รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

วิทยาลัยเภสัชศาสตร์

วันที่ประเมิน: 17 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 4.08
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 8.15
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 4.08

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 92.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 61
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 65.95
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 92.50 3.87
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 43
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 46.49
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 3.87

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 728.73 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 91.50
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 7.96
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -0.50
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ผลการดำเนินงานยอดเยี่ยม
 

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
5
5
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ผลการดำเนินงานยอดเยี่ยม
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม และสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ได้รับการรับรองหลักสูตรและปริญญาตามกระบวนการรับรองปริญญาทางเภสัชศาสตร์จากสภาเภสัชกรรม ถือว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานของหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ส่วนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ และปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นประจำทุกปี และมีคะแนนจากการประเมิน ในระดับดีและดีมาก ทั้งสองหลักสูตร อย่างต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาและอาจารย์ที่มีคุณภาพทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี
  2. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกจำนวนมาก ซึ่งเพียงพอต่อปริมาณนักศึกษาที่คงอยู่ในหลักสูตรฯ และวิทยาลัยได้ส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
  3. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่ครุภัณฑ์พื้นฐานสำหรับการเรียน มีสภาพใช้งานได้ดีและมีจำนวนเพียงพอสำหรับการเรียนการสอนและการทำวิจัยของทั้งอาจารย์และนักศึกษา นอกจากนี้ยังมีโครงการต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา ทั้งในและนอกห้องเรียน ที่เป็นการพัฒนานักศึกษาได้ครบถ้วนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาทั้ง 5 ด้าน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรสนับสนุนและส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจำให้มีจำนวนมากขึ้น เพื่อสนับสนุนคุณภาพของอาจารย์ให้เพิ่มสูงขึ้น

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - คณะเภสัชศาสตร์ มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการที่ดีมาก ครบถ้วน
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 1,859,020.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 3,136,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 4,995,020.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 91.50
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 6.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 51,230.97
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 2 0 2 38
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 40.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 92.50
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 6.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 41.02
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มีระบบการส่งเสริมงานวิจัยของอาจารย์และนักวิจัยที่มีประสิทธิภาพอย่างดียิ่งจนเห็นผลงานเป็นที่ประจักษ์ทั้งทางด้านทุนวิจัยและผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
  2. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มีทุนวิจัยเป็นจำนวนมากทั้งทุนวิจัยภายในและภายนอกสถาบันโดยเฉพาะได้รับทุนวิจัยภายนอกได้รับเป็นจำนวนมาก และมีผลทำให้มีการทำวิจัยที่มีประสิทธิภาพ
  3. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ที่มีการส่งเสริมงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนมีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติจำนวนมากและต่อเนื่องทุกปี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ผลงานวิจัยที่เป็นผลิตภัณฑ์และสามรถจดทะเบียนอนุสิทธิบัตรถ้าพัฒนาจนเป็นสิทธิบัตรจะเป็นการเพิ่มคุณค่างานวิจัยให้ดียิ่งขึ้น

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

           - แผนการใช้ประโยชน์ ควรระบุถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ชุมชน อาจารย์ นักศึกษา ได้รับประโยชน์จากแต่ละโครงการอย่างไร
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. หากโครงการบริการวิชาการสามารถบูรณาการกับการเรียนการสอนหรือการวิจัย และเกิดผลลัพธ์เป็นรูปธรรมได้ จะช่วยให้งานบริการวิชาการเกิดประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้น

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ยอดเยี่ยมตามที่เขียนรายงาน
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยเภสัชศาสตร์มีการกำหนดตำแหน่งและแต่งตั้งผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและสื่อสารองค์กร เพื่อร่วมวางแผนการดำเนินโครงการ/กิจกรรม กับรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ทำให้การดำเนินงานของวิทยาลัย ทั้งด้านการจัดกิจกรรม การสื่อสารเพื่อประสานงานความร่วมมือ และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี
  2. วิทยาลัยให้ความสำคัญที่จะใช้กิจกรรมทางด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ให้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการหล่อหลอมขัดเกลาจิตใจนักศึกษาให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง และเป็นผู้อ่อนโยน เข้าใจสังคมและสิ่งรอบข้างได้ดี มีทัศนคติในการดำรงชีวิตที่ดี รู้จักการเสียสละ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพบัณฑิต
  3. วิทยาลัยได้สร้างเครือข่ายการดำเนินกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับองค์กรศาสนาระดับชาติ เช่น วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร โดยตกลงจัดทำบันทึกความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อเป้าหมายในการสร้างกิจกรรมสืบสานพระพุทธศาสนา ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างยั่งยืน ซึ่งในปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยสามารถผนวกกิจกรรมการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา บูรณาการเข้าสู่การเรียนการสอนในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตได้สำเร็จ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. วิทยาลัยควรดำเนินการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการทำ content กิจกรรมเพื่อเผยแพร่ผ่าน social media เพื่อเพิ่มการรับรู้ต่อสาธารณชน ให้มากขึ้น

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 2
เรื่อง
  • โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกปฏิบัติงานภาคพื้นฐาน (From Stress to Wellness และ ก้าวต่อไปด้วย Resilience)
  • การเรียนรู้เชิงรุกเพื่อนักศึกษา
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 2
เรื่อง
  • การสกัดสารสู่การจดอนุสิทธิบัตร
  • การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบและต้านมะเร็งในหลอดทดลองของสมุนไพรไทยสูตรผสม (In vitro antioxidant, anti-inflammatory, and anticancer activities of mixture Thai medicinal plants)
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
1
เรื่อง
  • โครงการบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อส่งเสริม และสนับสนุนด้านจริยธรรม คุณธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และสร้างสรรค์แนวทางปฏิบัติที่ดีในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาระหว่างวิทยาลัยเภสัชศาสตร์ และวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - ข้อ 4 บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการที่อธิบายการดำเนินงานอย่างชัดเจน ตรวจสอบจากเว็บ HRD มีทั้งหมด 5 เรื่อง
 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - หากมีการแต่งตั้งคณะกรรมการโดยใช้ชื่อ คณะกรรมการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพ ตรงๆ จะทำให้มีความชัดเจนมากขึ้นในการสื่อสาร
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ผลการประเมินคุณภาพในทุกๆ องค์ประกอบ อยู่ในระดับดีมาก แสดงให้เห็นการบริหารจัดการที่ดีของทางวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 4.08
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3.87
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.84

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.62 5.00 4.08 4.66 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.72 5.00 4.54 4.84 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก