังมีระบบการควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนว มีการปรับปรุงและพัฒนาให้เข้ากับสภาพการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นจุดเด่นที่ช่วยให้นักศึกษาได้รับการสนับสนุนและบริการที่ดีในการศึกษาและชีวิตการศึกษาที่เต็มที่- มีช่องทางในการสื่อสารกับนักศึกษาอย่างเข้าถึงและครอบคลุม ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- มีข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุงได้แก่1. ควรพัฒนาการประสานงานและสื่อสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การใช้เทคโนโลยีในการติดต่อและนัดหมายออนไลน์เพื่อลดความล่าช้าและความสับสนที่อาจเกิดขึ้น 2. สามารถพัฒนากระบวนการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อเป็นการสนับสนุนและพัฒนาคุณภาพการให้คำปรึกษาที่มีความสอดคล้องกับความต้องการและสภาพการณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้น |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยทำการปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอนอย่างมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษาให้เข้ากับความต้องการของตลาดแรงงานในศตวรรษที่ 21 อย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ในปีการศึกษา 2566 สาขาวิชาการเขียนบทและกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ได้มีการพัฒนาและปรับปรุงระบบเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในด้านการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ของชาติและมหาวิทยาลัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลลัพธ์จากการพัฒนานี้ ทำให้สาขาวิชาการเขียนบทและกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลงานสร้างสรรค์ที่ประกวดได้รางวัลอย่างเป็นที่ประจักษ์ นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าใจและนำไปประกอบการสมัครงานในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ- หลักสูตรได้บูรณาการพื้นที่การเรียนร่วมกับองค์กร หน่วยงานทั้งรัฐและเอกชน สร้างโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ยังควรมีการพัฒนา ส่งเสริม และปรับปรุงกระบวนการในการสนับสนุนนักศึกษาให้มีทักษะการเขียนบทความวิจัยที่มีคุณภาพและการนำเสนอผลงานที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 88.46 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การคงอยู่ของนักศึกษาในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์มีจุดเด่นที่สำคัญที่สนับสนุนให้นักศึกษาทุกคนสามารถคงอยู่ในหลักสูตรได้ดังนี้ คือ การตอบสนองต่อความต้องการของนักศึกษาที่มีปัญหาส่วนตัวและเศรษฐกิจ โดยมีการให้คำปรึกษาและการสนับสนุนในการเรียนที่เน้นการลงทะเบียนและการเรียนในห้องเรียน นอกจากนี้ มีการประสานงานกับนักศึกษาในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น การติดตามความคืบหน้าการเรียนการสอนและการให้ข้อมูลผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษาได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเข้าถึงทันทีทั้งนี้ การคงอยู่ของนักศึกษายังได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในการให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีการจัดตารางสอนและการนัดหมายเพื่อเข้าพบอาจารย์อย่างเป็นระบบ ทำให้นักศึกษาได้รับการดูแลและช่วยเหลืออย่างเหมาะสม เช่นเดียวกับการติดตามและประสานงานในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาที่มีปัญหาสุขภาพจิต นอกจากนี้ ยังมีการให้คำแนะนำในการดำเนินการปริญญานิพนธ์เพื่อให้นักศึกษาสามารถประสบความสำเร็จในการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- แนวทางที่สามารถนำมาปรับปรุงได้ คือ การพัฒนากิจกรรมที่สนับสนุนการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาในการทำงานในสายงานที่เกี่ยวข้อง การเสริมสร้างแหล่งที่มาของทุนการศึกษาเพื่อช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหาทางการเงิน และการเสริมสร้างการช่วยเหลือในการวางแผนการใช้เวลาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถประสบความสำเร็จในการศึกษาและการพัฒนาองค์ความรู้ได้อย่างเต็มที่ |
|
การสำเร็จการศึกษา |
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 57.89
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 57.89
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 65.38 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา |
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.52
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.55
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.57
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริมของความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษาในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ ในปีการศึกษา 2565 และ 2566 แสดงให้เห็นถึงความพึงพอใจที่มีการปรับปรุงและพัฒนาที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาได้ นั่นคือ ผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษามีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับความต้องการของนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการรับฟังและการให้คำแนะนำที่มีประสิทธิภาพ และการใช้ช่องทางที่หลากหลาย เช่น การใช้แอพพลิเคชั่น Line ในการร้องเรียนและควบคุมเรื่องร้องเรียนออนไลน์ ทำให้นักศึกษามีความสะดวกในการเรียนรู้และการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพอย่างมากขึ้นในปีการศึกษา 2566ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรมีแนวทางให้มีการติดตามและประเมินผลเพื่อปรับปรุงการจัดการในอนาคตอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักศึกษาได้รับการช่วยเหลือทันทีและได้รับคำแนะนำที่เป็นประโยชน์จากอาจารย์ที่เกี่ยวข้องอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ยังควรเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการจัดการข้อร้องเรียน เช่น การเผยแพร่ขั้นตอนการจัดการและผลการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนให้แก่นักศึกษาทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นและความพึงพอใจในกระบวนการนี้อย่างมากขึ้นในอนาคต |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- เพิ่ม ผลการดำเนินงาน และแนวโน้มผลการดำเนินงานเกี่ยวกับอัตราการสำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ของนักศึกษา ปีการศึกษา 2564 - 2566 |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริมของระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ คือ มีการทำงานตามขั้นตอนและกลไกที่มีอยู่ โดยระบบนี้มีความเป็นระบบและเป็นระเบียบที่ชัดเจนในการดำเนินการ ซึ่งประกอบด้วยการเสนอความประสงค์ของการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อคณบดีผ่านทางรองคณบดีฝ่ายวิชาการ เพื่อพิจารณาและดำเนินการรับสมัครอาจารย์ตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ ซึ่งการประสานงานกับสำนักงานบุคคลเป็นสำคัญเพื่อการประกาศรับสมัครและการจัดการคุณสมบัติของผู้สมัครอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ การแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและการพิจารณาคัดเลือกผู้เหมาะสม จะมีการดำเนินการตามเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การทำข้อสอบเขียน การทดสอบการสอน และการสัมภาษณ์ ซึ่งการบรรจุบุคคลที่ผ่านการคัดเลือกให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ จะต้องผ่านการอนุมัติจากคณบดีผ่านทางรองคณบดีฝ่ายวิชาการและสำนักงานบุคคลของมหาวิทยาลัย ดังนั้น หลักสูตรนี้มีระบบที่เป็นเป็นระเบียบและมีความเป็นมาตรฐานในการจัดการและพัฒนาคุณภาพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างต่อเนื่องในทุกปีการศึกษา ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การพัฒนาและปรับปรุงระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์มีความสำคัญอย่างมากในการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของการศึกษาที่มหาวิทยาลัย ระบบปัจจุบันนี้ ได้ถูกออกแบบเพื่อให้มีขั้นตอนการรับและแต่งตั้งที่ชัดเจนและโปร่งใส เช่น การนำเสนอความประสงค์ขอรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อคณบดีผ่านผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ, การประสานงานกับสำนักงานบุคคลเพื่อประกาศรับสมัครอาจารย์, และการแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกตามขั้นตอนที่กำหนด การคัดเลือกอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่เป็นไปตามมาตรฐานที่หลักสูตรตั้งไว้เพื่อให้มีความเหมาะสมและประสิทธิภาพในการสอนและทำงานในสาขานี้ ดังนั้น ในปีการศึกษา 2566 จึงควรมีการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ และหลักสูตรก็ยังต้องดำเนินการทบทวนและพัฒนาระบบตามแผนที่มีอยู่เพื่อเตรียมพร้อมในกรณีที่จำเป็นต้องรับอาจารย์ใหม่ในอนาคต |
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริมของระบบการบริหารอาจารย์ในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีความโดดเด่น โดยมีการจัดการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีหัวหน้าสาขาเป็นประธานการพิจารณาภาระงานต่าง ๆ ของอาจารย์ และการบริหารที่แบ่งเป็นด้านต่าง ๆ เช่น ภาระงานสอนตามเกณฑ์ที่กำหนด การให้คำปรึกษาที่เป็นไปตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย และการทำผลงานวิชาการตามนโยบายของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ เป็นต้น มีการปรับปรุงการดำเนินงานมุ่งเน้นที่การเพิ่มทักษะทางด้านสื่อดิจิทัลและการสื่อสารออนไลน์ให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตร ซึ่งประเมินผลด้านการบริหารอาจารย์แต่ละด้านช่วงปลายปีการศึกษา และมีการจัดการประชุมอาจารย์เพื่อพิจารณาและประเมินผลอย่างเป็นระบบ อนึ่ง ด้านการดำเนินงานการบริหารอาจารย์ได้มีการตรวจสอบภาระงานสอนและการให้คำปรึกษาตามที่กำหนด และมีการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรโดยมุ่งเน้นที่ผลงานวิชาการและทักษะทางวิชาชีพ ซึ่งได้รับการประเมินและสนับสนุนจากวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ ในทำนองเดียวกัน การดำเนินงานในด้านการทำผลงานทางวิชาการและการบริการวิชาการยังได้รับการพัฒนาต่อยอดอย่างต่อเนื่อง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การจัดการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์มีความสำคัญอย่างมากเพื่อให้อาจารย์มีคุณภาพที่ดีทั้งในด้านความรู้และความสามารถทางวิชาการ การที่หลักสูตรตั้งใจให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดทำแผนพัฒนาตนเองทุกปีการศึกษาเป็นการสะท้อนถึงความใส่ใจในการพัฒนาและขยายความรู้ของอาจารย์ที่เป็นไปในทิศทางที่เป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ และเชื่อมโยงกับการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาอย่างมีเป้าหมาย การอำนวยความสะดวกในการเข้าร่วมอบรม สัมมนา และกิจกรรมเชิงปฏิบัติอื่นๆ เป็นการสนับสนุนที่สำคัญที่หลักสูตรมุ่งมั่นในการให้บริการแก่อาจารย์ ทำให้อาจารย์สามารถพัฒนาทักษะทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และมีผลงานทางวิชาการและงานสร้างสรรค์ที่สร้างเสริมชื่อเสียงให้กับหลักสูตรได้ ซึ่งการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาของอาจารย์ทุกคนจากการประเมินตนเองและการประเมินจากหัวหน้าสาขายังเป็นกระบวนการที่ช่วยให้หลักสูตรได้รับข้อมูลที่มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป นอกจากนี้ การสื่อสารและการแจ้งข่าวสารผ่านกลุ่มไลน์ของอาจารย์ประจำหลักสูตรยังเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้ทุกคนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาและการอบรมได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความร่วมมือและการพัฒนาที่ต่อเนื่องในระดับหลักสูตร ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- หลักสูตรควรมุ่งเน้นการพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้จัดทำแผนพัฒนาตนเองทุกปีการศึกษาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสนับสนุนให้อาจารย์ได้พัฒนาและขยายความรู้ในทิศทางที่เป้าหมาย เช่น การตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นใหม่ๆ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 1 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 20.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- เพื่อพัฒนาคุณภาพของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ พบว่า จากข้อมูลการสำรวจพบว่า ร้อยละ 20 ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกเพียง 20% เทียบกับเกณฑ์คะแนนเต็ม 5 คะแนน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการเพิ่มจำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิสูงขึ้น เพื่อเสริมสร้างคุณภาพของการสอนและวิชาชีพให้เหมาะสมในยุคปัจจุบันระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรส่งเสริมการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะให้แก่อาจารย์เพื่อให้สามารถทำงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงการติดตามและประเมินผลด้านการพัฒนาอาจารย์จากแผนการพัฒนาตนเองของหลักสูต รเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของอาจารย์ทุกคนในระดับหลักสูตรนี้ |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | 1.67 |
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] | 4 | |
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ | 1 | |
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ | 0 | |
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ | 0 | |
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] | 1 | |
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] | 20.00 | |
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 | 1.67 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- เมื่อพิจารณาจากข้อมูลเกี่ยวกับร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ พบว่า มีความจำเป็นในการพัฒนาและปรับปรุงอย่างเร่งด่วน นั่นคือ จากการสำรวจพบว่าร้อยละ 80 ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่ดำรงตำแหน่งเทางวิชาการ ดังนั้น จำเป็นต้องพัฒนาและมีแผนการส่งเสริมและสนับสนุนให้กับอาจารย์ให้มีโอกาสในการพัฒนาและสร้างผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง เพื่อสามารถขอกำหนดการดำรงตำแหน่างทางวิชาการได้ต่อไป |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 0 | 0 | 5 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 5.00 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด | 5 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] | 100.00 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- แม้ว่าจะมีภาระงานที่เกินกว่าที่มหวิทยาลัยกำหนด อาจารย์ทุกท่านยังมุ่งเน้นในการพัฒนาตนเองระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ควรจัดทำแผนการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้กับอาจารย์มีโอกาสในการพัฒนาและสร้างผลงานอย่างต่อเนื่อง |
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ |
---|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | |
---|---|
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 80.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 100.00
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2566
ร้อยละ 100.00 |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จากข้อ 4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ในปีการศึกษา 2566 มีจำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ได้รับการตีพิมพ์ จำนวน 0 ชิ้น ดังนั้น ควรส่งเสริมให้กับอาจารย์มีโอกาสในการพัฒนาและสร้างผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง |
|
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร |
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.93
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.95
ความพึงพอใจ ในปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 4.97
|
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การบริหารจัดการหลักสูตร ได้รับความพึงพอใจจากผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ สูงที่สุดโดยเฉลี่ยคะแนน 5.00 ในปี 2566 ซึ่งสะท้อนถึงการปรับปรุงและการจัดการที่มีประสิทธิภาพในการสนับสนุนอาจารย์ให้มีคุณภาพที่ดีในการสอน วิจัย และการพัฒนาทางวิชาการ นอกจากนี้ ด้านการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์เพื่อให้พร้อมทั้งด้านความรู้และทักษะในการจัดการเรียนการสอนก็ได้รับความพึงพอใจสูงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นที่ชัดเจนว่า การบริหารหลักสูตรในสาขานี้มีความสำเร็จและความพึงพอใจจากอาจารย์ที่รับผิดชอบในทุกระดับ ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- สาขาการเขียนบทและกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ที่ออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีจุดเด่นที่เน้นการทำงานร่วมกับสถานประกอบการเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จริงในการทำงาน การออกแบบหลักสูตรได้มีการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้รับและออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยมีการหารือกับนักวิชาการและนักวิชาชีพด้านภาพยนตร์เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของร่างหลักสูตร นอกจากนี้ยังมีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและผู้ประกอบการเกี่ยวกับความต้องการของตลาดแรงงานทางด้านภาพยนตร์และโทรทัศน์ ซึ่งนำมาใช้ในการปรับปรุงเนื้อหาของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้หลักสูตรยังได้เพิ่มรายวิชาที่เน้นการบูรณาการสร้างสรรค์บทภาพยนตร์ร่วมกับบริษัทเนรมิตรหนัง ฟิล์ม จำกัด และมีการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานมากที่สุด ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาในปีการศึกษา 2566 พบว่ามีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าปีการศึกษาก่อนหน้า ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของหลักสูตรในการตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- การปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานเป็นสิ่งจำเป็น ควรเพิ่มการสอบถามความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียเช่น ผู้ใช้บัณฑิต นักศึกษาปัจจุบัน ผู้ประกอบการ และศิษย์เก่า เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรจัดขึ้นบ่อยครั้งเพื่อประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน พร้อมกับเสริมสร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดทำรายวิชาและกิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติงานจริง การเพิ่มรายวิชาที่บูรณาการกับองค์กรภายนอกจะช่วยให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานได้ดีขึ้น อีกทั้งการประเมินผลและการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ควรให้ความสำคัญเพื่อปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพและทันสมัยอยู่เสมอ- ธำรงและสร้างพื้นที่แก่ผู้เรียนให้มีโอกาสในการออกแบบการเรียนรู้ให้มากขึ้น - หลักสูตรรายงานระบบกลไก การดำเนินงาน การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน แต่ไม่พบมีผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม เช่น ผลจากการปรับปรุงรายวิชาในหลักสูตรส่งผลต่อผู้เรียนอย่างไร เป็นต้น |
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จุดเด่นที่สำคัญของสาขาการเขียนบทและกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ พบว่าสามารถพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่ครบถ้วนและตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน หลักสูตรนี้มีการวางระบบและกลไกที่ชัดเจน โดยเริ่มจากการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบเพื่อวางแนวทางการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ และทำการประเมินผลการดำเนินงานในแต่ละปีการศึกษา สำหรับปีการศึกษา 2566 หลักสูตรได้ประสบความสำเร็จในการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้านในแต่ละชั้นปี เช่น นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ได้รับการปลูกฝังความมีคุณธรรมและจริยธรรม (Learner Person) ชั้นปีที่ 2 และ 3 ได้รับการพัฒนาทักษะในการผลิตภาพยนตร์และละครซีรีส์ (Innovative Co-Creator) และชั้นปีที่ 4 สามารถนำความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้กับหน่วยงานจริง (Active Citizen) การดำเนินการนี้ส่งผลให้นักศึกษามีผลการเรียนดี และมีความพึงพอใจสูงต่อหลักสูตร นอกจากนี้ ทางหลักสูตรยังมีแผนการปรับปรุงและเพิ่มรายวิชาที่มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ 3 ด้านอย่างชัดเจนในปีการศึกษา 2567 เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตรได้ดียิ่งขึ้นระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จากการประเมินผลพบว่า นักศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ มีเกรดเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ถึงร้อยละ 80.00 และมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรในระดับมาก โดยเฉพาะในเรื่องการสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ ทักษะ และจริยธรรมในวิชาชีพ อย่างไรก็ตาม หลักสูตรฯ ควรมีการปรับปรุงในส่วนของการนำแนวทางการดำเนินการดังกล่าวไปใช้ในรายวิชาอื่น ๆ เพิ่มเติมในปีการศึกษา 2567 เพื่อเตรียมความพร้อมในการปรับปรุงหลักสูตรในปี 2568 และเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น- หลักสูตรรายงานระบบกลไก การดำเนินงาน การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน แต่ไม่พบมีผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม เช่น ผลจากการกำหนดผลลัพธ์ผู้เรียนฯ ส่งผลต่อผู้เรียนอย่างไร เป็นต้น |
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- จุดเด่นที่สำคัญของสาขาวิชาการเขียนบทและกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ พบว่า หลักสูตรมีระบบและกลไกที่ชัดเจนในการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยและเชื่อมโยงกับการปฏิบัติจริง โดยการจัดการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนเป็นประจำทุกภาคการศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลใหม่ ๆ ที่เกี่ยวกับหลักสูตร นอกจากนี้ยังมีการทบทวนและปรับปรุงเนื้อหารายวิชาเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและความก้าวหน้าทางวิชาการ ตัวอย่างเช่น การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การค้นคว้าแบบออนไลน์ การใช้กิจกรรมที่หลากหลาย หรือการมอบหมายโครงงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ใหม่ ๆ และทักษะด้านวิชาชีพเพิ่มขึ้น การดำเนินการดังกล่าวไม่เพียงแต่ทำให้นักศึกษาได้รับการศึกษาที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน แต่ยังช่วยให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. แม้หลักสูตรจะมีการจัดการประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและเจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนเป็นประจำทุกภาคการศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรวบรวมข้อมูลใหม่ ๆ เพื่อนำมาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย แต่ยังคงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการนำข้อมูลที่ได้จากการประชุมมาใช้จริงในห้องเรียน2. จากการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการใหม่ ๆ เช่น การค้นคว้าแบบออนไลน์ การใช้กิจกรรมที่หลากหลาย หรือการมอบหมายโครงงาน แม้จะเป็นสิ่งที่ดี แต่การนำมาใช้จริงในห้องเรียนต้องมีการติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่านักศึกษาได้รับความรู้และทักษะตามที่คาดหวัง 3. ควรมีการพัฒนาทักษะและความรู้ของอาจารย์ผู้สอนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับเนื้อหาที่ปรับปรุงใหม่ รวมถึงการสร้างระบบสนับสนุนการเรียนรู้ที่เข้มแข็งเพื่อนักศึกษา อาทิ การจัดเวิร์กช็อปหรือกิจกรรมพิเศษที่เสริมสร้างทักษะวิชาชีพและการประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์จริง ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาได้พัฒนาความรู้และทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและในวิชาชีพ |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การกำหนดผู้สอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- สาขาวิชาการเขียนบทและกำกับภาพยนตร์และโทรทัศน์ของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มีจุดเด่นที่น่าสนใจหลายประการที่ส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและทันสมัย คือ การกำหนดผู้สอนให้เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ซึ่งหลักสูตรได้มีการประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยนิเทศศาสตร์เป็นประจำทุกปีการศึกษา โดยในปีการศึกษา 2566 การประเมินผลการเรียนการสอนของนักศึกษาเพิ่มขึ้นถึง 4.30 เมื่อเทียบกับปีก่อนที่ 3.85 และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 รวมถึงบัณฑิตใหม่ต่างพึงพอใจในระดับมากที่สุดในด้านอาจารย์ผู้สอน ด้วยค่าเฉลี่ย 4.47 ซึ่งสะท้อนถึงความสำเร็จในการวางระบบผู้สอนที่มีประสิทธิภาพระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ข้อที่ควรพัฒนาคือการจัดการภาระงานการสอนของอาจารย์ เนื่องจากบางครั้งอาจมีอาจารย์ที่มีภาระงานการสอนมากเกินไป ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพการสอนและการเตรียมการสอน ดังนั้น แนวทางปรับปรุงคือการพิจารณาภาระงานการสอนของอาจารย์ให้มีความสมดุลมากขึ้น โดยมีการประเมินและปรับปรุงภาระงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้อาจารย์มีเวลาในการเตรียมการสอนและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มที่- หลักสูตรควรเรียนรู้ เรื่อง ชุมชนครูเพื่อศิษย์ (Proffessional Learning Community: PLC) เพื่อนำมาบูรณาการการเรียนรู้ในหลักสูตรให้เหมาะสมทั้งผู้เรียนและบุคลากร |
||
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- หลักสูตรมีการวางแผนการบูรณาการรายวิชาอย่างเป็นระบบ โดยการจัดประชุมอาจารย์เพื่อวางแผนการบูรณาการในด้านต่าง ๆ ซึ่งช่วยให้การเรียนการสอนมีความหลากหลายและตอบสนองความต้องการของนักศึกษา นอกจากนี้ การจัดการเรียนการสอนที่ผนวกกับการวิจัย ช่วยเสริมสร้างทักษะการค้นคว้าและการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ตัวอย่างเช่น การอบรมและเสวนาการถ่ายทำซิตคอมในรายวิชา FWD131 ซึ่งเป็นการบูรณาการกับสถาบันเทคโนโลยีปทุมวันและวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะในด้านการวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การบริการวิชาการทางสังคมในรายวิชา FWD221, FWD231 และ FWD331 ยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเขียนบทและการกำกับภาพยนตร์ผ่านการจัดอบรมและโครงการเสวนา ที่สำคัญ การบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยในรายวิชา FWD111 และ FWD221 ช่วยส่งเสริมการสืบสานวัฒนธรรมไทยและการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องแนวทางเสริมที่ควรนำมาใช้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนคือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนและการประเมินผล รวมถึงการเพิ่มโอกาสในการเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาในเวทีระดับชาติและนานาชาติ เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และสร้างความภูมิใจในผลงานของตนเอง ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- จุดที่ควรพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสมบูรณ์ของการเรียนการสอน คือ การประสานงานและการวางแผนร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้มีความครอบคลุมและเป็นระบบมากขึ้น โดยสามารถจัดการประชุมและการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างทักษะและความรู้ในการบูรณาการด้านต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพนอกจากนี้ การกำหนดรายวิชาที่บูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยควรมีการเลือกสรรอย่างละเอียดเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายและความต้องการของนักศึกษา - หลักสูตรรายงานระบบกลไก การดำเนินงาน การปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน แต่ไม่พบมีผลจากการปรับปรุงที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม เช่น ผลจากการบูรณาการรายวิชากับทั้ง 3 พันธกิจ เป็นไปตามเป้าหมายที่หลักสูตรกำหนดหรือไม่ และมีผลการดำเนินงานดีขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมาอย่างไร เป็นต้น |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง | ||
---|---|---|
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
1. หลักสูตรได้นำเสนอระบบและกลไกการประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยการจัดประชุมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อหารือเกี่ยวกับวิธีการประเมินผลในทุกรายวิชา การแจ้งเกณฑ์การประเมินและการกำหนดคะแนนเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้นักศึกษาได้รับความเข้าใจและมีแผนการเรียนรู้ที่ชัดเจน เช่นการแจ้งเกณฑ์การประเมินในแต่ละรายวิชาและวิธีการที่ใช้ในการเก็บคะแนนต่าง ๆ2. การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษามีการวางแผนและดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนด ด้วยการประเมินผลการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ทั้งคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาส่วนตัวและอาชีพในอนาคต ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีระบบและกลไกการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยที่การประเมินผลการเรียนรู้ถูกแบ่งออกเป็น 5 ด้านตามที่ระบุไว้ใน มคอ. 2 ซึ่งรวมถึงด้านคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรฯ มีการตรวจสอบผลความพึงพอใจของการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านโดยต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงการสอนและการเรียนให้เหมาะสมยิ่งขึ้นระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ในกระบวนการประเมินผล ควรเน้นการพัฒนาทักษะและความรู้ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันและอาชีพ |
||
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) | ||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
||
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี] |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
- |
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) |
ผลการประเมิน (ผ่า่น / ไม่ผ่าน) |
---|---|
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 |
|
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม | |
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
|
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4 | ||
---|---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี | 13 | 5.00 |
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 | 1-5 | |
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] | 100 | |
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม | 13 | |
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน | 100.00 |
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง |
---|
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- มีการบริหารจัดการที่สามารถสนับสนุนการผลิตผลงานของนักศึกษาได้ครอบคลุมทุกรายวิชา รวมทั้งผลิตงานภาพยนตร์สั้นส่งประกวดได้รับรางวัลสร้างชื่อเสียงให้สาขาวิชา วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ และมหาวิทยาลัยรังสิต ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- ปรับปรุงการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ประกอบการถ่ายทำภาพยนตร์อย่างสม่ำเสมอ- การเรียนรู้นอกชั้นเรียน นอกจากอุปกรณ์และเครื่อมือ หลักสูตรฯอาจพิจารณานำพื้นที่ของชุมชนที่หลักสูตรตั้งอยู่มาเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการเรียนรู้ |
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
- การนำเสนอและการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อสนับสนุนกระบวนการการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดีจากอาจารย์และนักศึกษาทั้งหมด การจัดการที่เป็นระบบและการบริหารที่มีประสิทธิภาพทำให้นักศึกษาสามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพได้ในทุกๆ รายวิชา นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของนักศึกษาอย่างเหมาะสมระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
- |
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
|
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. | ผ่าน |
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 | 4.54 |
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี | 5.00 |
3.1 การรับนักศึกษา | 3.00 |
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา | 3.00 |
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา | 3.00 |
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ | 3.00 |
4.2 คุณภาพอาจารย์ | 3.89 |
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ | 4.00 |
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร | 3.00 |
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน | 3.00 |
5.3 การประเมินผู้เรียน | 3.00 |
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ | 5.00 |
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ | 4.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 3.65 |
องค์ประกอบ | ตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ผ่านการประเมิน | หลักสูตรได้มาตรฐาน | ||||
2 | 2 | - | - | 4.77 | 4.77 | ระดับคุณภาพดีมาก |
3 | 3 | 3.00 | - | - | 3.00 | ระดับคุณภาพปานกลาง |
4 | 3 | 3.63 | - | - | 3.63 | ระดับคุณภาพดี |
5 | 4 | 3.00 | 3.67 | - | 3.50 | ระดับคุณภาพดี |
6 | 1 | - | 4.00 | - | 4.00 | ระดับคุณภาพดี |
ผลการประเมิน | 3.27 | 3.75 | 4.77 | 3.65 | ระดับคุณภาพดี | |
ระดับคุณภาพ | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดี | ระดับคุณภาพดีมาก |