รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

สถาบันการบิน

วันที่ประเมิน: 9 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
1 3.45
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 3.45
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.45

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 8.00 4.69
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 37.50
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 4.69

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 8.00 3.13
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 37.50
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 3.13

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 13.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 8.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 1.69
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -91.55
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
8
7
87.50

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนโครงการและกิจกรรม ที่คณะระบุ 8 โครงการ/กิจกรรม แต่ไม่ได้ระบุชื่อโครงการ/กิจกรรมให้เห็นชัดเจน 
และไม่สอดคล้องกับรายงานสรุปผลประเมินการดำเนินงาน (เอกสารหลักฐาน กบอ.1.1.6.5.15)

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์ของคณะมีตำแหน่งทางวิชาการในระดับสูง (ศาสตราจารย์)
  2. คณะมีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านคุณสมบัติของการเป็นนักบิน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรระบุอาจารย์ที่ต้องขอตำแหน่งทางวิชาการ และหาแนวทางสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์สามารถขอตำแหน่งทางวิชาการได้

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 77,100.00 0.80
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 0.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 77,100.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 8.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 9,637.50
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 60000 0.80

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 2 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 1.20 2.50
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 8.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 15.00
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 2.50

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรระบุแผนพัฒนาตนเองในด้านการทำวิจัย และติดตามผลเพื่อหาแนวทางพัฒนาผลงานวิจัย

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เกณฑ์ข้อ  1  ไม่มีแผนการบริการวิชาการของสถาบันที่ชัดเจน  มีแต่ไปรวมอยู่ในส่วนอื่นและหน่วยงานอื่น ๆ    
        -  SAR หน้า 51  ให้ตัดข้อความเกี่ยวกับโควิด 19  ออก
        -  SAR หน้า 52  ตารางการบริการที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นให้นำไปอยู่ในข้อ 4

เกณฑ์ข้อ 2  SAR หน้า 53  ให้ตัดข้อความเกี่ยวกับโควิด 19  ออก

เกณฑ์ข้อ 3  ระบุให้ชัดเจนว่าช่องทางการออกรายการโทรทัศน์คือช่องใด  รายการใด  วันเวลาที่ออกรายการคือเมื่อใด  และการจัดรายการทางสถานีวิทยุของมหาวิทยาลัยรังสิตคือเรื่องใด  และจัดเมื่อใด

เกณฑ์ข้อ 4  หลักฐานอ้างอิงลำดับที่ 1  เป็นการประเมินหลักสูตร  ไม่ใช่การประเมินบริการวิชาการ 
        -  SAR หน้า 53  ไม่มีบอกผลการประเมินการบริการวิชาการที่ปฏิบัติว่าตรงกับแผนที่กำหนดไว้หรือไม่  อย่างไร  ทั้งจำนวนผู้เข้าร่วมจริง  ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ  ปัญหาและข้อเสนอะแนะจากการจัดโครงการ

เกณฑ์ข้อ  5  ไม่มีการเสนอแผนที่จะใช้แก้ปัญหาในปีถัดไป

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ไม่มี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรจัดทำแผนการบริการทางวิชาการของสถาบันให้ชัดเจน โดยระบุชื่อโครงการและรายละเอียดที่แยกจากองค์ประกอบอื่นและหน่วยงานอื่น ๆ จะทำให้เห็นแผนงานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
  2. ให้เพิ่มเอกสารหลักฐานแผนการบริการวิชาการของสถาบันการบิน และเพิ่มเอกสารหลักฐานรายงานผลการบริการวิชาการและการประเมินความสำเร็จตามวัถตุประสงค์ของแผนบริการวิชาการ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เกณฑ์ข้อ  2  มีแผนยุทธศาสตร์ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม  แต่ไม่มีการระบุชื่อโครงการและรายละเอียดที่ชัดเจนที่จะดำเนินการ

เกณฑ์ข้อ  4  SAR หน้า 62  หัวข้อผลการดำเนินงาน
        - ให้เปลี่ยน "แผนพัฒนาสถาบันการบิน  พ.ศ. 2560-2564"  เป็น "2565-2569"   
        - ตัดข้อความเกี่ยวกับโควิด 19  ออก  และระบุชั้นปีของนักศึกษาและจำนวนผู้เข้าร่วมให้ตรงกับ PDCA  โครงการ  พร้อมบอกผลคะแนนเฉลี่ยที่ได้ประเมิน  

เกณฑ์ข้อ 5  ไม่มีการเสนอแผนปรับปรุงที่จะใช้ในปีการศึกษาถัดไป

เกณฑ์ข้อ 6  ควรเพิ่มภาพกิจกรรมที่แสดงการเข้าร่วมหรือบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณะให้มากขึ้น
     

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ไม่มี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรจัดทำแผนการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมโดยมีชื่อโครงการ ตัวชี้วัด และรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน
  2. ควรรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนให้ชัดเจน

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • สร้างความเป็นเลิศทางการศึกษาและการผลิตบัณฑิต
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 1
เรื่อง
  • Thailand Negotiation and Sales Competition 2022 (TNSC 2022)
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
1
เรื่อง
  • การบริหารภาพลักษณ์และการสร้างความมีชื่อเสียง
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เกณฑ์ข้อ 1 ไม่พบรายการหลักฐาน กบ.อ2.2.1.1.08 แผนพัฒนาสถาบันการบิน พ.ศ. 2565-2569 ตามเล่มรายงานแต่พบ กบ.อ5.5.1.6.01 แผนพัฒนาสถาบันการบิน พ.ศ. 2565-2569 แทน ขอให้ดำเนินการตรวจสอบความสอดคล้องของการกำหนดรหัสเอกสารอ้างอิงในเล่มและในระบบ DBS ให้สอดคล้องกันโดยตลอด
ไม่พบ กบ.อ5.5.1.1.03 รายงานการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนพัฒนาสถาบันการบิน มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 กับแผนพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2565-2569 และ  กบ.อ5.5.1.1.04 การวิเคราะห์ SWOT ของสถาบันการบิน ทั้งนี้ใน ข้อนี้ ควรประกอบด้วย อย่างน้อย 1) แผนยุทธศาสตร์คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน 2) รายงานการวิเคราะห์ SWOT (ปรากฎในแผนแล้ว) 3) รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน เกี่ยวกับแผนดังกล่าว 4) แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจำปี 5) รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำฯ เกี่ยวกับการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนดังกล่าว ในกรณีนี้ เมื่อมีการเปลี่ยนแผน จึงควรมีรายงานการประชุมคณะกรรมการประจำฯ เพื่อประเมินผลการดำเนินงานของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาฯ ที่ผ่านมา

เกณฑ์ข้อ 2 ปีการศึกษาที่ผานมาการใช้งบประมาณ ทั้งในส่วนของโครงการพัฒนา/การพัฒนานักศึกษา/การพัฒนาอาจารย์ มีระดับน้อยมาก (<50%) ขอให้สถาบันทบทวนการดำเนินงานในประเด็นดังกล่าว เนื่องจากผลของการใช้งบประมาณดังกล่าว อาจส่งผลให้ บุคลากร/นักศึกษา/สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ไม่ได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะตามที่หลักสูตร/คณะ ต้องการ...ประเด็นนี้ย่อมส่งผลต่อ องค์ประกอบที่ 6 (6.1) ของระดับหลักสูตร // ขอให้ตรวจสอบแนวทางการกำหนดรหัสเอกสาร และการแนบเอกสารอ้างอิง ในระบบ DBS ให้เป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานของ สนง ประกันคุณภาพ
เกณฑ์ข้อ 3 ไม่พบรายงานการบริหารความเสี่ยงระดับคณะ 
เกณฑ์ข้อ 4 -
เกณฑ์ข้อ 5 ไม่พบ KM ด้านการวิจัย ซึ่งเป็นประเด็นที่ต้องดำเนินการ
เกณฑ์ข้อ 6 ขอให้เพิ่มเติม แผนการบริหารและพัฒนาบุคลากร ซึ่งควรประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธ์กิจ ของงานทรัพยากรบุคคล สถานการณ์บุคลากรของสถาบัน ทิศทางในการบริหาร/พัฒนา อาทิ ความต้องการจำเป็นเรื่องคุณวุฒิ และตำแหน่งทางวิชาการ ประสบการณ์วิชาชีพ ฯลฯ แนวทางการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งพัฒนา อาทิ การพัฒนาด้านทักษะการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาด้านการประเมินผล หรืออื่น ๆ และแนวทางการประเมินผลตามแผนบริหาร/พัฒนาบุคลากรนั้น
เกณฑ์ข้อ 7 -

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เกณฑ์ข้อ 4  ควรเพิ่มเติมรายงานการประชุมคณะกรรมการประจำสถาบัน เกี่ยวกับผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
เกณฑ์ข้อ 5 ระบุการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากกรรมการประจำ คณะมาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ให้ชัดเจนว่า ดำเนินการอย่างไร

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. เป็นสถาบันการผลิตนักบินพาณิชย์ที่มีอัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ เฉพาะ สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีผลการดำเนินงานประเมินคุณภาพระดับหลักสูตรในระดับดี 3.45
  2. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์องค์กร ที่สอดคล้องกับทิศทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย รวมทั้งเป็นผลมาจากการวิเคราะห์สถานการณ์ภายใน และภายนอก เพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงแข่งขัน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. จัดทำแผนบริหาร/พัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับบริบทของสถาบันฯ และทิศทางการพัฒนาของสถาบันในอนาคต
  2. พัฒนากิจกรรมการจัดการความรู้ โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการสอน และการวิจัย* รวมทั้งนำผลการจัดการความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาองค์กร
  3. ทบทวนระบบ/กลไกการประกันคุณภาพภายในระดับหลักสูตร โดยเฉพาะประเด็นกระบวนการ เพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการหลักสูตรที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และให้มีการรายงานผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรและระดับคณะ ผ่านคณะกรรมการประจำคณะ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.45
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4.69
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3.13
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 0.80
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 2.50
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 3.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 3.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 3.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.58

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.27 5.00 3.45 4.38 การดำเนินงานระดับดี
2 3 0.80 5.00 2.50 2.77 การดำเนินงานระดับพอใช้
3 1 - 3.00 - 3.00 การดำเนินงานระดับพอใช้
4 1 - 3.00 - 3.00 การดำเนินงานระดับพอใช้
5 2 - 3.00 - 3.00 การดำเนินงานระดับพอใช้
ผลการประเมิน 3.41 3.86 2.98 3.58 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับพอใช้