รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์

วันที่ประเมิน: 5 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
3 4.00
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 12.00
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 4.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

การปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ (ปีที่เริ่ม 2558) ควรมีรายงานการปรับปรุงหลักสูตรในรอบ 5 ปี  ซึ่งตรงกับปี 2563 (โปรดตรวจสอบ SAR หน้า 9, 22 และ 24)

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 17.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 9
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 52.94
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 17.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 13
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 76.47
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 355.88 3.84
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 17.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 20.93
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 4.65
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 3.84

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีการคำนวณค่าร้อยละความแตกต่างจากเกณฑ์มาตรฐานได้ = 4.65  
ซึ่งมีค่าที่มากกว่าร้อยละ 0.01 แต่น้อยกว่าร้อยละ 20
เมื่อเทียบเป็นคะแนนได้  =  5 - (4.65/4)  =  3.84

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. การรายงานผลการดำเนินงานเกี่ยวกับการบริการวิชาการ ควรอยู่ในตัวบ่งชี้ที่ 3.1
2. มีการรายงานผลการปรับปรุงพัฒนาการบริการนักศึกษาจากผลประเมินและข้อคิดเห็นของนักศึกษาในปีที่ผ่านมาได้อย่างชัดเจน

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
34
22
64.71

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะได้ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา รวมทั้งสิ้น 34 กิจกรรม มีการติดตามและประเมินผลโครงการ / กิจกรรมตามวัตถุประสงค์โครงการ รวมทั้งสิ้น 22 กิจกรรม

- เพิ่มเติ่มหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่านักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและการจัดกิจกรรม เช่น รายงานการประชุมของฝ่ายกิจการนักศึกษาของคณะ เป็นต้น

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีผลการบริหารจัดการหลักสูตรในระดับดี แสดงให้เห็นถึงกระบวนการบริหารจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
  2. อาจารย์ประจำคณะมีคุณวุฒิและตำแหน่งวิชาการในระดับสูงแสดงให้เห็นถึงคุณภาพของอาจารย์ในเชิงวิชาการและงานวิจัยที่นำไปใช้ในการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ
  3. คณะมีการจัดการบริการนักศึกษาอย่างครบถ้วนและมีการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะมีการจัดโครงการและกิจกรรมที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณลักษณ์ของบัณฑิตครบทั้ง 5 ด้าน ควรมีการติดตามและแสดงผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมให้ครบทุกกิจกรรม

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการงานวิจัยได้ดีมาก

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 656,000.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 1,655,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 2,311,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 17.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 135,941.18
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 60000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 6 14 2 2 16
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 25.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 17.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 150.59
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการการพัฒนางานวิจัยของอาจารย์และนักศึกษา - มีระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมงานวิจัย - มีห้องวิจัยและเครื่องมือที่ทันสมัย - มีความร่วมมือกับทั้งระดับชาติและนานาชาติทั้งของภาครัฐและเอกชนในการจัดประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่งานวิจัย - ส่งเสริมอาจารย์ในการพัฒนางานวิจัยอย่างต่อเนื่อง
  2. คณะมีการส่งเสริมให้มีการขอทุนวิจัยโดยเฉพะทุนวิจัยจากภายนอกสถาบันซึ่งได้เป็นจำนวนมาก
  3. อาจารย์ของวิทยาลัยได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการในทุกระดับทั้งระดับชาติและนานาชาติเป็นจำนวนมากและมีค่าน้ำหนักของผลงานสูง และที่มีความโดดเด่นคือคณาจารย์ได้รับการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตรเป็นจำนวนมากแสดงถึงการสร้างผลงานหรือสิ่งประดิษฐ์จนเป็นที่ยอมรับ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. พัฒนางานอนุสิทธิบัตรให้ได้ถึงสิทธิบัตร

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. ควรแสดงเอกสารอ้างอิงที่เป็นแผนการบริการวิชาการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคม เพื่อเปรียบเทียบกับผลการดำเนินโครงการในข้อ 4 ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่
2. หากคณะดำเนินการปรับแก้ไขเอกสารหลักฐาน สามารถปรับผลการประเมินได้

3. รายงานการประชุม และการปรับปรุงแผนบริการทางวิชาการ ในปีการศึกษา 2565

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีศักยภาพในการบริการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานักศึกษา สังคมและชุมชนภายนอก ทั้งแบบมีรายได้และให้เปล่าอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรแสดงเอกสารอ้างอิงที่เป็นแผนการบริการวิชาการประจำปีที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมที่ชัดเจน เพื่อเปรียบเทียบกับผลการดำเนินโครงการในข้อ 4 ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ควรเพิ่มเอกสารการประชุมกรรมการคณะที่มีการรายงานผลการดำเนินการและการปรับปรุงตามผลการดำเนินการของโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
แสดงผลการประเมินเพื่อปรับปรุงว่ามีความต้องการที่จะให้จัดงานที่ให้ศิษยเ์ก่ากบัศิษยป์จจุบันพบกนั มากขึ้น

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์มีโครงการด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งด้านนสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ง
  2. อาจารย์บุคลากร นกัศึกษารวมถึงศิษยเ์ก่าในวิทยาลยัมีความสามคัคีให้ความร่วมมือและประสานงานใน การทำกิจกรรมอย่างเข้มแข็ง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การสร้างความเป็นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต (Excellence in Education)
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การเพิ่ม citation หรือ h index ของนักวิจัย
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-ขอให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานตามข้อ (1) / แผนยุทธศาสตร์/แผนกลยุทธ์
-ขอให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานตามข้อ (2) เอกสารจาก สนง งบประมาณ
-ขอให้เพิ่มเติมรายการหลักฐานตามข้อ (6) การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน
-มีกิจกรรมเพื่อสนับสนุนโครงการตามพันธกิจของวิทยาลัยฯ และแผนยุทธศาสตร์พัฒนาวิทยาลัย 36 กิจกรรม 6 โครงการ
-มีการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทั้งสายงานวิชาการและงานสนับสนุน จนเกิดผลชัดเจน

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรอยู่ในระดับดีขึ้นไป
-ขอรายการหลักฐานตามข้อ 1/2/4/5/6

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรทั้งสายงานวิชาการและงานสนับสนุน จนเกิดผลชัดเจน
  2. มีโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ 6 โครงการ ประกอบด้วย 36 กิจกรรม ซึ่งบรรลุผล และสร้างความพึงพอใจต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมในระดับสูง
  3. มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานของวิทยาลัยฯ ให้มีความโดดเด่น

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 3.84
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.83

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.61 5.00 4.00 4.64 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.71 5.00 4.50 4.83 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี