รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี

วันที่ประเมิน: 16 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
12 3.68
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 44.17
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.68

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 36.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 21
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 57.53
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 36.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 22
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 60.27
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 840.87 1.20
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 36.50
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 23.04
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 15.20
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 1.20

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ควรรับอาจารย์เพิ่ม
 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
11
11
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - ข้อ 1 ประเด็นนักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและการจัดกิจกรรม ยังไม่ชัดเจน ขอให้วิทยาลัยฯ เพิ่มเติม เช่น คำสั่งแต่งตั้ง รายงานการประชุมของสโมสรนักศึกษา
          - ข้อ 3 ขอให้วิทยาลัยฯ รายงานว่ามีนักศึกษาเข้าร่วมกี่ท่าน ผลที่ได้เป็นอย่างไร 
          - ข้อ 4 นำผลการประเมินฯ มาปรับปรุงการดำเนินการครั้งต่อไป เป็นอย่างไร ขอให้แนบรายงาน PDCA เข้ามา จะทำให้ชัดเจนขึ้น
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์มีคุณวุฒิปริญญาเอกและมีตำแหน่งทางวิชาการจำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. สัดส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ยังไม่เพียงพอ

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - วิทยาลัยฯ ควรหาแนวทางการปรับปรุงระบบสารสนเทศ เพื่อบริหารงานวิจัย จนนำไปสู่การนำไปใช้ที่เป็นรูปธรรมและเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการ น่าจะพัฒนาสู่การเป็นแนวปฏิบัติที่ดีเลิศได้
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 0.00 2.05
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 900,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 900,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 36.50
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 24,657.53
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 60000 2.05

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ขาดหลักฐานอ้างอิง
 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 6 13 25 27 9
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 52.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 36.50
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 142.47
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีงานวิจัยเป็นจำนวนมากเพียงพอต่อจำนวนอาจารย์

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรกระจายการผลิตผลงานวิจัยกับอาจารย์หลายท่าน
  2. ควรสนับสนุน ส่งเสริมให้คณาจารย์ขอสนับสนุนทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          มีโครงการบริการวิชาการที่หลากหลายและมีจำนวนโครงการที่มีรายรับเข้ามหาวิทยาลัยจำนวนมาก
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยมีโครงการบริการทางวิชาการจำนวนมาก มีความหลากหลาย และมีโครงการที่สามารถก่อให้เกิดรายได้เข้ามหาวิทยาลัยได้เป็นจำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. โครงการที่จัดร่วมกันทั้งวิทยาลัยยังมีจำกัดเพียงโครงการเดียว สามารถขยายโครงการที่จัดในระดับสาขาวิชาให้ครอบคลุมทั้งวิทยาลัยหรือสร้างโครงการใหม่เพิ่มเติม

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • 1) เทคนิคการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นให้มีบุคคลภายนอกเข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มยอดนักศึกษาแรกเข้าในหลักสูตรปริญญาโท SMT
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • เทคนิคการของทุนยุววิสาหกิจเริ่มต้น (Youth Startup Fund)“Prove of Concept” จาก กองทุนพัฒนาผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (TED Fund) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม : โครงการพัฒนาสกูตเตอร์ไฟฟ้าโมเดลใหม่ชื่อ Momen Mini Bike อาจารย์ศุภณัฐ จินตวัฒน์สกุล
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - มีการเชื่อมโยงเป้าประสงค์ของวิทยาลัยกับเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะช่วยให้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัย It สอดคล้อง สนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต
          - โครงการตามแผนปฏิบัติการ เชื่อมโยงกับจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค 
          - มีโครงการฝึกอบรม 18 โครงการ นอกจากหลักสูตรปริญญาเอก 2 หลักสูตร ปริญญาโท 3 หลักสูตร และปริญญาตรี 5 หลักสูตร
          - คณาจารย์มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารทั้งในฐานสากลและฐาน TCI  รวม 80 ฉบับคิดเป็นอัตราร้อยละ 142.47 ของจำนวนอาจารย์ประจำ แต่ทุนวิจัยภายใน 0 บาท ทุนวิจัยภายนอกรวมต่ออาจารย์ประจำ 900,000 บาท
          - มีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนการบริหารบุคลากรอย่างเป็นระบบ

 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - มีการดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้หลักสูตรภายใต้การกำกับดูแลของวิทยาลัยฯ มีการดำเนินการอย่างมีมาตรฐาน และพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. - มีการดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้หลักสูตรภายใต้การกำกับดูแลของวิทยาลัยฯ มีการดำเนินการอย่างมีมาตรฐาน และพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
  2. มีการกำกับติดตามแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น และมีตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
  3. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยฯ ที่เชือมโยงกับเป้าประสงค์และแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ฯ ตามผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค์ ของวิทยาลัยฯ รวมทั้งถ่ายทอดสู่แผนปฏิบัติการประจำปีได้อย่างครอบคลุม
  4. มีหลักสูตรฝึกอบรม นอกเหนือจากหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การกำกับการบริหารงานระดับหลักสูตร ในหลักสูตรที่มีระดับคุณภาพต่ำกว่า 3.51
  2. กำหนดโครงการ/กิจกรรม ตามแผนด้านการวิจัย เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ คณาจารย์ เขียนข้อเสนองานวิจัยเพื่อรับทุนจากแหล่งทุนทั้งภายในและภายนอก ตามศักยภาพของวิทยาลัยฯ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.68
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 1.20
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 2.05
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.38

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.73 5.00 3.68 4.15 การดำเนินงานระดับดี
2 3 2.05 5.00 5.00 4.02 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 3.31 5.00 4.34 4.38 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี