รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

วิทยาลัยครูสุริยเทพ

วันที่ประเมิน: 7 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
4 3.75
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 15.01
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.75

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

หลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ มีทั้งสิ้น 4 หลักสูตร
1. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาระบบสองภาษา = 3.44 
2. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน = 3.72
3. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา =  3.99
4. หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา  = 3.86
รวม 15.01
เฉลี่ย 3.75

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 13.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 13
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 13 คน และทั้ง 13 คนมีคุณวุฒิปริญญาเอก

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 13.00 4.49
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 7
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 53.85
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.49

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 13 คน
อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ  รองศาสตราจารย์  1  คน 
1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ชิโนกุล

อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์  6  คน
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลลภา เฉลิมวงศาเวช
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์อุไร ลิมปพัทธ์
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพินดา เลิศฤทธิ์
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชยานุวัชร
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิภาพร เฉลิมนิรันดร  
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุลดิศ คัญทัพ

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 323.07 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 13.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 24.85
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 30.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -17.17
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์ประจำวิทยาลัยครูสุริยเทพทุกคนมีคุณวุฒิปริญญาเอก สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2563
  2. มีแนวโน้มและความเป็นไปได้อย่างมากที่จะมีอาจารย์ประจำดำรงตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีแผนการยกระดับคุณภาพการศึกษาของแต่ละหลักสูตรให้เข้าสู่ระดับคุณภาพดีมาก

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. หลักสูตรมีระบบ และกลไก สารสนเทศในการบริหารงานวิจัย
2. หลักสูตรมีการจัดสรรห้อง และบรรยากาศให้เหมาะแก่การเขียนงานวิจัย
3. หลักสูตรส่งเสริม และกระตุ้นให้อาจารย์ตีพิมพ์บทความวิจัยทั้งในระดับชาติ และระดับนานาชาติ

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 244,620.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 100,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 344,620.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 13.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 26,509.23
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. ส่งเสริมใหอ้าจารย์ทุกท่านขอทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย และจากหน่วยงานภายนอกให้มากขึ้น โดยเฉพาะทุนวิจัยจากภายนอก

 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 7 38 12 7
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 42.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 13.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 324.62
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏ ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ อุดมศึกษาว่า ด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2562 มากถึง 7 ฉบับ และ บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่1 มากถึง 12 ฉบับ

 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบ และกลไก ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานวิจัยดีมาก
  2. มีงานวิจัยเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะบทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏ ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ อุดมศึกษาว่า ด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2562 มากถึง 7 ฉบับ และ บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่1 มากถึง 12 ฉบับ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ทางวิทยาลัยฯ ควรมีแผนการส่งเสริมให้อาจารย์ประจำมีผลงานวิจัยและบทความวิชาการของตนเอง นอกเหนือจากงานวิจัยที่เกิดจากการเป็นอาจารย์ท่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือดุษฏีนิพนธ์
  2. เนื่องจากมีการมีเปิดดำเนินการสอนเฉพาะในระดับบัณฑิตศึกษา ดังนั้นถ้าเป็นไปได้ขอเสนอให้มีการขอทุนอุดหนุนงานวิจัยเพิ่มขึ้น และอาจทำเป็นวิจัยชุดที่สามารถให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการย่อย

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. ควรเพิ่มบริการวิชาการที่นักศึกษามีส่วนร่วมมากขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนา เพิ่มศักยภาพ และเพิ่มประสบการณ์ให้แก่นักศึกษาด้วย
2. สร้างความร่วมมือกับโรงเรียนเพื่อการบริการวิชาการ โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมโครงการ และทำอย่างต่อเนื่อง
3. ควรมีการบริการวิชาการที่มีรายได้เพิ่มมากขึ้นด้วย
4. ควรจัดโครงการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เพื่อให้เห็นผลที่เกิดขึ้น และเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับหลักสูตร และมหาวิทยาลัย

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีวารสารของวิทยาลัยฯ และสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง >>>> แนวทางเสริม ควรเตรียมการสำหรับการยกระดับคุณภาพวารสารให้เข้าสู่ฐาน TCI 1 และ Scopus

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรเพิ่มบริการวิชาการที่นักศึกษามีส่วนร่วมมากขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนา เพิ่มศักยภาพ และเพิ่มประสบการณ์ให้แก่นักศึกษาด้วย
  2. ควรสร้างความร่วมมือกับโรงเรียน องค์การการศึกษาภายนอก เช่น สสอท. เป็นต้น เพื่อให้มีความร่วมมือทางวิชาการในการจัดบริการวิชาการ โดยให้นักศึกษาในหลักสูตรมีส่วนร่วมให้บริการ และทำอย่างต่อเนื่อง
  3. ควรมีการจัดโครงการบริการวิชาการที่มีรายได้มากขึ้น เช่น การจัดการอบรม สัมมนาด้านการศึกษา การเขียนงานวิจัย เป็นต้น นอกเหนือจากการจัดทำวารสาร
  4. วิทยาลัยฯ ควรมีแผนส่งเสริมให้อาจารย์ประจำได้มีโอกาสเข้าร่วมทำงานในคณะกรรมการด้านวิชาการ การศึกษากับองค์กรภายนอก เพื่อเป็นการสร้างชื่อเสียงและแสดงศักยภาพทางวิชาการ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีแนวทางในการบูรณาการเนื้อหาทางศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ลงในรายวิชานอกเหนือการจัดเป็นโครงการ กล่าวได้ว่ามีความเหมาะสมกับระดับปริญญาที่เปิดดำเนินการสอน >>> แนวทางเสริม ขอให้มีแนวทางใหม่ หรือ ปรับแผนกิจกรรมโครงการด้านนี้ เพื่อให้สามารถสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าทาง หรือการสืบสานวัฒนธรรม ศิลปะต่างๆ หรือภุูมิปัญญาไทย รวมไปถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการวัดผลประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นให้ชัดเจน ไม่ควรมีแต่การประเมินความพีงพอใจ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ควรกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายผลลัพธ์ของแผน เพื่อให้ผู้รับผิดชอบได้ใช้ในการรายงานผลการดำเนินงานตามแผน เพิ่มเติมจากการทำ รายงานผลการดำเนินงานโครงการ แบบ PDCA ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ต่อการนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงานในปีต่อไป
  2. การติดตามประเมินผลกิจกรรมหรือโครงการด้านนี้ ยังไม่ชัดเจน แนะนำให้ดู KR ในยุทธศาสตร์ที 5 เพื่อให้ทราบว่าเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของแผน ควรกำหนดอย่างไร

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 2
เรื่อง
  • ผลงานเรื่อง “Best Practice for Doctoral Advisor: International Students in Ed.D. Program, Suryadhep Teachers College” ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์อุไร ลิมปพัทธ์
  • ผลงานเรื่อง “ศาสตร์การสอนและการเรียนรู้: เสริมพลังอาจารย์ใหม่ สู่การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ” ของ ดร.ชิดชไม วิสุตกุล และ ดร.พิบูลย์ ตัญญบุตร
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • วิจัย วิจารณ์ เรียนรู้ประสบการณ์นักศึกษาเขียนงานวิจัย” ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ชยานุวัชร รองศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์สิทธิ์ แสงบุญ และรองศาสตราจารย์ ดร. สุมาลี ชิโนกุล
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ไม่มี

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. การบริหารคุณภาพการศึกษา ในทุกหลักสูตรที่เปิดดำเนินการสอน มีแน้วโน้มที่ดีมาก สะท้อนถึงความเอาใจใส่และความร่วมมือของคณะกรรมการหลักสูตร สามารถผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณภาพให้แก่สังคม ทำให้ในภาพรวมผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คณาจารย์และนักศึกษามีผลงานตีพิมพ์ในวารสารทั้งในฐานสากลและฐาน TCI เป็นจำนวนมาก >>> แนวทางเสริม การยกระดับคุณภาพของบทความวิจัย และการสร้างทีมวิจัยเพื่อขอทุนวิจัยภายนอก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ระบบและกลไกในการจัดทำแผน การติตตาม ประเมินผล ยังไม่ชัดเจน เสนอให้มีการปรับระบบและกลไกในการจัดทำแผนทุกระดับ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงของเป้าหมายจากระดับยุทธศาสตร์ลงสู่ระดับปฏิบัติการ การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จในระดับแผนกับระดับกิจกรรมหรือโครงการ ต้องให้มีความชัดเจน สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาคณะ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.75
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.49
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [11 ตัวบ่งชี้] 4.84

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 4 4.83 N/A 3.75 4.56 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.87 5.00 4.38 4.84 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี