รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดดิจิทัลและแบรนด์ดิ้ง

วันที่ประเมิน: 22 สิงหาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

[ตัวบ่งชี้ 1.1] การบริหารการจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
1. จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
อาจารย์นฤนาถ ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
 ผศ.ดร.ชวพร จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ 5 คน และมีคุณสมบัติครบถ้วน
อาจารย์วาจวิมล การเรียงลำดับรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (หน้า 7 ข้อมูลทั่วไป) ควรเรียงลำดับให้สอดคล้องกับตารางคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
2. คุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผ่านการประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
[สำหรับประเภทวิชาชีพ/ปฏิบัติการ]
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 2 ใน 5 คน ต้องมีประสบการณ์ในด้านการปฏิบัติการ
ระบุข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
3. คุณสมบัติอาจารย์ประจำหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผ่านการประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
4. คุณสมบัติอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์ประจำ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผ่านการประเมิน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน ที่เป็นอาจารย์พิเศษ
ข้อคิดเห็น
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน
10. การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อคิดเห็น
ผ่านการประเมิน มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลาที่กำหนด
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 1.1

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 2.1] คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด หมายถึง ผู้รับปริญญา ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย บัณฑิตที่จบภาคการศึกษา 1/2564 , 2/2564 และ S/2565 [ปีต้องอัพเดตตามปีการศึกษาที่ประเมินย้อนหลัง 1 ปี]
(2) จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตาม (ข้อ1)

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 52 4.59
จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด 31
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 4.59
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
คะแนนเฉลี่ยรวมคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 เท่ากับ 4.59
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

หมายเหตุ : *
(1) จำนวนบัณฑิตทั้งหมด จะต้องตรงกับตาราง ตัวบ่งชี้ 2.1
(2) จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
จำนวนบัณฑิตทั้งหมด 52 4.39
จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจ 45
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [มีงานทำในองค์กร] 18
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบอาชีพอิสระ] 6
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษา [ประกอบกิจการส่วนตัว/ธุรกิจครอบครัว] 12
จำนวนบัณฑิตที่ไม่ได้งานทำ 5
จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ 4
จำนวนบัณฑิตที่อุปสมบท 0
จำนวนบัณฑิตที่เกณฑ์ทหาร 0
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา 0
ร้อยละที่ได้ 87.80
ผลลัพธ์ที่ได้ 4.39
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี อยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีแนวโน้มที่ดีเมื่อนับย้อนหลัง 3 ปี
อาจารย์วาจวิมล แนวโน้มบัณฑิตได้งานทำดีขึ้น เป็นข้อดีที่นำมาพัฒนาต่อไป เพื่อทำให้สาขาวิชาฯสามารถทำให้บัณฑิตมีงานทำภายหลังสำเร็จการศึกษาจำนวนมากยิ่งขึ้นต่อไป
ผศ.ดร.ชวพร บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำ มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นจากปี 2564
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 (2 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.49 คะแนน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การรับนักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ มีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาที่ดี ส่งผลให้มีนักศึกษาใหม่เพิ่มมากกว่าปีที่ผ่านมาอย่างเห็นได้ชัด และมีการพัฒนากระบวนการเตรียมความพร้อมที่ดี เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการให้คำปรึกษาที่เหมาะสมกับความหลากหลายของแผนการเรียน
 
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การรับนักศึกษา:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ จุดเด่น มีการปรับปรุงกระบวนการรับนักศึกษาที่ดี ส่งผลให้มีนักศึกษาใหม่เพิ่มมากกว่าปีที่ผ่านมาอย่างเห็นได้ชัดเจน
แนวทางเสริม ทำการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับจุดเด่นของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง 

ผศ.ดร.ชวพร มีการปรับปรุงระบบและกลไก รวมทั้งนำปัญหาที่พบมาแก้ไข ทั้งในการรับนักศึกษาใหม่ และการรับนักศึกษาโอนย้าย โดยมีผลการดำเนินงานเป็นรูปธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ จุดเด่น มีการพัฒนากระบวนการเตรียมความพร้อมที่ดี เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการให้คำปรึกษาที่เหมาะสมกับความหลากหลายของแผนการเรียน
แนวทางเสริม การทำกิจกรรมเตรียมความพร้อมที่สอดคล้องกับความรู้พื้นฐานทางวิชาชีพ เพื่อให้มีความพร้อมในการเรียนที่ดีมากยิ่งขึ้น
ผศ.ดร.ชวพร ปรับปรุงระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ โดยมีผลการดำเนินงานเป็นรูปธรรม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์วาจวิมล สร้างจุดขายเพื่อการรับนักศึกษาใหม่จากการประชาสัมพันธ์ทางเลือกเรียนในระดับสองปริญญา และหาจุดเด่นหลักสูตรจากศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงเชิญมาเป็นอาจารย์พิเศษหรือวิทยากรในรายวิชา และใช้ประโยชน์พ่วงในการประชาสัมพันธ์หลักสูตรไปพร้อมกัน
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์นฤนาถ ในประเด็นการเตรียมความพร้อม ควรแสดงผลที่เป็นรูปธรรม เช่น อัตราการเปลี่ยนแปลงนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่เรียนต่อชั้นปีที่ 2/ หรือความพึงพอใจที่มีต่อการเตรียมความพร้อมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีกว่าเดิม

[ตัวบ่งชี้ 3.2] การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีระบบการให้คำปรึกษาเรื่องการวางแผนการเรียนที่มีประสิทธิภาพ โดยมีระบบออนไลน์เข้ามาช่วยอำนวยความสะดวก ทำให้มีผลการประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับที่ดี มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาผ่านกิจกรรมโครงการ และรายวิชาต่างๆ ได้สอดคล้องตามแนวทางการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และมีการพัฒนาระบบกลไกในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาเพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย ส่งผลให้นักศึกษามีบทความวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
ผศ.ดร.ชวพร มีการนำการปรับปรุงทั้ง 3 ด้านมาปรับใช้ในการดำเนินการจนเห็นผลเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีระบบการให้คำปรึกษาเรื่องการวางแผนการเรียนที่มีประสิทธิภาพ โดยมีระบบออนไลน์เข้ามาช่วยอำนวยความสะดวก ทำให้มีผลการประเมินอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับที่ดี
อาจารย์วาจวิมล จุดเด่นที่ดีและน่าสนใจคือการดำเนินงานการควบคุมการดูแลให้คำปรึกษา โดยมีการประเมินตนเองด้านอาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละรายบุคคล จากการวัดความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.ชวพร มีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารมาช่วยในการจัดระบบการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ จุดเด่น มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาผ่านกิจกรรมโครงการ และรายวิชาต่างๆ ได้สอดคล้องตามแนวทางการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
หมายเหตุ แต่หลักสูตรควรประเมินกระบวนการในภาพรวมว่าเกิดผลลัพธ์เชิงรูปธรรมอย่างไรต่อนักศึกษา เช่น ผลงานนักศึกษาที่ได้รับการยอมรับ หรือมีการเผยแพร่สู่สาธารณะ (เช่น ในโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสังคมพหุวัฒนธรรมของวิทยาลัยนิเทศศาสตร์)
แนวทางเสริม หลักสูตรสามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ที่หลากหลายได้มากขึ้นในอนาคต

ผศ.ดร.ชวพร มีการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยการจัดทำโครงการ “สัมมนาเปิดโลกทัศน์วิชาชีพสื่อสารการตลาดและแบรนด์ดิ้ง”
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรมที่สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการพัฒนาระบบกลไกในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาเพื่อส่งเสริมให้เกิดการสร้างผลงานวิจัย ส่งผลให้นักศึกษามีบทความวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ TCI 1
ผศ.ดร.ชวพร มีระบบ และกลไกการดำเนินการจนเห็นผลเป็นรูปธรรมทั้งในจำนวนนักศึกษาที่พัฒนาหัวข้อปริญญานิพนธ์และการสำเร็จการศึกษา และการนำผลวิจัยไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการ TCI 1
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
หลักฐานงานวิจัยของนักศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์

[ตัวบ่งชี้ 3.3] ผลที่เกิดกับนักศึกษา

หลักสูตรเปิดปีการศึกษา 2549 เป็นหลักสูตร 4 ปี (สำเร็จการศึกษาปีแรก: 2552)
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 52.94
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 65.57
ร้อยละอัตราคงอยู่ ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 66.10
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ 
จุดเด่น อัตราการคงอยู่ของนักศึกษาในช่วง 3 ปี 2563-2565 มีแนวโน้มที่ดี โดยมีร้อยละอัตราการคงอยู่ ที่เพิ่มขึ้นในทุกปี 
แนวทางเสริม สามารถรักษามาตรฐานและพัฒนากระบวนการให้คำปรึกษาให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ในแต่ละปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การสำเร็จการศึกษา
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2563
ร้อยละ 23.50
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564
ร้อยละ 37.70
ร้อยละอัตราสำเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565
ร้อยละ 50.00
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ จุดเด่น นักศึกษาในหลักสูตรมีร้อยละการสำเร็จการศึกษาที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีแนวโน้มการดำเนินการที่ดี
แนวทางเสริม การรักษามาตรฐานกระบวนการการให้คำปรึกษาในการเรียน และการจัดทำปริญญานิพนธ์ และสามารถพัฒนากระบวนการให้นักศึกษามีอัตราการสำเร็จการศึกษาที่ให้ดีขึ้นในแต่ละปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 4.57
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 4.58
ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาเฉลี่ย ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 4.62
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
กรรมการทุกท่าน ผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษามีแนวโน้มที่ดีอย่างต่อเนื่องทุกปี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีมาตรฐานกระบวนการให้คำปรึกษาในการเรียน และการจัดทำปริญญานิพนธ์ที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักศึกษาในหลักสูตรมีอัตราการคงอยู่ที่ดี มีร้อยละการสำเร็จการศึกษาที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษามีแนวโน้มที่ดีอย่างต่อเนื่องทุกปี
ผศ.ดร.ชวพร อัตราการคงอยู่ อัตราการสำเร็จการศึกษา และผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

[ตัวบ่งชี้ 4.1] การบริหารและพัฒนาอาจารย์

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีระบบกลไกที่ดี มีการพัฒนาปรับปรุงการกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ใหม่ ให้รองรับกับการรับอาจารย์ใหม่ในอนาคต  มีการพัฒนากระบวนการบริหารอาจารย์ที่ดีส่งผลให้หลักสูตรสามารถรับนักศึกษาใหม่ได้มากขึ้น และอาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารอาจารย์อยู่ในระดับที่ดีมาก มีการพัฒนากระบวนการในการส่งเสริมให้อาจารย์ทำผลงานวิชาการ ทำให้อาจารย์มีผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น
ผศ.ดร.ชวพร หลักสูตรมีกระบวนการการบริหารและส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพ ทั้งในด้านความรู้และการวิจัยและสามารถดำเนินการได้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีระบบกลไกที่ดี แม้จะไม่มีการรับอาจารย์ใหม่ แต่มีการพัฒนาปรับปรุงการกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ใหม่ ให้รองรับกับการรับอาจารย์ใหม่ในอนาคต
อาจารย์วาจวิมล การมีอาจารย์พิเศษที่มีประสบการณ์จริงในวงการวิชาชีพมาเป็นผู้บรรยายในรายวิชาที่สามารถใช้ความรู้เชิงประสบการณ์เพื่อประโยชน์การต่อยอดนักศึกษาในเชิงความรู้ที่ก้าวทันวงการวิชาชีพ และสานต่อการฝึกงาน โครงการสหกิจ และการรับทำงานจริงเป็นสิ่งที่อาจได้รับผลจากอาจารย์พิเศษที่มีบทบาทชื่อเสียง และเชิญมาสอนเป็นอาจารย์พิเศษของหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการบริหารอาจารย์:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีระบบกลไกในการบริหารอาจารย์ที่เหมาะสม มีการพัฒนากระบวนการโดยการมอบหมายภาระงานที่เป็นการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ซึ่งส่งผลให้หลักสูตรสามารถรับนักศึกษาใหม่ได้มากขึ้น และอาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารอาจารย์อยู่ในระดับที่ดีมาก
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่รับผิดชอบ สามารถก้าวทันวิทยาการสมัยใหม่ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ การวิจัย และการพัฒนาศาสตร์ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีการพัฒนากระบวนการในการส่งเสริมให้อาจารย์ทำผลงานวิชาการ โดยให้อาจารย์ที่มีประสบการณ์สูงเป็นพี่เลี้ยง
หมายเหตุ ให้ทางหลักสูตรอธิบายเพิ่มเติมถึงผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากการพัฒนาอาจารย์ ได้แก่ การมีผลงานวิชาการในปีการศึกษา 2565
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์นฤนาถ ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ในปี 2565

[ตัวบ่งชี้ 4.2] คุณภาพอาจารย์

4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอกเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5 5.00
[2] ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ [อาจารย์] 1
[3] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 3
[4] ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1
[5] ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
[6] ดำรงตำแหน่งทางวิชาการทั้งหมด [3] + [4] + [5] 4
[7] ร้อยละที่ได้ [6] X 100 / [1] 80.00
[8] ผลลัพธ์ที่ได้ [7] x 5 / 60 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 3 1 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 1
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 3.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งหมด 5
[3] ร้อยละที่ได้ [1] X 100 / [2] 72.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 20 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ อาจารย์ในหลักสูตรมีผลงานวิชาการจำนวน 5 ชิ้น เกินกว่าร้อยละ 20 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
รายการหลักฐาน ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ คะแนนที่ได้ 5.00 คะแนน

[ตัวบ่งชี้ 4.3] ผลที่เกิดกับอาจารย์

คะแนนที่ได้ 3
หมายเหตุ :
(1) ยกเว้นกรณี การเกษียณอายุงาน และการเสียชีวิต
(2) หากรายชื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ให้ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบในปีการศึกษาแรกที่ปรับเข้าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558
(3) หากรายชื่อที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบท่านใหม่ต้องมีประสบการณ์ร่วมบริหารหลักสูตรมาไม่น้อยกว่า 9 เดือน (มีหลักฐานรายงานการประชุมภาควิชาหรือการประชุมหลักสูตร)
(4) รายงานถึงสิ้นสุดปีการศึกษา 2565 และจะได้รับการประเมินแนวโน้มผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นต้องประเมิน จาก ≥ 3 ชุดข้อมูล
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีการคงอยู่ของอาจารย์ร้อยละ 100 แม้ในปีการศึกษา 2564 มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารย์ แต่เป็นการดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2558 ถือว่าอัตราการคงอยู่ครบ จึงทำให้การคงอยู่ของอาจารย์มีแนวโน้มที่ดีอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
หลักสูตรปรับเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ความพึงพอใจของอาจารย์ในหลักสูตร มีค่าเฉลี่ย 5.00 อย่างต่อเนื่องใน 3 ปี ถือว่ามีแนวโน้มดี
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 (3 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.00 คะแนน

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

[ตัวบ่งชี้ 5.1] สาระของรายวิชาในหลักสูตร

20
16
80.00
คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีการปรับปรุงกระบวนการให้ทันสมัยอยู่ตลอด ออกแบบหลักสูตรได้ตรงความต้องการของผู้เรียน มีความร่วมมือกับสถานประกอบการ มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนครบทั้ง 3 ด้าน (โดยมีผลลัพธ์จากการปรับปรุงกระบวนการชัดเจนเป็นรูปธรรม---ขอให้มีการรายงานเพิ่มเติม)
ผศ.ดร.ชวพร มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบหลักสูตร และสาระรายวิชาในหลักสูตรที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน มีหลักสูตรหรือรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ จุดเด่น มีการออกแบบหลักสูตรตอบสนองความต้องการของผู้เรียนด้านวิชาชีพ โดยร่วมมือกับสถานประกอบการในการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน
แนวทางเสริม สามารถขยายความความร่วมมือกับสถานประกอบการเพิ่มขึ้นในรายวิชาอื่นๆ โดยเฉพาะในหัวข้อที่เป็นเนื้อหาเฉพาะด้าน

ผศ.ดร.ชวพร มีการบูรณาการรายวิชาร่วมกับสถานประกอบการเพื่อพัฒนาโจทย์ลักษณะของ Project Based Learning
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ และเชื่อมโยงกับการนำไปใช้ได้จริง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ จุดเด่น หลักสูตรมีการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชา เช่นการมีส่วนร่วมจากสถานประกอบการ และการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์การตลาดที่ทันสมัยมาใช้ในรายวิชา
หมายเหตุ ขอให้มีการรายงานเพิ่มเติม ว่าผลลัพธ์ของกระบวนนี้การเป็นอย่างไร ควรมีการประเมินผลลัพธ์ในภาพรวม โดยเทียบกับค่าเป้าหมาย KPI ที่หลักสูตรกำหนด
ผศ.ดร.ชวพร มีการนำ Marketing tools มาสอดแทรกในเนื้อหาการเรียนเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์การสื่อสารการตลาดดิจิทัล
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
มีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
กรรมการทุกท่าน หลักสูตรมีการกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนครบทั้ง 3 ด้าน
 อาจารย์นฤนาถ ขอให้มีการรายงานเพิ่มเติม ถึงการประเมินผลในกระบวนการนี้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการดำเนินการในปีถัดไป
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
อาจารย์นฤนาถ ควรมีเพิ่มเติม ได้แก่ หลักฐานการดำเนินงานในรายละเอียดที่มีการดำเนินการของปี 2565 เช่น ภาพกิจกรรม หรือผลงานนักศึกษา เพื่อเห็นผลในเชิงรูปธรรมเชิงประจักษ์

[ตัวบ่งชี้ 5.2] การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีระบบ กลไก ดำเนินการครบตามตัวบ่งชี้ และมีการพัฒนากระบวนการในการวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักศึกษามีผลงานที่มีคุณภาพได้รับการเผยแพร่ในวารสารวิชาการ
ผศ.ดร.ชวพร มีระบบและกลไกในการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน และมีระบบกลไกในการกำกับ ติดตามการจัดทำแผนการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดผู้สอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการพัฒนากระบวนการในการวางระบบผู้สอนได้เหมาะสม โดยมีการพัฒนาความรู้ของอาจารย์ให้สอดคล้องกับรายวิชาที่มีการปรับปรุงใหม่
ผศ.ดร.ชวพร มีการปรับปรุงระบบและกลไกของวางแผนการดำเนินการกำหนดผู้สอน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการจัดทำแผนการเรียนรู้ และปรับปรุง มคอ.3 มีการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการการดำเนินงานตามมาตรฐานหลักสูตร
ผศ.ดร.ชวพร การจัดทำ มคอ. ครบภายในกรอบเวลาที่กำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีการบูรณาการรายวิชาต่างๆ กับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒธรรม มีผลงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
หมายเหตุ ควรเพิ่มเติมการรายงานถึงการประเมินการดำเนินการจากปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร เพื่อเชื่อมโยงสู่การดำเนินการในปีนี้ และผลลัพธ์ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมโดยเทียบกับค่าเป้าหมาย (KPI) ที่หลักสูตรกำหนด
ผศ.ดร.ชวพร มีกิจกรรมและการจัดทำโครงการที่เกี่ยวกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสังคมพหุวัฒนธรรม ปี 2565
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)

[ตัวบ่งชี้ 5.3] การประเมินผู้เรียน

คะแนนที่ได้ 4
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีระบบและกลไกการประเมินผู้เรียนทั้งในระดับรายวิชาและระดับหลักสูตร มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร มีการควบคุมการจัดทำ มคอ. มีการปรับปรุงจากการประเมินในปีที่ผ่านมา โดยผ่านการตรวจสอบโดยกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการหลักสูตร
ผศ.ดร.ชวพร มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน (Learner Person, Innovative Co-Creator, Active Citizen) ตามวิสัยทัศน์และจุดเน้นของหลักสูตร ตลอดจนมาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน 
ผศ.ดร.ชวพร มีการปรับปรุงการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2561 ที่ครอบคลุมผลลัพธ์ผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีระบบในการการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในหลากหลายขั้นตอน มีกรรมการในการตรวจสอบเครื่องมือประเมินนักศึกษาที่เหมาะสม มีการวิพากษ์ข้อสอบ และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ มีการปรับปรุงตามผลการประเมินให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ของรายวิชาที่ประเมิน
ผศ.ดร.ชวพร มีการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ โดยมีวิธีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
ขอให้เพิ่มเติมการรายงาน การนำผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการทวนสอบนักศึกษา ไปสู่การปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน แล้วส่งผลที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมต่อนักศึกษาอย่างไร
การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีระบบและกลไกในการควบคุมการจัดทำ มคอ. มีการดำเนินการครบทุกวิชา
ผศ.ดร.ชวพร มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-

[ตัวบ่งชี้ 5.4] ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

หมายเหตุ: KPI ให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ระบุใน มคอ.2
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา [ถ้ามี]
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีรายละเอียดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม [ถ้ามี] ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 [ถ้ามี] อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 ร้อยละ 30 เป็นไปตามเกณฑ์
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ มีการพัฒนาปรับปรุงจากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
8. อาจารย์ใหม่ [ถ้ามี] ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
-
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน [ถ้ามี] ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
ไม่มีบุคลากรสายสนับสนุน
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ย 4.62
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ย 4.59
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
13. ร้อยละ 80 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ร้อยละ 100 ของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอน สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
14. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอน รวมทุกรายวิชา เฉลี่ย 4.51
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
(Key Performance Indicators)
ผลการประเมิน
(ผ่า่น / ไม่ผ่าน)
15. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น/ ขอข้อมูลเพิ่มเติม
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เฉลี่ย 4.48
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมินจากผลการดำเนินงาน ตัวบ่งชี้ 5.4
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] รวมจำนวนตัวบ่งชี้ในแต่ละปี 13 5
[2] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 1-5
[3] ร้อยละของตัวบ่งชี้ที่ 1-5 ที่ผ่าน [ถ้าผ่านทั้ง 5 ข้อจะเป็นร้อยละ 100] 100
[4] จำนวนตัวบ่งชี้ที่ดำเนินการผ่านรวม 13
[5] ร้อยละของตัวบ่งชี้ทั้งหมดที่ผ่าน 100.00
*หมายเหตุการกำหนดเงื่อนไขเกณฑ์การประเมิน
ถ้า [3] น้อยกว่าร้อยละ 100 ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานน้อยกว่า ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 0.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 3.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 80.01 - 89.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.00
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 90.00 -94.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.50
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 95.00 -99.99 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 4.75
ถ้า [5] มีการดำเนินงานร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในแต่ละปีมีค่าคะแนนเท่ากับ 5.00
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 (4 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 4.25 คะแนน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

[ตัวบ่งชี้ 6.1] สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

คะแนนที่ได้ 3
ระบุเหตุผลที่ได้ 4 หรือ 5 คะแนน:
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีระบบกลไกในการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนได้สอดคล้องกับความต้องการของหลักสูตร มีการปรับปรุงกระบวนการ โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในระบบฐานข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ของนักศึกษา
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
-
จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่อยู่ในรูปแบบสื่ออนไลน์ สามารถเข้าถึงได้ง่าย
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์นฤนาถ จากการที่หลักสูตรมีการจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เป็นรูปแบบสื่อดิจิทัล จึงอาจจะไม่ครอบคลุมถึงการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการกับกิจกรรมโครงการ สิ่งจำเป็นต้องใช้วัสดุการศึกษาที่เหมาะสมในการเรียนรู้ ซึ่งหลักสูตรสามารถนำผลการประเมินกระบวนการในปีที่ผ่านมา มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาได้
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น / ขอข้อมูลเพิ่มเติม:
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดเด่นและแนวทางเสริม
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรมีการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาทุกปี
ผศ.ดร.ชวพร
 การประเมินความพึงพอใจด้านทรัพยากรสนับสนุนการด้านสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนในปี 2565 เพิ่มจากปี 2564 
ระบุข้อคิดเห็นที่เป็นจุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
อาจารย์นฤนาถ หลักสูตรสามารถนำผลการประเมินกระบวนในปีที่ผ่านมา มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาได้ และสามารถเพิ่มเติมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เป็นรูปแบบวัสดุการศึกษาที่สามารถสนับสนุนการผลิตงานในรายวิชาเรียน หรือการทำกิจกรรมของนักศึกษาได้
ให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานดังนี้ (ถ้ามี)
-
ผลการประเมิน เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 (1 ตัวบ่งชี้) คะแนนที่ได้ 3.00 คะแนน

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น/จุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และแนวทางปรับปรุง

จุดเด่นและแนวทางเสริม

  1. จุดเด่น หลักสูตรมีจุดแข็งด้านคุณภาพอาจารย์ โดยมีอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 4 คน แนวทางเสริม ส่งเสริมให้อาจารย์ได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดจัดการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น
  2. จุดเด่น หลักสูตรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศของตนเองเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาของนักศึกษาให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจจุบัน แนวทางเสริม ควรมีการสำรวจความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา เพื่อสามารถจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ได้เหมาะสม สอดคล้องตามความต้องการของนักศึกษา และความจำเป็นในการดำเนินการของหลักสูตร
  3. มีระบบ และกลไกการดำเนินงานในทุกองค์ประกอบที่ชัดเจน และมีผลดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพเป็นไปตามระบบที่ได้วางไว้ และมีแนวโน้มในการพัฒนาที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกมากถึงร้อยละ 80 และดำรงตำแหน่งทางวิชาการร้อยละ 80 เช่นกัน แสดงถึงคุณภาพอาจารย์ที่สอดคล้องเป็นจุดเด่นของหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

  1. ควรมีแนวทางในการดำเนินการ เพื่อรักษาอัตราการคงอยู่ของนักศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
  2. หลักสูตรควรมีการพัฒนากระบวนการในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา เพื่อให้มีอัตราการสำเร็จการศึกษาที่สูงขึ้น
  3. ควรรักษาระบบการติดตามความก้าวหน้าในการทำปริญญานิพนธ์ที่ได้ดำเนินการอยู่เพื่อลดอัตรานักศึกษาตกค้างได้อย่างต่อเนื่อง
  4. การเพิ่มยอดรับนักศึกษาด้วยการประชาสัมพันธ์จุดเด่นสาขาในด้านการเรียนการสอนและใช้ประโยชน์จากคุณวุฒิอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประกอบการประชาสัมพันธ์

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. ผ่าน
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และด้านผลลัพธ์ผู้เรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 4.59
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.39
3.1 การรับนักศึกษา 4.00
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4.00
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4.00
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.00
4.2 คุณภาพอาจารย์ 5.00
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3.00
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4.00
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.00
5.3 การประเมินผู้เรียน 4.00
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.00
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.08

การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ของคณะกรรมการประเมิน ฯ

องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 2 - - 4.49 4.49 ระดับคุณภาพดีมาก
3 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
4 3 4.00 - - 4.00 ระดับคุณภาพดี
5 4 4.00 4.33 - 4.25 ระดับคุณภาพดีมาก
6 1 - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง
ผลการประเมิน 4.00 4.00 4.49 4.08 ระดับคุณภาพดีมาก
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดี ระดับคุณภาพดีมาก