รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะเศรษฐศาสตร์

วันที่ประเมิน: 26 ตุลาคม 2566, 10:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
4 3.33
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 13.30
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.33

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 11.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 9
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 81.82
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 11.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 8
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 72.73
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 243.06 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 11.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 22.10
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -11.60
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1. เพิ่มเอกสารในฐานข้อมูล ศฐ.อ1.1.5.1.06: รายงานการประชุม วาระการจัดงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่       
ข้อ 2. หน้า 30 
ควรมีการอธิบาย หรือให้รายละเอียด  ของโครงการเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
1.โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
2.โครงการฝึกงาน
3. โครงการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
4.โครงการเตรียมความพร้อมบัณฑิตสู่การทำงาน
ขาดเอกสารในฐานข้อมูล ศฐ.อ1.1.5.2.04:PDCA โครงการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
ข้อ 6. การรายงานผลการดำเนินการขอให้รายงานเชื่อมโยงกับการดำเนินการที่แสดงในหลักฐานอ้างอิง ได้แก่
เอกสารการปรับปรุงการให้บริการผ่านแบบสอบถามภาวะการมีงานทำของบัณฑิต แล้วคณะนำไปดำเนินการอย่างไร ควรมีการอธิบาย

****** ให้แสดงเอกสารหลักฐานตามที่ได้รายงานใน SAR ให้ครบถ้วนในระบบฐานเอกสารกลาง DBS

 
        

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
8
8
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ควรรายงานผลการดำเนินการที่เชื่อมโยงถึง นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เนื่องจากมีการนำเสนอเฉพาะระดับ ป.ตรี (เพิ่มรายงานการประชุมของ นศ.มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนกิจกรรมของนักศึกษา)
ข้อ 2. ตรวจสอบรายการเอกสารอ้างอิงในระบบฐานข้อมูล DBS ไม่ครบ ได้แก่ ศฐ.อ1.1.6.2.03 
ข้อ 3. ตรวจสอบรายการเอกสารอ้างอิงในระบบฐานข้อมูล DBS ไม่ครบ ได้แก่ ศฐ.อ1.1.6.4.03 
ข้อ 5. รายการในระบบข้อมูลไใ่ตรงกัน เช่น ศฐ.อ1.1.6.5.01 แต่เล่มรายงานเป็น ศฐ.อ1.1.6.2.01 
ข้อ 6 เอกสารในฐานข้อมูลมีไม่ครบตามเล่มรายงาน ระบุไว้ 3 แต่มี 1 ขาด ศฐ.อ1.1.6.2.02 และ ศฐ.อ1.1.6.6.03 


***** ให้แสดงเอกสารหลักฐานตามที่ได้รายงานใน SAR ให้ครบถ้วนในระบบฐานเอกสารกลาง DBS

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. การจัดกิจกรรมนักศึกษา ให้ดำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
  2. สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริงของคณะเศรษฐศาสตร์ 22.10 (จากเกณฑ์มาตรฐานต่ำกว่าสัดส่วน 25:1) ทำให้สามารถดูแล การให้คำปรึกษา และส่งเสริมศักยภาพนักศึกษาได้
  3. คณาจารย์ของคณะมีคุณวุฒิสูง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินทุกหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ ในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตให้มีค่าผลการประเมินที่สูงขึ้น
  2. การส่งเสริมอาจารย์ประจำคณะให้มีตำแหน่งทางวิชาการ
  3. การให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า ควรมีการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมให้เห็นอย่างชัดเจนโดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
2.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 2.  ตรวสอบรายการอ้างอิงในระบบฐานข้อมูลไม่ครบ 
ข้อ 3   ตรวสอบรายการอ้างอิงในระบบฐานข้อมูล
ข้อ 4.  รายงานเกี่ยวกับการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หน้า 55  ควรใส่ข้อมูลให้สมบูรณ์
          ตรวจสอบหมายเลขเอกสารอ้างอิง
ข้อ 5.  ควรนำเสนอรายละเอียดของการดำเนินการ ได้แก่ อาจารย์ที่ได้รับรางวัลสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย
          ตรวจสอบหมายเลขเอกสารอ้างอิงในเล่มรายงานไม่ตรงกับฐานข้อมูล
ข้อ 6.  ตรวจสอบหมายเลขเอกสารอ้างอิงในเล่มรายงานไม่ตรงกับฐานข้อมูล


***** ให้แสดงเอกสารหลักฐานตามที่ได้รายงานใน SAR ให้ครบถ้วนในระบบฐานเอกสารกลาง DBS

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 0.00 0.55
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 30,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 30,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 11.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 2,727.27
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 0.55

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ตรวจสอบรายการอ้างอิงระหว่างรายงานกับระบบฐานข้อมูลให้ตรงกัน

ไม่พบสัญญาทุนวิจัย

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 4 5 6 3
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 12.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 11.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 114.55
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ปรับรายการเอกสารอ้างอิงในเล่มรายงาน กับระบบฐานข้อมูลในตรงกัน

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์มีผลงานวิชาการที่มีการเผยแพร่จำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ส่งเสริมการขอทุนสนับสนุนงานวิจัยให้เพิ่มขึ้น

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1.คณะมีการรายงานการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามเกณฑ์การบริการวิชาการ มีวัตถุประสงค์ของแผนการบริการวิชาการ ในเชิงปริมาณ
1.1 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่เผยแพร่ต่อสาธารณะ ที่บริการแบบให้เปล่า อย่างน้อย 2-3 โครงการ
1.2 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่เน้นแก่ให้ชุมชนท้องถิ่น ที่บริการแบบให้เปล่า อย่างน้อย 1 โครงการ
1.3 จำนวนโครงการหรือหลักสูตรอบรมระยะสั้น เพื่อบริการวิชาการที่มีรายได้เข้ามหาวิทยาลัย อย่างน้อย 1 หลักสูตร
ควรแสดงการ mapping กิจกรรมตามวัตถุประสงค์รายข้อ และประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และควรเพิ่มวัตถุประสงค์ที่เป็น social impact assessment และการสร้าง value ทั้งที่ไม่ใช่ตัวเงินและเป็นตัวเงิน

2.ในส่วนของแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ ขอให้คำนึงถึงการเอาผลลัพธ์จากการบริการวิชาการไปทำประโยชน์ต่อไป

ข้อสังเกต (ประธาน)
1. ขาดแผนบริการวิชาการ
2. ขาดแนวทางการใช้ประโยชน์
3. ข้อ 4. ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และนำเสนอกรรมการประจำคณะ เพื่อพิจารณา ไม่พบเอกสารหลักฐาน

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการรายงานการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามเกณฑ์การบริการวิชาการ มีวัตถุประสงค์ของแผนการบริการวิชาการ เชิงปริมาณครอบคลุมทั้งการบริการวิชาการแบบสู่สาธารณะ และแบบเฉพาะ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. แผนการบริการวิชาการควรแสดงการ mapping กิจกรรมตามวัตถุประสงค์รายข้อ แล้วประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และควรเพิ่มวัตถุประสงค์ที่เป็น social impact assessment และการสร้าง value ทั้งที่ไม่ใช่ตัวเงินและเป็นตัวเงิน
  2. ในส่วนของแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ ขอให้คำนึงถึงการเอาผลลัพธ์จากการบริการวิชาการไปทำประโยชน์ต่อไป

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1.มีการจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน แต่ไม่ได้ระบุกิจกรรมและไม่ได้ระบุงบประมาณในแผน(เช่นกิจกรรมตามเกณฑ์ข้อ 2.)
2.มีการกำหนดวัตถุประสงค์ตามแผน และมีการ mapping ทักษะการเรียนรู้กับมาตรฐานคุณวุฒิ แต่ไม่เห็นการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
3.ในปีการศึกษา 2566 คณะจะปรับปรุงแผนให้มีการบูรณาการกิจกรรมทางด้านศิลปและวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมเข้ากับรายวิชาเพิ่มขึ้น

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ในปีการศึกษา 2565 คณะเศรษฐศาสตร์ได้ดำเนินการเผยแพร่กิจกรรมและการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชนผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์หลักของคณะ (เพจเฟสบุ๊คคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต) และเว็บไซต์ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งในปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจของคณะจำนวน 2,616 คน และคาดว่าจะเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆจากการเผยแพร่กิจกรรมต่างๆของคณะ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. มีการจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน แต่ไม่ได้ระบุกิจกรรมและไม่ได้ระบุงบประมาณในแผน(เช่นกิจกรรมตามเกณฑ์ข้อ 2.)
  2. มีการกำหนดวัตถุประสงค์ตามแผน และมีการ mapping ทักษะการเรียนรู้กับมาตรฐานคุณวุฒิ แต่ไม่เห็นการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
  3. ในปีการศึกษา 2566 คณะควรจะปรับปรุงแผนให้มีการบูรณาการกิจกรรมทางด้านศิลปและวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมเข้ากับรายวิชาเพิ่มขึ้น และเพิ่มความร่วมมือกับกลุ่มคณะและองค์กรภายนอกให้มากยิ่งขึ้น

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 0
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1) เพิ่มเติม รายงานการวิเคราะห์ SWOT และรายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ เพื่อรับทราบแผนยุทธศาสตร์ ระยะ ๕ ปี และเนื่องจากเป็นรอยต่อระหว่างแผนยุทธศาสตร์เดิม กับแผนยุทธศาสตร์ใหม่ น่าจะมีการประเมินความสำเร็จของแผนยุทธศาสตร์เดิมเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ใหม่ด้วย ซึ่งจะทำให้การกำหนดทิศทางการดำเนินงานของคณะ เป็นไปตามเป้าหมาย / วิสัยทัศน์ / พันธกิจ ที่กำหนดไว้
2) -
3) - 
4) -
5) ไม่ได้ดำเนินการเรื่อง KM
6) ควรมีแผนการบริหาร/พัฒนาบุคลากร ของคณะ ที่ระบุ ตัวชี้วัด ความสำเร็จ เป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะถ่ายทอดสู่แผนพัฒนารายบุคคล และ ยังไม่พบรายการหลักฐาน
7) เน้นการให้การประกันคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ การตตรวจสอบคุณภาพ รวมทั้งการประเมินคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานของคณะ

และไม่พบรายงานการประชุม กก. คณะ//ตรวจสอบความถูกต้องของปีการศึกษาในรายงาน


***** ให้แสดงเอกสารหลักฐานตามที่ได้รายงานใน SAR ให้ครบถ้วนในระบบฐานเอกสารกลาง DBS

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1) ระบบและกลไก อาทิ การเสนอความต้องการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร การปรับปรุงสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตาม องค์ประกอบที่ ๖ คณะ มีระบบและกลไก อย่างไร หรือในองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น การกำการมาตรฐาน ระบบและกลไก การรับอาจารย์/การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ระบบและกลไก การปรับปรุงหลักสูตร >> โดยปกติ ดำเนินการผ่านอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คำถาม...ในระดับคณะ มีการสนับสนุน และควบคุมกำกับ อย่างไร ให้ "มีคุณภาพ" 
2) คณะกรรมการคณะ มีบทบาทในการกำกับติดตาม ระบบ และกลไก ตามข้อ 1 หรือ เป็นคณะกรรมการวิชาการ ของคณะ...แล้วรายงานต่อกรรมการคณะ
ตรวจสอบความสอดคล้องของรายการหลักฐาน กับการรายงานผลการดำเนินการ
3) -

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีหลักสูตรในความรับผิดชอบ 4 หลักสูตร ซึ่งบริหารจัดการ และกำกับควบคุม ให้มีคุณภาพ เป็นไปตามเกณฑ์
  2. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ สามารถขับเคลื่อนองค์กรอย่างมีธรรมาภิบาบครบถ้วนทุกด้าน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ดำเนินการเรื่องการจัดการความรู้ในองค์กร
  2. ควรมีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของคณะ เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์การดำเนินการ ตลอดจนถ่ายทอดยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าว สู่แผนงานและแผนปฏิบัติการ ภายใต้การกำกับของคณะกรรมการประจำคณะ

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.33
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 2.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 0.55
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 3.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.07

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 5.00 5.00 3.33 4.72 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 0.55 2.00 5.00 2.52 การดำเนินงานระดับพอใช้
3 1 - 4.00 - 4.00 การดำเนินงานระดับดี
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 4.00 - 4.00 การดำเนินงานระดับดี
ผลการประเมิน 3.89 4.14 4.17 4.07 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดี