รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์

วันที่ประเมิน: 8 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
3 4.16
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 12.47
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 4.16

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีหลักสูตรดำเนินการอยู่ 3 หลักสูตร มีผลการประเมินเฉลี่ย 4.16 อยู่ในระดับดีมาก

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 19.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 10
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 52.63
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกจำนวน 10 ท่าน จาก 19 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 52.63 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 19.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 14
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 73.68
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการจำนวนค่อนข้างมาก คิดเป็นร้อยละ 73.68 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 268.30 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 19.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 14.12
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -29.40
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีการดำเนินการจัดกิจกรรมที่หลากหลายครอบคลุมหลายด้านและทุกชั้นปี ทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ ศิลปวัฒนธรรม และด้านอื่นๆ มีการนำผลประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการให้บริการ นศ. อย่างต่อเเนื่อง

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
22
22
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีการดำเนินการกิจกรรมโดยเกิดจากการมีส่วนร่วมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ครอบคลุมทุกด้าน มีการประเมินความสำเร็จ และนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนและการจัดกิจกรรมครั้งต่อๆไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยฯ มีคณาจารย์ที่มีตำแหน่งวิชาการจำนวนมาก
  2. วิทยาลัยฯ มีการดำเนินการให้บริการนักศึกษา และจัดกิจกรรมนักศึกษาี่ครอบคลุมครบถ้วนในทุกด้าน มีจำนวนกิจกรรมมาก จัดต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา เข้าถึงกลุ่มนักศึกษาได้ทุกระดับชั้นปี มีการประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. สัดส่วนอาจารย์ประจำต่อนักศึกษาเกินเกณฑ์มาตรฐาน วิทยาลัยฯ ควรประเมินและจัดทำแผนกำลังคนเพื่อให้อัตราส่วนดังกล่าวเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวการณ์ปัจจุบันที่ศาสตร์ด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์เป็นที่สนใจ และบัณฑิตเป็นที่ต้องการของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม และการบริการทางการแพทย์ ส่งผลให้มีผู้สนใจเข้าเรียนในหลักสูตรเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีการดำเนินการครบทั้ง 6 ข้อ

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 836,000.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 1,485,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 2,321,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 19.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 122,157.89
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 60000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ ได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายในและภายนอก คิดเป็น 122,157.89 ต่ออาจารย์ 1 ท่าน

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 7 13 0 1 24
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 31.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 19.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 165.26
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

วิทยาลัยฯ มีผลงานวิชาการจำนวนมาก ซึ่งประกอบด้วยผลงานทางวิชาการที่มีค่าถ่วงน้ำหนักมาก (คุณภาพสูง) จำนวนมาก

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยฯ มีผลงานวิชาการ ที่มีคุณภาพสูง (ค่าถ่วงน้ำหนักมาก) จำนวนมาก
  2. วิทยาลัยฯ ได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายนอกและภายใน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีการเชื่อมโยงการทำผลงานวิชาการเข้ากับการส่งเสริมการสร้างทีมวิจัย เพื่อผลักดันการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการที่สูงขึ้นของอาจารย์ประจำ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยมี โครงการ/กิจกรรมในการให้บริการวิชาการจำนวนมาก ทั้งเป็นโครงการที่สร้างรายได้ และ โครงการแบบให้เปล่า และเกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่ม
  2. บุคคลากรของวิทยาลัย มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย และ ภายนอกมหาวิทยาลัย และเกี่ยวข้องกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
  3. วิทยาลัยมีความพร้อมด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ สถานที่ และมีการจัดตั้ง ศูนย์นวัตกรรมและบริการวิศวกรรมชีวการแพทย์ ศูนย์การศึกษาและพัฒนามาตรฐานบริการสุขภาพนานาชาติ และ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีวิศวกรรมชีวการแพทย์ ในการให้บริการวิชาการกับนักศึกษา และ บุคคลทั้วไป

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การปรับทัศนคติของอาจารย์ที่เข้ามาใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของวิทยาลัย

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยฯ มีระบบและกลไกด้านการบำรุงศิลปะวัฒนธรรม และมีการจัดเตรียมงบประมาณเพื่อดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  2. อาจารย์ นักศึกษา และ ศิษย์เก่า มีส่วนร่วมในกิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  3. กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีการวางแผน และติดตามแผน และประเมินความสำเร็จของแผนและมีการแผยแพร่กิจกรรมด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรจะมีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน การวิจัย หรือการบริการวิชาการ

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การเรียนการสอนและการผลิตบัณฑิตที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความสามารถในการเรียนการสอน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 2
เรื่อง
  • การสร้างความเป็นเลิศด้านการพัฒนางานวิจัยของวิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์
  • เทคโนโลยีสุขภาพสู่ชุมชน: การนำนวัตกรรมมาใช้ในการดูแลสุขภาพในทุกบ้าน
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 
-มีการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัย ที่พัฒนามาจากการวิเคราะห์ SWOT ที่ชัดเจน มีความเชื่อมโยงกับแผนงานด้านต่างๆ ทุกพันธกิจ สามารถนำไปสู่การปฏิบัติเป็นแผนปฏิบัติการ และแผนงานโครงการต่างๆ อย่างครบถ้วน
-แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัย มีรายละเอียดที่เชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของวิทยาลัยที่ชัดเจน

ข้อ 2 
-มีการวิเคราะห์ทางการเงินที่ชัดเจน แสดงถึงความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารจัดการ
-ทุกหลักสูตรมีความคุ้มทุน และมีผลลัพธ์การดำเนินงานตามพันธกิจต่างๆ ที่แสดงถึงศักยภาพในการใช้งบประมาณให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด

ข้อ 3 
-มีแผนบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงในการดำเนินงานต่างๆ นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงได้อย่างแท้จริง

ข้อ 4
-นำเสนอการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลที่ครบถ้วนทุกประเด็น

ข้อ 5
-มีการจัดการความรู้ในประเด็นยุทธศาสตร์ 2 = 2 เรื่อง
-เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีศักยภาพในการบริหารจัดการในระดับสูง จึงควรมีการจัดทำการจัดการความรู้ด้านอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ต่อคณะ/สถาบันอื่น นำไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ

ข้อ 6 
-กำหนดสมรรถนะพิเศษของบุคลากรในระดับคณะที่ชัดเจน และใช้ในการกำกับติดตามแผนการพัฒนาบุคลากรทั้งระดับบุคคลและระดับวิทยาลัยฯ 
-มีการจัดกิจกรรม/ โครงการเพื่อพัฒนาบุคลากรตามยุทธศาสตร์และสมรรถนะที่กำหนดไว้

ข้อ 7
-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- มีผลการประเมินคุณภาพระดับหลักสูตรในเกณฑ์สูงมาก
- มีการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค แนวทางการพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรอย่างชัดเจน 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยฯ ที่เป็นผลมาจากการวิเคราะห์เชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของวิทยาลัยฯ และสร้างการมีส่วนร่วมแก่บุคลากรทุกระดับในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของวิทยาลัยฯ
  2. การดำเนินงานของวิทยาลัยฯ สะท้อนการมุ่งเน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการนำหลักธรรมาภิบาลมาเป็นแนวทางสำคัญในการบริหารจัดการ ร่วมกับวิสัยทัศน์ และความมุ่งมั่นของผู้บริหารทุกระดับ และบุคลากรทุกฝ่าย
  3. มีหลักสูตรที่มีคุณภาพสูง อันเป็นผลมาจากการนำแนวคิดด้านการประกันคุณภาพมาเป็นแนวทางในการดำเนินงาน มีการทบทวนผลการดำเนินงานจนนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานทั้งระดับหลักสูตร และระดับคณะอย่างต่อเนื่อง
  4. มีศักยภาพด้านการจัดการความรู้ โดยเฉพาะด้านการวิจัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. เนื่องจากวิทยาลัยฯ มีศักยภาพสูงในการบริหารจัดการ จึงควรมีการถอดความรู้ ด้านการพัฒนาองค์กร เพื่อเป็นแนวทางของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน อื่น ใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 4.16
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.94

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 5.00 5.00 4.16 4.86 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 5.00 5.00 4.58 4.94 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก