รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะรังสีเทคนิค

วันที่ประเมิน: 11 ตุลาคม 2567, 13:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
1 3.82
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 3.82
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.82

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 9.00 1.39
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 11.11
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 1.39

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 9.00 1.85
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 22.22
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 1.85

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 304.00 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 8.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 38.00
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 375.00
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ผ่าน
ข้อ 2 ผ่าน
ข้อ 3 ผ่าน
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน
ข้อ 6 ผ่าน

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
5
5
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ผ่าน
ข้อ 2 ผ่าน
ข้อ 3 ผ่าน
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน เสนอเป็นแนวทางในปีหน้า คือ จากแผนปฏิบัติงานด้านกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา มีวัตถุประสงค์ไว้ 6 ข้อ (ดูจากเอกสารแนบไว้ใน DBS) ถ้านำวัตถุประสงค์ของแผน 6 ข้อ มาประเมินความสำเร็จของแผนร่วมกับการประเมินโครงการ/กิจกรรม ก็จะเป็นการนำผลประเมินไปปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมได้ด้วย
ข้อ 6 ผ่าน เสนอเป็นแนวทางในปีหน้า คือ เมื่อประเมินความสำเร็จในส่วนที่เพิ่มเติมจากข้อ 5 สามารถนำไปหาแนวทางปรับปรุงในปีต่อไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. จากปี 2565 มีผลประเมินหลักสูตรเท่ากับ 3.72 และในปี 2566 เท่ากับ 3.82 ถือว่าการบริหารจัดการหลักสูตรอยู่ในระดับดีขึ้น

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรช่วยกันหาแนวทางเพิ่มคุณวุฒิอาจารย์และตำแหน่งทางวิชาการ
  2. ควรหาแนวทางพัฒนาโครงการ/กิจกรรมนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับให้เป็นงานวิจัยและพัฒนา
  3. ควรหาแนวทางถอดบทเรียนจากกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เพื่อนำไปสู่การเป็นต้นแบบสำหรับดำเนินกิจกรรมนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 website ยังเข้าไม่ได้
ข้อ 2 มีการสร้างความร่วมมือระหว่างสถาบัน และการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 614,575.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 735,425.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 1,350,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 8.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 168,750.00
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 8
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 2 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 8.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 9.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 93.33
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีผลงานตีพิมพ์จำนวนมาก และ มีงานสร้างสรรค์เผยแพร่

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์ในคณะมีศักยภาพสูง ในการขอทุนวิจัยได้จำนวนมาก ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
  2. อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์ที่มีคุณภาพสูง และมีผลงานนวัตกรรมซึ่งควรพัฒนาไปสู่งานระดับชาติและนานาชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. เนื่องจากผลงานตีพิมพ์ส่วนใหญ่เป็นรายชื่ออาจารย์กลุ่มเดิม จึงควรมีการถ่ายทอดประสบการณ์การทำวิจัย หรือการติพิมพ์ผลงานให้กับอาจารย์ที่ยังไม่เริ่มทำวิจัยหรืออาจารย์ใหม่

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เพิ่มเติม /แก้ไข
ข้อ 1

p.82 • บรรทัดที่ 4 นับจากล่าง: “ซึ่งมีโครงสร้างการดำเนินงานการบริการวิชาการเป็นไปตามรูปด้านล่าง (ไม่ปรากฏรูปภาพ)
        • บรรทัดที่ 3 นับจากล่าง: โครงการตามแผนงานประจำปี และโครงการที่จัดขึ้นตามโอกาสต่างๆ ควรระบุชื่อโครงการไปเลย เพราะโครงการเสร็จไปแล้ว และมีอยู่ 3 โครงการหลัก
p.83 • บรรทัดที่ 2 นับจากล่าง: โดยลงพื้นที่เป้าหมายคือ หลัก 6 หมายถึง ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ใช่หรือไม่        
 ข้อ 2
p.84 • บรรทัดที่ 4 นับจากข้อ 2 : “ผลการดำเนินงาน 2566 ซึ่งมี 3 โครงการที่เป็นบริการวิชาการแก่สังคม  (มีแค่ 2) ซึ่งได้มีแผนการใช้ประโยชน์การบริการวิชาการ จากการจัดโครงการ world radiography day โครงการเตรียมความพร้อมบัณฑิตเพื่อสอบใบประกอบโรคศิลปะ และโครงการสร้างความตระหนักและตื่นตัวในโรคกระดูกพรุน (โครงการเตรียมความพร้อมบัณฑิตเพื่อสอบใบประกอบ ไม่ใช่บริการวิชาการ อยู่ในองค์ประกอบที่ 1.5 การบริการนักศึกษา/ ข้อ 3 จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา
• เพิ่มเติม แผนการใช้ประโยชน์การบริการวิชาการเพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชนหรือสังคม = วัตถุประสงค์ของโครงการบริการวิชาการทั้ง 2 โครงการมาเขียน เช่น โครงการ world radiography day และโครงการสร้างความตระหนักและตื่นตัวในโรคกระดูกพรุน  
ข้อ 3
           • ตัดข้อมูลปี 2565 ออก เพราะรายงานฉบับนี้เป็นปี 2566
                 
 ข้อ 4
p.87 • นำผลการประเมินความสำเร็จของ โครงการใน PDCA ของโครงการ world radiography day และผลลัพท์ที่ได้จากการดำเนินโครงการสร้างความตระหนักและตื่นตัวในโรคกระดูกพรุน ใช้นำเสนอความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1
      • มีการนำเสนอกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณาผลการดำเนินงาน หรือไม่ ถ้ามีให้นำเสนอในรายงาน     
 ข้อ 5
• มีการนำผลการประเมินโครงการของปีก่อนหน้า (2565) มาใช้เพื่อปรับปรุงหรือพัฒนาการให้บริการหรือไม่ ถ้ามีเขียนให้ชัดเจน ใช้โครงการ world radiography day        

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีโครงการบริการวิชาการที่ต่อเนื่อง (โครงการ world radiography day) ที่สามารถให้ประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ชุมชน และสร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. โครงการสร้างความตระหนักและตื่นตัวในโรคกระดูกพรุน (โครงการใหม่) เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนโดยรวม สามารถขยายผล เป็นโครงการบริการวิชาการต่อเนื่องไปในชุมชนอื่นๆ ในจังหวัดปทุมธานีได้ ทั้งชุมชนในเขตเมือง และชุมชนภาคการเกษตรของจังหวัดปทุมธานี ซึ่งสามารถต่อยอดเป็นงานวิจัยร่วมกับชุมชนได้

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 4 ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ที่วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ข้อสังเกตุ: มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ (660610) ไว้หลายวัตถุประสงค์ (8ข้อ) และบางข้อไม่สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล จะเป็นอุปสรรค์ในการวัดและประเมินผลโครงการ 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบกลไกในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีการติดตามตรวจสอบ มีการประเมินความสำเร็จ มีการนำผลการประเมินมาปรับใช้ มีการเผยแพร่กิจกรรมสู่สาธารณะ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ในโอกาสต่อไป ควรปรับการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการทางศิลปวัฒนธรรมให้ชัดเจน เฉพาะที่สอดคล้องกับภารกิจด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม/ กำหนดเกณฑ์การวัดให้ชัดเจน เพื่อนำไปสู่การวัดและประเมินผลโครงการ

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • ระบบการสอบป้องกันการทุจริตโดยใช้ระบบ SEB
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • บูรณาการความรู้ด้านนวัตกรรมและวิจัยสู่ชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ผ่าน
ข้อ 2 ผ่าน
ข้อ 3 ผ่าน
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน
ข้อ 6 ผ่าน มีข้อสังเกตคือ การกำกับติดตามควรแยกเป็น 2 ประเด็น คือ กำกับติดตามแผนการบริหาร และกำกับติดตามแผนพัฒนาบุคลากรสายอาจารย์และสายสนับสนุน
ข้อ 7 ผ่าน มีข้อสังเกตคือ ควรแยกเป็น 3 ประเด็น คือ
1. การควบคุมคุณภาพ เป็นการควบคุมระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ต้องให้ข้อมูลทั้งหลักสูตร และคณะ เช่น มีการกำหนดองค์ประกอบของการประกันคุณภาพ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจำปี เป็นต้น
2. การตรวจสอบคุณภาพ มีการกำกับติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพหลักสูตร และคณะ ให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่ มีการประชุม ติดตามความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมปีละกี่ครั้ง เป็นต้น
3. การประเมินคุณภาพ มีการประเมินคุณภาพตั้งแต่ระดับหลักสูตรจนถึงระดับคณะ มีผลประเมินอยู่ในระดับใด มีคณะกรรมการประเมิน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา รวมถึงการประเมินโครงการ/กิจกรรมในรูปแบบ PDCA เป็นต้น

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ผ่าน
ข้อ 2 ผ่าน
ข้อ 3 ผ่าน
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน
ข้อ 6 ผ่าน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริหารจัดการที่ปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดภาระงาน และความรับผิดชอบของบุคลากรสายสนับสนุน เป็นต้น
  2. คณะมีผู้นำที่เข้มแข็ง และบริหารงานแต่ละพันธกิจของคณะอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีการดำเนินงาน ประเมินและสรุปผลเพื่อนำไปปรับปรุง ทั้งด้านบริหารความเสี่ยง และการจัดการความรู้ที่ครบถ้วนตามพันธกิจ
  3. ผู้บริหารใช้การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. เมื่อพิจารณาประเด็นการไม่บรรลุเป้าหมายของคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ควรหาแนวทางพัฒนามาตรการในการให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ต่อไป
  2. การกำหนดความสำเร็จตาม OKR ของแต่ละยุทธศาสตร์ ควรกำกับติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.82
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1.39
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.85
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.00

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 1.08 5.00 3.82 2.84 การดำเนินงานระดับพอใช้
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 2.06 5.00 4.41 4.00 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานต้องปรับปรุง การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี