รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี

วันที่ประเมิน: 17 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
12 3.61
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 43.36
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.61

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

  • ระดับปริญญาตรี จำนวน  5 หลักสูตร  

  • ระดับปริญญาโท จำนวน  5  หลักสูตร  

  • ระดับปริญญาเอก จำนวน  2 หลักสูตร
     

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 39.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 23
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 58.97
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก เกินกว่าค่าเป้าหมาย (>40%)
 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 39.00 4.91
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 23
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 58.97
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.91

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- มี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 18 ท่าน รองศาสตราจารย์ 5 ท่าน
 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 1717.68 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 39.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 44.04
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 120.20
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง สูงกว่าค่ามาตรฐาน (20:1) =120.22% อาจส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษา จึงต้องมีการวางแผนบริหารบุคลากร / แผนกำลังคนให้สอดคล้องกับจำนวนนักศึกษา 
 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 
       - มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษา 
       - ส่วนการรายงานเกี่ยวกับการพัฒนานักศึกษาอาจจะไม่สอดคล้องกับประเด็นนี้
ข้อ 2
       - ให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่นักศึกษาด้วยเครื่องมือ/ระบบสารสนเทศที่หลากหลาย 
ข้อ 3
       - มีโครงการที่เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานแก่นักศึกษาทั้งระดับวิทยาลัย และระดับสาขา/หลักสูตร 
ข้อ 4
       - ผลประเมินคุณภาพอาจารย์ที่ปรึกษาโดยภาพรวม ได้คะแนนประเมินเฉลี่ย 4.76 
       - ผลประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาในภาพรวมได้คะแนนเฉลี่ย 3.88
       - ผลประเมินโครงการหรือกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา ได้คะแนนเฉลี่ย 4.38
ข้อ 5
       -
ข้อ 6
       -

 

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
17
17
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1
       
ข้อ 2

       - มีโครงการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ 5 ประการครบถ้วน ทั้งระดับคณะ และหลักสูตร
ข้อ 3

       - มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพแก่นักศึกษา พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดด้านวิทยากร คะแนนเฉลี่ย 4.63 ความเหมาะสมของสื่อออนไลน์ 4.25 และน้อยที่สุดคือด้านการนำไปใช้ 3.94
ข้อ 4 

       - โครงการรวม17 โครงการ บรรลุ 100%
ข้อ 5
       -
ข้อ 6

       
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีหลักสูตรทั้งปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เป็นจำนวนมาก สามารถดำเนินการได้ตั้งแต่ระดับพอใช้ ถึง ดีมาก
  2. มีกิจกรรมนักศึกษาที่ครอบคลุมการพัฒนานักศึกษาในด้านต่าง ๆ ครบทุกด้าน และมีโครงการทั้งในระดับวิทยาลัย และระดับหลักสูตร
  3. มีคณาจารย์ที่มีคุณวุฒิสูง (ปริญญาเอก 40% มีตำแหน่งทางวิชาการเข้าใกล้ 60%)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. เนื่องจากค่าเบี่ยงเบนสัดส่วนอาจารย์ประจำต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าเบี่ยงเบนจากเกณฑ์กลุ่มสาขามากกว่า 120% จึงอาจส่งผลต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอน การดูแลนักศึกษา ตลอดจนภาระงานของคณาจารย์ วิทยาลัยฯ จึงควรมีการวางแผนกำลังคนระดับวิทยาลัยฯ เพื่อตอบสนองการเพิ่มขึ้นของนักศึกษาในวิทยาลัยฯ
  2. วิทยาลัยฯ ควรมุ่งวิเคราะห์สาเหตุและแนวทางการดำเนินการในหลักสูตรที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรต่ำกว่า 3.00

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- มีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนและเผยแพร่งานวิจัยที่ดีมาก
- มีห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย เพียงพอ
- ควรมีการยกย่องอาจารย์ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม บน website คณะ

 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 905,866.25 2.27
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 155,598.75
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 1,061,465.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 39.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 27,217.05
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 60000 2.27

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนเงินทุนวิจัยภายนอกยังมีน้อยเมื่อเทียบกับศักยภาพของอาจารย์ 
อาจเป็นทุนนวัตกรรมก็ได้

 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 5 11 12 25 26
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 58.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 39.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 150.26
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่มีคุณภาพสูงจำนวนมาก
2. ผลงานตีพิมพ์บางวารสารในฉบับเดียวกันมีเป็นจำนวนมาก
3. ผลงานตีพิมพ์ในวารสาร TCI 1 มีเป็นจำนวนมากและเป็นวารสารทั่วไป ควรเน้นวารสารทางด้าน IT

 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบและกลไกในการสนับสนุนการวิจัยที่ดีมากโดยเฉพาะห้องปฏิบัติการ และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
  2. มีผลงานวิชาการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีมาตรฐานสูง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. เงินทุนวิจัยภายนอกยังมีน้อย เมื่อเทียบกับศักยภาพของอาจารย์ในวิทยาลัย ควรหาทางส่งเสริมการขอทุนทางด้านนวัตกรรมจากภาครัฐและเอกชนที่สนับสนุนการใช้งานด้าน IT และดิจิตอล รวมถึงธุรกิจออนไลน์
  2. ผลงานตีพิมพ์ในวารสารถ้าเป็นไปได้ควรเลือกวารสารที่เน้นทางด้านไอที เพื่อความเข้มแข็งและชื่อเสียงของวิทยาลัยมากขึ้น

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีแผนบริการวิชาการที่ครอบคลุม
มีการบริการวิชาการแก่สังคมเป็นจำนวนมาก

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีแผนการบริการวิชาการที่ครอบคลุมทั้งทางด้านวิชาการและบริการแก่ชุมชน
  2. มีการบริการวิชาการเป็นจำนวนมากทั้งแบบมีรายได้และแบบให้เปล่า จึงเป็นหน่วยงานที่ใช้ศักยภาพที่มีเป็นประโยชน์ทั้งด้านวิชาการและสาธารณประโยชน์

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

       1. กำหนดให้รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบและประธานคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ทำหน้าที่ประสานงานกับสถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม ในระดับมหาวิทยาลัย
       2. มีการจัดทำแผนด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมไว้เพื่อกำหนดกิจกรรมและแผนงานที่จะดำเนินการตลอดปีการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปีของวิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี ปีการศึกษา 2566 และเป็นไปตามกลไกการพัฒนาของมหาวิทยาลัยรังสิต ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของมหาวิทยาลัยรังสิต (2565-2569)
       3. มีการกำกับ และติดตามให้มีการดำเนินงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมให้เป็นไปตามแผนอย่างต่อเนื่อง มีรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบจะทำหน้าที่ติดตามการดำเนินงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ได้ใช้ระบบการติดตามโดยเสนอเข้าที่ประชุมกรรมการประจำวิทยาลัย
       4. มีการประเมินผลความสำเร็จของแผนงานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมตามตัวบ่งชี้ความสำเร็จที่ได้กำหนดไว้
       5. มีคณะกรรมการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เสนอต่อคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ร่วมกันนำข้อเสนอแนะและพิจารณาจากกระบวนการปฏิบัติงาน  เพื่อนำไปปรับปรุงแผนและโครงการ/กิจกรรม โดยให้ผู้รับผิดชอบนำไปปรับปรุงแก้ไข กิจกรรมที่จะดำเนินงานในปีต่อไป
       6. มีการสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการเผยแพร่โครงการกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน โดยโครงการและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่ได้ดำเนินการในปีการศึกษา 2566 มีการเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมไทยผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์สื่อมีเดียต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร ได้แก่ประเพณีสงกรานต์และกิจกรรมการสวมใส่ผ้าไทย
  2. มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งนำไปบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอดคล้องกัน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรส่งเสริมการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในภาพรวมทุกสาขา โดยให้สอดแทรกในโครงการพัฒนานักศึกษาที่สาขาจัดทำขึ้นของแต่ละสาขาเพิ่มเติม
  2. ควรดำเนินการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในด้านอื่นต่อไป

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • 3) เทคนิคการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นให้มีบุคคลภายนอกเข้าร่วมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มยอดนักศึกษาแรกเข้าในหลักสูตรปริญญาโท SMT (ปีที่ 2)
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การสร้างเครือข่ายการพัฒนางานวิจัย
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
1
เรื่อง
  • 2) สร้างอิทธิพลบนโลกโซเชียล เพื่อสื่่อสารภาพลักษณ์และชื่อเสียงของหลักสูตร ให้เป็นที่รู้จักในระดับชาติและนานาชาติ
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 
       - มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยฯ โดยหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากร โดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่ชัดเจน เชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย และมี KR ต่าง ๆ อย่างชัดเจน 
ข้อ 2

       - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ  และ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เนื่องจากตั้งแต่ปีการศึกษา 2564 ทั้ง 2 หลักสูตรอยู่ในสถานะปิดแบบมีเงื่อนไข 
       - ทุกหลักสูตร คุ้มทุน
       - มีโครงการอบรม 13 โครงการ
       - มีโครงการที่ปรึกษา
       - มีการใช้จ่ายงบประมาณโครงการพัฒนาต่าง ๆ >90%
ข้อ 3

       - มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่ผ่านการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ อย่างครบถ้วน ดำเนินการในการจัดการ ควบคุม เพื่อลดความเสี่ยงต่าง ๆ 
ข้อ 4

       - หลักธรรมาภิบาล 10 ประการ มาใช้ในการบริหารงาน โดยคำนึงถึงประโยชน์ของคณะและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานให้ไปสู่ ทิศทางที่กำหนดร่วมกันระหว่างผู้บริหาร และคณะกรรมการประจำคณะ
ข้อ 5

       - ได้รับรางวัลดีเด่น จำนวน 2 รางวัล ซึ่งเป็นรางวัลจากการเสนอแนวปฏิบัติที่ดี ประจำปีการศึกษา 2566
ข้อ 6

       - มีการนำข้อมูลของบุคลากร เช่น จำนวนบุคลากรทั้งหมด จำนวนบุคลากรจำแนกตามคุณวุฒิ ฯลฯ มาทำการวิเคราะห์สถานการณ์ และจัดทำเป็นแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปีการศึกษา 2566
       - มีแผนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สายวิชาการพัฒนาด้านความรู้และทักษะวิชาชีพ และจัดทำโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี และบรรลุผลทุกโครงการ
       - มีการยกย่องเชิดชูอาจารย์และบุคลากรผ่านทางช่องทางสื่อสารต่าง ๆ
ข้อ 7

       -
 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ดำเนินการครบถ้วน
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยฯ โดยหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากร โดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ที่ชัดเจน เชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย และมี KR ต่าง ๆ อย่างชัดเจน
  2. มีการนำข้อมูลของบุคลากร มาทำการวิเคราะห์สถานการณ์ และจัดทำเป็นแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ตลอดจนแผนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
  3. มีการยกย่องเชิดชูอาจารย์และบุคลากรผ่านทางช่องทางสื่อสารต่าง ๆ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีการจัดทำแผนด้านกำลังคนที่ตอบสนองต่อจำนวนนักศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์กลุ่มสาขาวิชา
  2. เนื่องจากมีหลักสูตรที่มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรต่ำกว่า 3.00 ขอให้วิทยาลัยฯ วิเคราะห์และดำเนินการเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการดำเนินงานของหลักสูตร

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.61
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.91
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 2.27
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.29

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.30 5.00 3.61 3.92 การดำเนินงานระดับดี
2 3 2.27 5.00 5.00 4.09 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 3.05 5.00 4.31 4.29 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี