วันที่ประเมิน: 15 ตุลาคม 2567, 09:30น.
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | คะแนน | |
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)] |
1 | 3.68 |
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร | 3.68 | |
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] | 3.68 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น1. หลักสูตรมีระบบส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาให้เกิดผลงานวิจัย ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ร่วมกับอาจารย์ในงานประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ จำนวน 6 เรื่อง ซึ่งเป็นการบูรณาการในรายวิชาต่างๆ
2. ในปีการศึกษา 2566 หลักสูตรฯ ดำเนินการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการรายชั้นปี (Sandbox Model) ซึ่งเป็น การต่อยอดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยการผนวกความหลากหลายของแนวทางการจัดการเรียนการ สอนในปีที่ผ่านมา ให้ความสำคัญกับเนื้อหาของรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการ ของผู้เรียน กำหนดให้มีรายวิชาที่เป็นความร่วมมือกับสถานประกอบการ หน่วยงานและองค์กรภายนอกในสาขา วิชาชีพทาง สถาปัตยกรรมและสาขาวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ที่ปรึกษาโครงการ ผู้บริหารโครงการ รวมถึง ผู้ประกอบการใน ธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมี 2 แนวทาง คือ
2.1 แนวทางการบูรณาการระหว่างชั้นปี2.2 แนวทางการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานองค์กรภายนอกโดยทำความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) จัดการเรียนการสอนจากประสบการณ์จริง (Authentic Learning) 3. มีการจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม แต่ยังขาดการทบทวนกระบวนการ 4. หลักสูตรมีการประเมินผู้เรียน และพิจารณาระดับความสำเร็จของผลงานนักศึกษา ทั้ง Formative Assessment และ Summative Assessment มีโครงสร้างการให้คะแนนที่ชัดเจน โดยใช้ Peer Review มาจากหลายภาคส่วน อาทิ ผู้ประกอบการ สถานประกอบการมืออาชีพ และองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
|
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด | 34.00 | 4.04 |
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 11 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 32.35 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 | 4.04 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มี จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด [นับรวมที่ลาศึกษาต่อ] จำนวน 34 คน มี อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 11 คน เมื่อคำนวณตามสูตร พบว่าค่าร้อยละของอาจารย์ ประจำ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เท่ากับร้อยละ 32.35 คะแนนที่ได้เท่ากับ 4.04 คะแนน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ผศ.ดร.นฤพนธ์ ไชยยศ
2. ผศ.ดร.อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์ 3. ผศ.ดร.ไพกานท์ รักษาสุทธิพันธ์ 4. ผศ.ดร.สุดจิต เศวตจินดา 5. ผศ.ดร.ปาริสุทธิ์ เลิศคชาธาร 6. ดร.สายใจ หล่อเพ็ญศรี 7. ดร.นุจรีย์ โลหะการ 8. ดร.ศศิกาญจน์ ศรีโสภณ 9. ดร.ปาริษา มูสิกะคามะ 10. ดร.รสรินทร์ ชอว์ 11. ดร.ปวรพชร บุญเรืองขาว |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด | 34.00 | 2.94 |
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ | 12 | |
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] | 35.29 | |
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 | 2.94 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น 1. รองศาสตราจารย์ ทรงพล อัตถากร รองศาสตราจารย์
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤพนธ์ ไชยยศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดจิต เศวตจินดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาริสุทธิ์ เลิศคชาธาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไพกานท์ รักษาสุทธิพันธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อวิรุทธ์ เจริญทรัพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมสฤทธิ์ ตาณพันธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กฤตพร ลาภพิมล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรพงศ์ กรรณสูต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพบูลย์ กิตติกูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อภิวัฑธน์ พัฒนศิริมงคล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ส่งศักดิ์ อ่อนสุวรรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร | 462.91 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] | 33.00 | |
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] | 14.03 | |
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา | 15.00 | |
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 | -6.47 | |
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น- |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ | มีการดำเนินการ 6 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
|
5.00 | |
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น1.เกณฑ์ข้อ 1. การจัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการและการใช้ชีวิตแก่นักศึกษามีการรายงานระบบต่าง ๆ ได้แก่ 1)ระบบอาจารย์ ที่ปรึกษาประจำตัว 2)ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาประจำชั้นปี 3)ระบบ One Stop Service และ SMART TEAM 4)ระบบอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมพัฒนานักศึกษา ที่ครอบคลุมเป้าหมายและกระบวนการในแต่ละระบบ2.เกณฑ์ข้อ 2. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มีการให้บริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษา และกิจกรรม นอกหลักสูตร ผ่านช่องทางหลัก Online ที่ FaceBook ประจำชั้นปี ซึ่งมีการประเมินความพึงพอใจในการ ให้บริการข้อมูลข่าวสารของทางคณะ เป็นประจำทุก ๆ ปี และในปี 2566 ทางคณะฯ ได้มีกิจกรรมสร้าง ความรู้ควบคู่กับ การนำเสนอช่องทางแหล่งงานนอกเวลา 2 โครงการ(sharing talk และ professional practice) และมีกลุ่มข่าวสารกิจกรรมนอก หลักสูตรที่มีอาจารย์ประจำ และศิษย์เก่าของคณะฯ ร่วมก่อตั้งและดำเนินการ 3.เกณฑ์ข้อ 3. การจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษามีการรายงานการ เตรียมความพร้อมให้นักศึกษาก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในปีการศึกษาต่อไปเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ และยังมีกิจกรรมเตรียมพร้อมที่เป็นระโยชน์ต่อวิชาชีพอีก 11 กิจกรรม 4.เกณฑ์ข้อ 4. ประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมและจัดบริการตามข้อ 1-3 ไม่ต่ำกว่า 3.51 พบว่า การบริการนักศึกษาในข้อ 1-3 ในปีการศึกษา 2566 มีคะแนนประเมินในเชิงคุณภาพ ดังนี้ คะแนนประเมินอาจารย์ที่ปรึกษา 2566 = 4.63 คะแนนประเมินการให้บริการข้อมูลข่าวสาร 2566 = 4.58 คะแนนประเมินโครงการสหกิจศึกษา 2566 = 4.17 ค่าคะแนนเฉลี่ยทั้ง 3 โครงการ ย้อนหลัง ในปี 2564 ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.40/5 ในปี 2565 ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.53/5 ในปี 2566 ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.46/5 ผลสรุปค่าเฉลี่ยทั้ง 3 โครงการ มีคะแนนสูงกว่า 3.51/5 จึงสรุปได้ว่าบรรลุเป้าหมายในข้อนี้ คะแนน เฉลี่ยทั้ง 3 โครงการมีคะแนนน้อยกว่าปีการศึกษา 2565 จากผลสำรวจ อ้างถึง สถ.อ1.1.5.2.02 แบบประเมิน ความพึงพอใจทั่วไปของคณะฯ 2566 พบว่าในส่วนของความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร มีคะแนนที่ 4.12 ซึ่งถือว่าควรมีการปรับปรุงในการสนับสนุนให้มากขึ้น 5.เกณฑ์ข้อ 5. นำผลประเมินจากข้อ 4. มาปรับปรุงพัฒนาเพื่อให้ผลประเมินสูงขึ้นเป็นไปตามความคาดหวัง พบว่าในปีการศึกษา 2566 มีการพัฒนาการให้บริการโดยแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ด้านอาคาร สถานที่ที่เน้น coworking space และการให้ข้อมูลและการสื่อสารแบบ two way communication 6.เกณฑ์ข้อ 6. คณะ ให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า ผ่านช่องทาง Facebook ของชมรมศิษย์เก่า และกลุ่ม line |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ | มีการดำเนินการ 6 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
|
5.00 | |
|
||
|
||
|
||
2
2
100.00
|
||
|
||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น1.เกณฑ์ข้อ 1. จัดทำแผนการจัดกิจกรรมนักศึกษาโดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและดำเนินกิจกรรม คณะมีโครงการเตรียมความพร้อมนักศึกษาใหม่ ผลประเมิน 4.50 คะแนน โครงการ Arch camp เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้เรียนรู้(learner person) และโครงการ 4+1 พัฒนา learner person และ active citizen2.เกณฑ์ข้อ 2. ในแผนการจัดกิจกรรมให้ดำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริม tqf 5 ด้าน มีการรายงานว่าแต่ละโครงการมีกิจกรรมใดที่ส่งเสริมให้เกิดทักษะใดตาม tqf 5 ด้าน ควรเสริมเรื่องเป้าหมายในการวัดผลลัพธ์การเรียนรู้จากกิจกรรมโครงการ เช่น ค่าร้อยละนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่แสดงออกถึงทักษะตาม tqf 5 ด้าน เพื่อนำผลประเมินไปปรับปรุงการดำเนินงาน 3.เกณฑ์ข้อ 3. จัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา คระได้จัดประชุมแนวทางการประกันคุณภาพ และมอบหมายให้ทีมสโมสรนักศึกษาเข้าดูคลิปการให้ความรู้ประกันคุณภาพการศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยจัดไว้ 4.เกณฑ์ข้อ 4. มีการประเมินผลความสำเร็จในระดับกิจกรรม คณะรายงานทั้งเชิงปริมาณผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และเชิงปริมาณด้วยค่าความพึงพอใจไม่น้อยกว่า 3.51 คะแนน ในอนาคตควรรายงานค่าร้อยละผลลัพธ์การเรียนรู้ตาม tqf 5 และ doe 3 เปรียบเทียบแนวโน้มเพื่อปรับปรุงกิจกรรม 5.เกณฑ์ข้อ 5. ประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมนักศึกษา คณะมีการวางแผนการจัดกิจกรรม/โครงการพัฒนา คุณลักษณะ บัณฑิตพึงประสงค์ ตาม KR 1.2.4 จำนวน 2 โครงการ ในประเด็นยุทธศาสตร์ 1 สร้างความ เป็นเลิศทางการ ศึกษาและการผลิตบัณฑิต และอีกจำนวน 8 โครงการ ในประเด็นยุทธศาสตร์อื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนา นักศึกษา ได้รับอนุมัติงบประมาณโครงการ รวม 900,000 บาท ผลการดำเนินงานทุก โครงการมีผลการประเมิน บรรลุความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการพัฒนาคณะฯ 6.เกณฑ์ข้อ 6 นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา ซึ่งเป้าหมายคือแนวโน้มผลลัพธ์การพัฒนานักศึกษาตามกรอบ tqf 5 และ doe 3 ซึ่งคณะสามารถรายงานผลการปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมจากข้อ 5. แล้วรายงานแนวโน้มผลประเมินตามวัตถุประสงค์ของแผน เปรียบเทียบแนวโน้มผลการประเมินโดยผู้ใช้บัณฑิต |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ | มีการดำเนินการ 6 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
|
5.00 | |
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น- คณะฯ มีกระบวนการและคณะทำงานจึงสามารถดำเนินงานได้ครบทุกข้อเป็นอย่างดี |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน | 251,300.00 | 1.52 |
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก | 0.00 | |
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] | 251,300.00 | |
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] | 33.00 | |
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] | 0.00 | |
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) | 7,615.15 | |
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 | 1.52 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น- คณะฯ ควรส่งเสริมและสนับสุนให้คณาจารย์ขอทุนสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกเพิ่มขึ้น |
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 1 | 1 | 0 |
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก | |||||
---|---|---|---|---|---|
ค่าถ่วงน้ำหนัก | 0.20 | 0.40 | 0.60 | 0.80 | 1.00 |
จำนวนผลงาน (ชิ้น) | 0 | 0 | 12 | 0 | 12 |
ข้อมูลพื้นฐาน | ผลการประเมิน | |
---|---|---|
จำนวนยืนยัน | กรรมการ | |
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ | 20.60 | 5.00 |
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] | 34.00 | |
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] | 0.00 | |
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] | 60.59 | |
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 | 5.00 | |
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น- |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ | มีการดำเนินการ 6 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
|
5.00 | |
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น- |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ | มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
|
5.00 | |
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น- |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ | มีการดำเนินการ 7 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
5.00 | |||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้น1.เกณฑ์ข้อ 1. มีหลักฐานครบถ้วนทั้งการวิเคราะห์ SWOTมาเชื่อมโยงกับแผนการดำเนินงาน มีหลักฐานแผนพัฒนาคณะตามยุทธศาสตร์ทั้งห้าตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย และแผนกลยุทธ์ทางการเงิน2.เกณฑ์ข้อ 2. ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการงานประจำปีการศึกษา 2566 พบว่างบประมาณที่ได้รับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัย และกำลังทรัพยากรบุคคลที่มี คณะสามารถดำเนิน กิจกรรม และโครงการต่างๆ ได้สำเร็จบรรลุเป้าหมาย คิดเป็นอัตราร้อยละ 100 ซึ่งคณะได้รายงานผล การดำเนินงาน ไว้แล้วในระบบการรายงานความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ ดังนั้น ในการประเมินประสิทธิผลของการดำเนินงาน ซึ่งจะพิจารณาที่ผลลัพธ์จากการดำเนินงานที่มี ประสิทธิภาพ จึงกล่าวได้ว่าคณะสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิผล โดยสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ หลักสูตรมีความคุ้มทุน มีอัตราร้อยละการได้งานทำหลังสำเร็จการศึกษาภายใน 1 ปี ในปีการศึกษา 2566 เท่ากับร้อยละ 87.30 และ มีผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรอยู่ในระดับ 4.50 คณาจารย์ มีผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน TCI ฐาน1 และ TCI ฐาน2 รวมทั้งผลงานสร้างสรรค์เผยแพร่ในงาน ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ รวมทั้งหมด 26 ผลงาน มีผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการ เท่ากับ 20.6 คิดเป็นร้อยละของ 68.58 ของจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด และมีทุนวิจัยภายในและภายนอก รวม 125,650 บาท คิดเป็นทุนวิจัย 3,807.57 บาท ต่ออาจารย์ประจำ 1 ท่าน สรุปได้ว่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สามารถบริหารหลักสูตรได้อย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล และมีศักยภาพในการแข่งขัน 3.เกณฑ์ข้อ 3. มีการรายงานความเสี่ยงครอบคลุมทุกด้าน แต่ขาดการรายงานแนวโน้มของการลดค่าความเสี่ยงจากการดำเนินงานตามมาตรการลดความเสี่ยง 4.เกณฑ์ข้อ 4. มีการรายงานการดำเนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาลต่างๆ ครบถ้วน โดยมีการนำเสนอกิจกรรมหรือโครงการภายใต้หลักการข้อย่อยต่าง ๆ 5.เกณฑ์ข้อ 5. มีการจัดการความรู้จากแนวปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จสามารถเป็น good practice ได้ 2 เรื่องใน 2 ด้านบังคับ มีข้อสังเกตว่าชื่อชิ้นงานในตารางไม่ตรงกับบนระบบ rkms ขอให้ปรับแก้ sar 6.เกณฑ์ข้อ 6. การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน คณะฯ มีการส่งบุคลากรสายการสอน และสายสนับสนุน เข้ารับการอบรม สัมมนา ทั้งภายใน และ ภายนอกเพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นและเพิ่มขีดสมรรถนะ ในด้านการเรียนการสอน และการปฏิบัติงาน ด้าน อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน มีการจัดให้ทั้งอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ เข้าร่วม อบรมสัมมนา และพัฒนาตนเอง อย่างน้อย 1-2 ครั้ง ต่อปี โดยต้องบรรลุเป้าหมาย อย่างน้อยร้อยละ 60 ตามแผน พัฒนารายบุคคล ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหารจัดการสู่องค์กรอัจฉริยะ ตาม Key Result (KR) ที่ KR 3.4.1, KR 3.4.2, KR.3.4.3, KR 3.4.4 คณะควรสรุปความสำเร็จตาม kr ดังกล่าวเพื่อใช้ประกอบการปรับปรุงการจัดทำ idp 7. มีดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบถ้วนตามระบบกลไกที่เหมาะสมทั้งการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ |
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
---|---|---|---|---|
มีการดำเนินการ 1 ข้อ | มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ | มีการดำเนินการ 6 ข้อ |
การดำเนินงาน [ข้อ] | ผลการประเมินของกรรมการ | |
---|---|---|
|
5.00 | |
|
||
|
||
|
||
|
||
|
||
ข้อคิดเห็นเบื้องต้นภาพรวม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพคณะ มีการประชุมเตรียมความพร้อมเป็นระยะระหว่างหัวหน้าหลักสูตรร่วมกับคณบดีและรองคณบดี และการประชุมรายงานความก้าวหน้าเป็นวาระประกันคุณภาพในการประชุมกรรมการบริหารคณะ มีการประเมินคุณภาพทุกหลักสูตรตามกำหนดเวลาที่ผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน และรายงานผลการประเมินต่อกรรมการบริหาร มีค่าเฉลี่ยผลการประเมินในระดับดีที่ 3.68 จาก 1 หลักสูตร |
ตัวบ่งชี้คุณภาพ | ผลดำเนินการ |
---|---|
กรรมการ | |
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม | 3.68 |
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก | 4.04 |
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ | 2.94 |
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ | 1.52 |
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ | 5.00 |
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร | 5.00 |
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] | 4.40 |
องค์ประกอบคุณภาพ | จำนวนตัวบ่งชี้ | I | P | O | คะแนนเฉลี่ย | ผลการประเมิน |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | 6 | 3.99 | 5.00 | 3.68 | 4.28 | การดำเนินงานระดับดี |
2 | 3 | 1.52 | 5.00 | 5.00 | 3.84 | การดำเนินงานระดับดี |
3 | 1 | - | 5.00 | - | 5.00 | การดำเนินงานระดับดีมาก |
4 | 1 | - | 5.00 | - | 5.00 | การดำเนินงานระดับดีมาก |
5 | 2 | - | 5.00 | - | 5.00 | การดำเนินงานระดับดีมาก |
ผลการประเมิน | 3.38 | 5.00 | 4.34 | 4.40 | การดำเนินงานระดับดี | |
ระดับคุณภาพ | การดำเนินงานระดับพอใช้ | การดำเนินงานระดับดีมาก | การดำเนินงานระดับดี |