รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะเศรษฐศาสตร์

วันที่ประเมิน: 11 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
4 3.33
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 13.34
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.33

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มี 4 หลักสูตร
และมี 1 หลักสูตรที่ได้คะแนนประเมินระดับหลักสูตร 2.86 
ขอให้คณะตั้งเป้าหมายของ ตบช นี้ใหม่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของคณะ อาทิ 3.51 ขึ้นไป หรือ 3.01 ขึ้นไป 

 

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 12.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 10
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 80.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีอาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก 10 คนจาก 12.5 คน
 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 12.50 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 8
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 64.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 8 คน

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 272.75 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 12.50
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 21.82
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -12.72
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- ควรมีนักศึกษาต็มเวลาเทียบเท่า <312.5 คน
- อาจารย์สามารถดูแลนักศึกษาได้อย่างทั่วถึง 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1
-

ข้อ 2
-มี website และ FB เป็นช่องทางในการสื่อสารกับนักศึกษา

ข้อ 3
-มีการเชิญศิษย์เก่ามาให้คำแนะนำแก่นักศึกษา
-
ข้อ 4
-มีผลการประเมิน 3.84, 4.45, 4.56
-ขอให้วิเคราะห์ผลการประเมินระบบให้คำปรึกษาทางวิชาการ และการใช้ชีวิตแก่นักศึกษาในคณะ

ข้อ 5
-

ข้อ 6
-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
7
7
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1
-นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและการจัดกิจกรรม (มีรายงานการประชุม)

ข้อ 2 
-มีโครงการ 7 โครงการ และสามารถเชื่อมโยงกับคุณลักษณะบัณฑิต LO ได้อย่างครบถ้วน

ข้อ 3
-ระบุจำนวนนักศึกษาเข้าร่วมจำนวนกี่คน 

ข้อ 4
-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีโครงการพัฒนานักศึกษาที่ครอบคลุมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานครบถ้วน และสามารถดำเนินการให้บรรลุตาม ตบช ความสำเร็จของโครงการ/แผนงาน ได้ 100%
  2. มี อาจารย์ต่อ FTES ต่ำกว่าเกณฑ์ สามารถดูแลนักศึกษาได้อย่างทั่วถึง
  3. มีหลักสูตร ป.ตรี โท และเอก ที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกัน เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านวิชาการและพันธกิจการผลิตบัณฑิต เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการให้แก่คณะ
  4. อาจารย์มีคุณวุฒิสูง และมีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นจำนวนมาก (>60%)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. มีหลักสูตรที่มีผลการประเมินคุณภาพระดับหลักสูตร <3.00 จึงจำเป็นต้องทบทวนการดำเนินงานของหลักสูตรตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพ

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 347,417.50 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 22,252.50
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 369,670.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 12.50
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 29,573.60
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-



 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 4 4 1 7
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 11.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 12.50
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 94.40
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีงานเผยแพร่ในช่องทางที่มีค่าน้ำหนักสูง (วารสารนานาชาติในฐานข้อมูล Scopus) เป็นจำนวนมาก
  2. มีจำนวนทุนสนับสนุนงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกสูงกว่าค่าเป้าหมาย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการบริหารงานวิจัยของคณะเองให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในด้านของการผลิต การเผยแพร่ และการนำไปใช้ประโยชน์

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. จุดแข็งของโครงการที่คณะเศรษฐศาสตร์ทำโดยเฉพาะระดับบริการวิชาการให้แก่สาธารณะในวงกว้าง ระดับบริการวิชาการเข้มข้นเจาะลึกในชุมชนเป้าหมาย และระดับบริการวิชาการที่เน้นแก่ชุมชนท้องถิ่น/คน/ความรู้/ทักษะเฉพาะด้าน ที่สามารถเกิดการขยายความร่วมมือไปยังสถาบันและเครือข่ายต่างๆ หลากหลายมายิ่งขึ้น มีทั้งชุมชนท้องถิ่น พรรคการเมือง สื่อสารมวลชน เครือข่ายนักวิจัยทางเศรษฐกิจภาคประชาชน
  2. มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องยาวนานมาจนถึงปีที่ 14 พัฒนาให้เป็นสื่อการสอน
  3. สามารถต่อยอดองค์ความรู้ในทางศาสตร์เศรษฐศาสตร์จากโครงการที่ให้บริการทางวิชาการ เช่น ความรู้ด้านการทำสำรวจเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน ให้แก่ชุมชน เพื่อเป็นฐานข้อมูลชุมชน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรมีการวัดอย่างเป็นรูปธรรมของความสำเร็จจากโครงการที่ต่อเนื่องมา 14 ปี ความต่อเนื่องเป็นตัวชี้วัดที่ดีประการหนึ่ง แต่การวัดความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการเป็นสิ่งที่ควรได้รับการบันทึกไว้อย่างเป็นระบบ
  2. การต่อยอดความรู้ เรียนจากห้องเรียน รวมถึงการใช้เครื่องมือทางดิจิทัลที่ใช้ในการเรียนการสอนไปถ่ายทอดสู่ชุมชน และนำไปใช้ในการทำวิจัยชุมชน ควรมีการวางแผนและกลไกอย่างเป็นระบบ ระบุแผนและความรับผิดชอบ ตลอดจนวิชาเรียนที่เกี่ยวข้อง
  3. ควรขยาย ยกระดับโครงการไปยังปริญญาโท และปริญญาเอก

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบูรณาการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเข้ากับการจัดการเรียนการสอน การพัฒนานักศึกษาและการบริการวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ไม่มี

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การส่งเสริมความเป็นนานาชาติด้วยการทำ MOU และจัดกิจกรรมการประชุมทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนเยี่ยมเยีนระหว่างประไทย
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การสร้างนวัตกรรมงานวิจัยด้วยการส่งเสริมให้อาจารย์และนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก สามารถเผยแพร่ผลงานระดับ SCOPUS ได้
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 
-มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาผ่านการสัมมานประจำคณะ และร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์การแปลงแปลงในบริบทต่าง ๆ อย่างรอบด้าน ร่วมกับการวิเคราะห์ SWOT 

ข้อ 2
-มี 4 หลักสูตร ป.ตรี 1 ป.โท 1 และ ป.เอก 2 หลักสูตร และทุกหลักสูตรมีรายได้สูงกว่ารายจ่าย + คุ้มทุน
-มีการใช้งบประมาณด้านการพันาบุคลากร เพียง 0.40%

ข้อ 3
-

ข้อ 4
-

ข้อ 5
-

ข้อ 6
-

ข้อ 7
-



 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการจัดการเรียนการสอน 4 หลักสูตร ทั้งปริญญาตรี โท และเอก ที่สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความสามารถในการแข่งขันกับหลักสูตรอื่น ๆ ของสถาบันของรัฐและเอกชน
  2. มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะฯ ที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงบริบทต่าง ๆ ภายใต้การมีส่วนร่วมของบุคลากร ครอบคลุมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
  3. มีการพัฒนาบุคลากรของคณะอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. เนื่องจากการใช้งบประมาณด้านการพัฒนาบุคลากรของคณะอยู่ในร้อยละที่น้อย ขอให้พิจารณาดำเนินการใช้จ่ายด้านการพัฒนาบุคลากรให้เกิดผลสูงสุด
  2. เพิ่มการบูรณาการแนวคิดด้านการประกันคุณภาพ / การพัฒนาคุณภาพ ในการบริหารจัดการของคณะเพิ่มขึ้น ทั้งการควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ เพื่อให้การดำเนินงานของคณะมีคุณภาพสูงยิ่งขึ้น
  3. ดำเนินการด้านการพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรปริญญาเอกของคณะอย่างต่อเนื่อง โดยการนำผลการประเมิน ข้อเสนอจากคณะกรรมการประเมิน และคณะกรรมการประจำคณะ เป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพของหลักสูตร ให้มีระดับคะแนนคุณภาพที่สูงขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.33
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.87

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 5.00 5.00 3.33 4.72 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 5.00 5.00 4.17 4.87 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี