รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์

วันที่ประเมิน: 2 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
14 3.37
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 47.12
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.37

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 77.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 45
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 58.44
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 77.00 4.11
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 38
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 49.35
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.11

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 924.72 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 75.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 12.33
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -38.35
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
10
6
60.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ในการรายงานผลการดำเนินงานข้อ 2 ควรเขียนอธิบายในการเชื่อมโยงกิจกรรมกับการพัฒนาผลการเรียนรู้ที่ได้จากการร่วม
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกมาก
  2. มีกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ 5 ประการ ที่หลากหลายและเกิดประโยชน์โดยตรงกับนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. วิทยาลัยควรส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีการดำเนินการครบทั้ง 6 ข้อ 
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 231,089.25 3.05
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 2,512,146.94
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 2,743,236.19
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 75.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 36,576.48
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 60000 3.05

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

           วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน เป็นจำนวนเงินค่อนข้างสูง (2,743,236.19 บาท) และด้วยความที่เป็นวิทยาลัยที่มีหลายสาขาวิชา จึงมีอาจารย์ทั้งคณะเป็นจำนวนมาก ทำให้แงินสนับสนุนงานวิจัยต่ออาจารย์เป็นจำนวนเงินที่ยังไม่ถึงเกณฑ์ 5 คะแนน แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่มีเงินสนับสนุนจากภายนอกเป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจเป็นต้นแบบให้อาจารย์หลายๆท่านได้มีแนวทางในการรับทุนสนับสนุนเช่นกันในปีต่อๆ ไป
 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 12 13 2 12
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 26.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 77.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 34.03
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

อาจารย์มีผลงานทางวิชาการเป็นจำนวนมากและคุณภาพดี 
 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ในวิทยาลัยมีเป็นจำนวนมาก หลากหลายรูปแบบและมีหลายผลงานที่ได้การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล SCOPUS
  2. วิทยาลัยได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายนอกสถาบันเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นแนวทางที่ดีในการสนับสนุนให้อาจารย์ในวิทยาลัยยื่นขอรับการสนับสนุนในปีต่อๆไป

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. สร้างทีมวิจัยพี่เลี้ยงจากอาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการยื่นขอทุนสนับสนุน เพื่อให้อาจารย์ท่านอื่นๆที่มีความสนใจอยากขอทุนสนับสนุน แต่ยังขาดประสบการณ์จะได้มีโอกาสในการยื่นขอรับทุนสนับสนุนมากขึ้น

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 - 2
          - หากวิทยาลัยแยกแผนบริการวิชาการและแผนการใช้ประโยชน์ ออกจากแผนพัฒนาวิทยาลัย ปี 2565 – 2569 จะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมหรือโครงการทางด้านการบริการวิชาการมีแนวทางที่ชัดเจน และสามารถประเมินความสำเร็จของแผนและโครงการได้ง่าย(ทั้งนี้เพราะแผนพัฒนาวิทยาลัย ไม่ได้มียุทธศาสตร์ที่เน้นเรื่องการบริการวิชาการเหมือนในแผนที่ 2562 – 2564)
          - วิทยาลัยมีการบริการวิชาการผ่านศูนย์บริการวิชาการของวิทยาลัย หลากหลายโครงการ หากการบริการวิชาการเหล่านั้นอยู่ในแผนบริการวิชาการของคณะอยู่แล้ว น่าจะนำมาอ้างอิงเพิ่มเติมในส่วนนี้ได้เพราะมีหลายโครงการ และเป็นบริการวิชาการที่ชัดเจน
ข้อ 3
          โครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 อย่างน้อยต้องมีโครงการที่บริการแบบให้เปล่า : ข้อนี้วิทยาลัยมีครบ
ข้อ 4 
          ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และนำเสนอกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณาผลการดำเนินงาน : ข้อนี้เป็นการประเมินความสำเร็จตามตัวชี้วัดของแผน ซึ่งหากมีแผนบริการวิชาการที่ชัดเจนจะสามารถประเมินได้ง่ายขึ้น ที่ไม่ใช่การประเมินความสำเร็จของโครงการ

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. วิทยาลัยมีศูนย์บริการวิชาการของวิทยาลัยและมีกิจกรรมโครงการที่เป็นการบริการวิชาการในส่วนของคณาจารย์อย่างชัดเจน หากนำโครงการบริการวิชาการที่มีอยู่ เป็นส่วนหนึ่งของแผนบริการวิชาการของคณะ จะสามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่และเป็นแนวทางในการให้บริการสังคมให้กับบุคลากรในวิทยาลัย
  2. หากวิทยาลัยมีแผนบริการวิชาการและแผนการใช้ประโยชน์ออกจากแผนพัฒนาวิทยาลัย จะสามารถกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ทำการประเมินแผน และพัฒนาแผนได้อย่างชัดเจน

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการติดตามประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ทั้งในระดับแผน และระดับโครงการ รวมทั้งการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงแผนการดำเนินงานในปีต่อไปที่ชัดเจน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การพัฒนากลยุทธ์การสอนสําหรับวิชาบรรยายร่วมกับการทําโครงงาน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          1 ผลการดำเนินงานข้อ 2 บางหลักสูตรมีรายจ่ายต่อหัวในระดับสูงมากกว่าหลักสูตรอื่น ไม่แน่ใจว่าเป็นเพราะเหตุใด
          2 ผลการดำเนินงานข้อ 5 ไม่พบข้อมูลการจัดทำ KM ตามที่ HRD กำหนด แต่การตรวจสอบในฐานข้อมูล HRD พบ 1 เรื่อง ที่เกี่ยวกับยุทธฯ 1 ทำให้ไม่ครอบคลุม 2 ด้านตามเกณฑ์ ยังขาดด้านการวิจัย (https://drive.google.com/file/d/1HAtKV3xfl4EjzHXyd9VckwGMZabihsFY/view?pli=1)
          3 ผลการดำเนินงานข้อ 6 ประเด็นการกำกับติดตามน่าจะมีหลักฐานอ้างอิงที่เป็นรายงานการประชุมของวิทยาลัย

 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ปรับการดำเนินการเรื่อง KM ให้เป็นไปตามเกณฑ์การรายงานผลการดำเนินงานในระบบประกันคุณภาพและอาจนำประเด็นด้านการบริการวิชาการและกิจการนักศึกษามาจัดทำเป็น KM เพิ่มเติมในอนาคต

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.37
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.11
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 3.05
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.58

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.70 5.00 3.37 4.58 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 3.05 5.00 5.00 4.35 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 4.50 - 4.50 การดำเนินงานระดับดี
ผลการประเมิน 4.29 4.86 4.19 4.58 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี