รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์การกีฬา

วันที่ประเมิน: 17 ตุลาคม 2567, 09:00น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 2.92
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 5.85
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 2.92

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 29.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 13
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 44.07
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 29.50 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 0.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เนื่องจากอาจารย์ในคณะไม่มีท่านใดเลยที่มีตำแหน่งวิชาการ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญอย่างหนึ่ง ดังนั้นทางคณะควรจะมี process ที่จะใช้แก้ปัญหาให้ถูกจุดจริงๆ เท่าที่สังเกตุพบว่า มีอาจารย์จำนวนมากในคณะได้ยื่นขอใบรับรองจริยธรรมการวิจัยในคน แสดงว่าในคณะสนับสนุนให้อาจารย์มีงานวิจัย แต่เมื่ออาจารย์มีงานวิจัย แต่ทำไมถึงไม่มีการขอตำแหน่งวิชาการ ดังนั้นทางคณะควรจะพิจารณาตรงจุดนี้ ซึ่งอาจจะมาจาก
1. งานวิจัยทำไม่เสร็จ หรือไม่ได้ผลตามที่คาดหวังไว้ จนไม่สามารถนำไปเขียนเป็น manuscript เพื่อลงในวารสารวิชาการ (ส่วนตัวคิดว่า ไม่น่าจะเกิดจากปัญหานี้)
2. ปัญหาการเขียน Manuscript ซึ่งส่วนมากในวารสารวิชาการในฐาน Scopus จะให้เขียนเป็นภาษาอังกฤษ สำหรับปัญหาในส่วนนี้ทางคณะอาจจะจัด clinic การตีพิมพ์ โดยจัดให้อาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการเขียนเป็นผู้แนะนำ

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 463.11 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 27.50
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 16.84
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 110.50
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

พบว่าสัดส่วนระหว่างจำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์ ไม่เข้าเกณฑ์มาตรฐานคือ 8:1  ถ้าทางคณะต้องการทำให้ได้คะแนนเต็มในข้อนี้อาจทำได้โดย
1. ลดจำนวนนักศึกษาเพื่อให้ค่า FTES = 220  คือต้องลดจำนวนนักศึกษาประมาณครึ่งหนึ่งของปัจจุบัน 
2. เพิ่มจำนวนอาจารย์จาก 27.5 มาเป็น 57.89 หมายถึงคณะต้องเพื่อจำนวนอาจารย์อีกประมาณ 21 คน

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. อาจารย์ที่ปรึกษา 1 คนต่อนักศึกษา 15-25 คน อาจจะมากเกินไป (สืบเนื่องมากจากข้อ 1.4)
2.-
3. คณะมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมในเรื่องนี้ครบทั้ง 4 ชั้นปี
4. คณะมีการประเมินคุณภาพของกิจกรรมที่ทางคณะได้จัดทำ
5. อยากให้ทางคณะได้เขียนหรือแสดงว่าได้นำเอาผลการประเมินจากข้อ 4 มาใช้ปรับปรุงให้มากกว่านี้
6. -

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00
11
11
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. ขอหลักฐานเพิ่มในโครงการ Save and Raise PTSM ซึ่งทางคณะได้แจ้งว่าให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัด
2. ทางคณะได้มีการผนวกรายวิชา PTP477 และ PTP478 เข้ากับกิจกรรมด้วย
3. คณะควรจะให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่าจัดกิจกรรมอะไร ที่ไหน เมื่อไร และ
ขอหลักฐานเพิ่มในส่วนของกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา 
4. คณะได้จัดกิจกรรมหลายกิจกรรม เช่น โครงการพัฒนานักศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง, โครงการบำเพ็ญกุศลแก่ร่างอาจารย์ใหญ่, กิจกรรมไหว้ครู เป็นต้น เป็นไปตามหลักฐาน 
PDCA โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาสู่การเปลี่ยนแปลงด้านใน ปีการศึกษา 2566

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณาจารย์ในคณะมีวุฒิปริญญาเอกจำนวนมาก
  2. มีหลักสูตรที่น่าสนใจ ทันสมัย และสอดคล้องกับสังคมไทยในปัจจุบัน
  3. จำนวนนักศึกษามาก
  4. มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ยังไม่มีอาจารย์ที่มีตำแหน่งวิชาการ
  2. จำนวนนักศึกษาในหลักสูตรชรัณสุขศาสตร์ยังมีจำนวนน้อย

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีการดำเนินการครบ 6 ข้อ

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 250,220.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 3,117,750.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 3,367,970.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 27.50
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 122,471.64
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์สูงกว่าเกณฑ์

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 2 4
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.60 3.16
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 29.50
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 18.98
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 3.16

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยต่ำกว่าเกณฑ์ (อยู่ในระดับปานกลาง)

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์สูงกว่าเกณฑ์

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรหากลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. คณะมีการจัดทำแผนการบริการวิชาการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมและเสนอกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณาอนุมัติ
2. โครงการบริการวิชาการแก่สังคม มีการจัดทำแผนการใช้ประโยชน์ทุกโครงการ และแสดงได้ชัดเจน
3. มี 4 โครงการ
4. -
5.
-
6. - 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีโครงการบริการวิชาการทั้งแบบมีรายได้ และแบบให้เปล่า

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะขาดหลักฐานการดำเนินการบางอย่างเช่นการนำผลประเมิน มาปรับปรุงหรือพัฒนา

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มี ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เป็นไปตามเกณฑ์

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเป็นไปตามเกณฑ์

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาทักษะการเรียนการสอนและการประเมินเพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของนักศึกษาปัจจุบัน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาโต๊ะฝึกยืนสำหรับผู้ป่วยสมองพิการแบบกึ่งอัตโนมัติ
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 คณะมีการวิเคราะห์ SWOT ในการจัดทำแผนพัฒนาคณะ และสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัย โดยมีการจัดทำปฏิทินการดำเนินงานในแต่ละปีการศึกษา และดำเนินงานผ่านคณะกรรมการ จากการดำเนินงานพบว่าอาจารย์ประจำเข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการคณะเป็นประจำทุกครั้งที่มีการประชุม
ข้อ 2 คณะได้มีการวิเคราะห์ต้นทุนของแต่ละหลักสูตร เพื่อการบริหารหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ จากผลการดำเนินงานพบว่าหลักสูตรกายภาพบำบัดมีร้อยละของรายได้สูงกว่ารายจ่ายถึง 89.21% เห็นว่าควรตรวจสอบ หากเป็นการดำเนินการได้ตามที่อ้างถึงถือว่าหลักสูตรมีการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก (เอกสารอ้างอิงระบุว่าไม่คุ้มทุน)
ข้อ 3 คณะได้มีการวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยง แต่อย่างไรก็ตามคณะยังมีความเสี่ยงสูงในหลายเรื่อง อาจจะต้องวางมาตรการต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างเข้มข้น โดยอาจจะต้องกำหนดให้ผู้ที่มีศักยภาพเพื่อทำงานด้านนั้นอย่างจริงจัง และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน
ข้อ 6 แผนการบริหารและแผนการพัฒนาบุคลากร นอกจากการพัฒนาเพื่อเพิ่มความรู้ (อบรมสัมมนา) แล้ว ยังมีด้านอื่นๆ ด้วย เห็นว่าคณะมีเรื่องที่ต้องพัฒนาอีกหลายเรื่องควรที่จะกำกับติดตามอย่างใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น
ข้อ 7 ผ่าน

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 คณะมีการตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ รวมทั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อ 2 คณะมีการประชุมอย่างต่อเนื่องในการดำเนินงานของคณะ โดยในรอบปีมีการประชุมคณะกรรมการคณะจำนวน 8 ครั้ง 
ข้อ 3 คณะได้จัดสรรงบประมาณเพื่อการดำเนินงานด้านต่างๆ อย่างครบถ้วน แต่ขาดด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (คณะดำเนินการอย่างไร)
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน
ข้อ 6 ผ่าน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการดำเนินงานผ่านคณะกรรมการชุดต่างๆ มีการแบ่งภาระหน้าที่ชัดเจนอย่างเป็นระบบ ภายใต้การติดตามของคณะกรรมการประจำคณะ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะอาจจะต้องบริหารงานที่มีความเสี่ยงสูงเป็นลำดับต้นๆ นอกจากโครงการอื่นที่คณะทำได้ดีอยู่แล้ว ทั้งการวิเคราะห์รายบุคคล ศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำผลงานหลายเรื่องที่ทำไปสู่งานวิจัย
  2. สำหรับหลักสูตรชรัณสุขศาสตร์ที่มีการดำเนินงานไม่คุ้มทุนนั้น อาจจะต้องลองวิเคราะห์อย่างจริงจังถึงความต้องการของทั้งผู้เรียน และทิศทางความต้อง การของสังคม หากเห็นว่าไปในทิศทางที่ถูกแล้ว ก็ควรจัดทำแผนงานรวมทั้งงบประมาณในการดำเนินงานต่อไปอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อเสนอมหาวิทยาลัย หรืออาจจะเป็นวิชาโทสำหรับหลักสูตรที่ใกล้เคียงต่อไป

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 2.92
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 3.16
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.85

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 1.67 4.50 2.92 2.82 การดำเนินงานระดับพอใช้
2 3 5.00 5.00 3.16 4.39 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 2.50 4.86 3.04 3.85 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานต้องปรับปรุง การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับพอใช้