รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ

วันที่ประเมิน: 3 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
8 3.37
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 26.99
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.37

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 33.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 14
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 42.42
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 33.00 2.27
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 9
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 27.27
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 2.27

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 9 คน

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 518.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 33.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 15.70
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -37.20
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

บรรลุเป้าหมาย

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
3
3
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

บรรลุเป้าหมาย

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. หลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่หลากหลายครอบคลุมทั้งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
  2. ข้อมูลกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  3. ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีแนวทางการช่วยเหลือ สนับสนุนการเรียน และการใช้ชีวิตด้านอื่นๆของนักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การพัฒนาผลงานทางวิชาการของอาจารย์เพื่อขอมีตำแหน่งทางวิชาการอย่างเป็นระบบชัดเจน

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 124,500.00 1.36
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 100,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 224,500.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 33.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 6,803.03
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 1.36

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 4 5 6 7 4
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 16.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 33.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 48.48
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ปีการศึกษาถัดไป ขอให้วิทยาลัยแนบหลักฐานเป็น Paper ของผลงานชิ้นนั้นๆ หรือแนบเป็น Link ดังที่กรรมการได้ค้นหาลิ้งมาให้ ตามรายละเอียดด้านล่าง ให้ชัดเจน 
  1. https://idcneu.com/neunic2023/file_article/hss/neunic2023-hss-06.pdf\
  2. https://drive.google.com/file/d/1WJcjQCv3eXq4H4JZLd1T3Kg7eF9-oooO/view
  3. https://www.facebook.com/libartsforum2/
  4. https://esd.kps.ku.ac.th/kuk-conference/img/gallery/article_19/full_19_26Apr.pdf
  5. https://rsucon.rsu.ac.th/proceeding/article/3232
  6. https://rsucon.rsu.ac.th/proceeding/article/3231
  7. https://www.academia.edu/100730716/The_Effect_Of_Motivation_Of_The_Labor_Force_For_Greater_Organizational_Productivity  180
  8. https://www.academia.edu/100730716/The_Effect_Of_Motivation_Of_The_Labor_Force_For_Greater_Organizational_Productivity  309
  9. https://ieeexplore.ieee.org/document/10139450
  10. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/244157
  11. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ISSC/article/view/261558
  12. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ISSC/article/view/254869
  13. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/journaldtc/article/view/267010
  14. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawasrijo/article/view/260163
  15. https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/jdbs/issue/archive
  16. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/259375
  17. https://digital.car.chula.ac.th/educujournal/vol50/iss4/11/
  18. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/MFUconnexion/article/view/261340
  19. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSST/article/view/257522
  20. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/SASAJ/article/view/260791
  21. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/251729
  22. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/260198
  23. https://journalppw.com/index.php/jpsp/article/view/10149
  24. https://www.mdpi.com/2071-1050/14/23/15770
  25. https://www.mdpi.com/2076-328X/13/3/270
  26. หนังสือ ผ่านการประเมินตำแหน่ง

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณาจารย์มีผลงานวิชาการจำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. วิทยาลัยควรพัฒนาระบบที่ช่วยจัดการด้านผลงานวิชาการของคณาจารย์ เพื่อการจัดเก็บและสืบค้นที่สะดวกขึ้น
  2. วิทยาลัยควรวางแผนเกี่ยวกับการขอทุนวิจัยทั้งภายในและภายนอกเพิ่มเติม

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สามารถอ้างอิงถึง แผนบริการวิชาการ และแผนการใช้ประโยชน์ ที่ศูนย์บริการทางวิชาการรวบรวมไว้ได้
https://asc.rsu.ac.th/qualityassurance/
ข้อ 6 ควรอ้างอิงโครงการ สสส. (โครงการพัฒนานักเรียนให้เป็นยุวอาสาพาเที่ยววัดรังสิต) 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ความต่อเนื่องในการมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ ควรได้รับการพัฒนาต่อยอดไปสู่งานวิจัยและพัฒนาสำหรับพื้นที่นั้นๆ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะให้ความสำคัญในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งในการมีระบบและกลไก และแผนปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนการดำเนินการในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  2. คณะมีนโยบายและดำเนินการตามนโยบายในการนำศิลปะและวัฒนธรรมไทยเข้าสุ่กระบวนการเรียนการสอนในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รายวิชาด้านศิลปะอาหาร รายวิชาด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น
  3. คณะมีนโยบายและดำเนินการตามนโยบายในการทำงานร่วมกันของคณาจารย์ นักศึกษาและบุคลากรสายสนับสนุนในโครงการที่เกี่่ยวข้องกับการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  4. แนวทางเสริมจุดแข็ง - เพิ่มรายละเอียดให้ชัดเจนในการแสดงผลการประเมินการบริหารจัดการและการดำเนินการในงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงการนำผลประเมินมาปรับปรุงแก้ไขสำหรับการดำเนินงานในปีการศึกษาถัดไป

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสู่การบูรณาการด้านงานวิจัย
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสู่การบูรณาการด้านงานวิจัย
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีกระบวนการในการจัดทำยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาคณะ กลยุทธ์การเงินและแผนปฏิบัติการ ที่ครบถ้วนและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
  2. คณะมีการดำเนินงานครบถ้วนในแผนบริหารความเสี่ยง และแผนพัฒนาบุคลากร
  3. คณะมีนโยบายและดำเนินการตามนโยบายในการส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรที่เป็นความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
  4. คณะมีกระบวนการที่ครบถ้วนในการดำเนินการการประกันคุณภาพการศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรมีการนำผลการดำเนินการที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายและมีความเสี่ยงอยู่ในระดับสูง มาพิจารณาในการจัดทำแนวทางและแผนงานในการบรรลุเป้าหมายและลดความเสี่ยง ได้แก่ การขอตำแหน่งวิชาการของคณาจารย์ การเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของบุคลาการและนักศึกษา เป็นต้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.37
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 2.27
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 1.36
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.38

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.09 5.00 3.37 4.27 การดำเนินงานระดับดี
2 3 1.36 5.00 5.00 3.79 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 3.41 5.00 4.19 4.38 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี