รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะดิจิทัลอาร์ต

วันที่ประเมิน: 9 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
3 3.45
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 10.36
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.45

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 23.00 0.54
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 4.35
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 0.54

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- อาจจะทำแผนพัฒนารายบุคคล สำหรับบุคลากรที่สามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกได้ 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 23.00 4.35
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 12
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 52.17
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.35

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- สนับสนุนให้คณาจารย์ขอสนับสนุนทุนวิจัยทั้งภายในเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากทุนสนับสนุนการวิจัยภายนอก เพื่อผลิตผลงานวิจัย เนื่องจากผลงานที่มีอยู่ส่วนใหญ่เป็นผลงานสร้างสรรค์
- ทำแผนพัฒนาของบุคคล (รายปี) สำหรับการผลิตผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการประเภทอื่น เช่น บทความวิชาการ ตำรา หนังสือ

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 553.86 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 23.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 24.08
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 20.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 20.40
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ควรระบุให้ชัดเจนถึงการดำเนินการบริการให้คำปรึกษาและการใช้ชีวิตแก่นักศึกษาในคณะว่า กิจกรรมที่ดำเนินการสร้างการเป็นผู้เรียนรู้ ผู้สร้างนวัตกรรม และผู้มีความเป็นพลเมืองท่เข้มแข็งอย่างไร / คู่มือนักศึกษาสำหรับนักศึกษาปี 1 มีทั้งสองสาขาหรือไม่ / และอาจจะเพิ่มหลักฐานคู่มือการทำวิทยานิพนธ์
ข้อ 2 หลักฐาน : การปฐมนิเทศการฝึกงานและสหกิจไม่ถูกต้อง (เอกสารเป็นโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่)
ข้อ 5 หลักฐานที่ต้องเพิ่มใหม่ คือ หลักฐานที่มาจากแนวทางการพัฒนาการให้บริการและการให้ข้อมูลนักศึกษาปี 2565 
ข้อ 6 โครงการที่ดำเนินการมีการแจ้งว่าศิษย์เก่าเข้าร่วม แต่หลักฐานที่แนบเป็น PDCA ของโครงการ หรือเป็น มคอ. ที่ไมมีการชี้ว่ามีศิษย์เก่าเข้าร่วม
- หลักฐานเป็น PDCA โครงการ บางโครงการมีภาพประกอบชัดเจน/บางโครงการไม่มี หรือบางโครงการมีใบรายชื่อแนบแต่ไม่มีลายเซ็น 
- หมายเลขเอกสารที่อยู่ในเล่ม SAR ควรตรงกับในระบบ DBS

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
13
13
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ตามรายละเอียดที่แจ้งมี 12 โครงการ ดังนั้น ควรใส่โครงการให้ครบ 12 โครงการ โดยระบุให้ว่าแต่ละโครงการมีการพัฒนาการเป็นผู้เรียนรู้ ผู้สร้างนวัตกรรม และผู้มีความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งอย่างไร
ข้อ 2 ใส่ทั้ง 12 โครงการ ซึ่งหนึ่งโครงการอาจจะมีการส่งเสริมคุณลักษณะได้มากกว่า 1 ด้าน
ข้อ 3 เพิ่มหลักฐานรายละเอียดของโครงการ (ไม่แน่ใจว่าผลที่ประเมินมาเป็นโครงการของมหาวิทยาลัยจัดหรือโครงการที่คณะจัดเอง)
ข้อ 4 หากสามารถเพิ่มรายละเอียดของสิ่งที่ต้องปรับปรุงในปี 2564 มาสู่การพัฒนาการดำเนินการในปี 2565 จะทำให้มีความสมบูณ์มากยิ่งขึ้น
ข้อ 6 หลักฐานควรเป็นแผนพัฒนาด้านกิจการนักศึกษาโดยเฉพาะ เป็นแผนที่มีรายละเอียดของตัวบ่งชี้หรือตัววัดความสำเร็จการดำเนินการที่ชัดเจน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบและกลไกในการดูแลนักศึกษาเป็นอย่างดี
  2. มีโครงการที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาตามคุณลักษณะบัณฑิตทุกด้าน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีโครงการที่สามารถให้ข้อมูลและความรู้ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า
  2. ควรมีการส่งเสริมให้คณาจารย์ได้มีการพัฒนาผลงานวิชาการ ประเภทบทความวิชาการ งานวิจัย ตำรา/หนังสือ เพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการเพิ่ม รวมถึงการสนับสนุนทุนวิจัยเพิ่มขึ้น
  3. ควรมีแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 0.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 3,899,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 3,899,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 23.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 169,521.74
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 2 1 0 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 3 0 10
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 12.60 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 23.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 54.78
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีจำนวนผลงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ในระดับนานาชาติเป็นจำนวนมาก คิดเป็นสัดส่วนร้อยละที่สูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
  2. มีทุนสนับสนุนโครงการวิจัยจากหน่วยงานภายนอกเป็นยอดเงินที่สูงมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ไม่มี

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ควรรายงานเฉพาะแผนและตัวชี้วัดความสำเร็จ 
ข้อ 2 ควรรายงานผลการดำเนินงานยังให้ชัดเจนเรื่องแผนการใช้ประโยชน์ของบริการวิชาการทั้ง โครงการ มีรายงานประโยชน์ที่ได้รับแต่ละโครงการ 
ข้อ 4 ควรประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผน และโครงการบริการวิชาการ ตามแผนข้อ 1 ให้ครบ เพิ่มการประเมินศูนย์บริการวิชาการของคณะ และในหลักฐานควรแสดงรายงานการประชุมที่นำเสนอการประเมินแก่คณะ
ข้อ 6 ควรเพิ่มเติมโครงการทั้ง 3 โครงการในหลักฐาน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบริการวิชาการที่สร้างประโยชน์และเชื่อมโยงระหว่างคณะกับสู่สังคมและชุมชน รวมทั้งความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ภายนอก ทั้งหน่วยงานของรัฐ และองค์กรเอกชน บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนพัฒนาที่ได้ตั้งไว้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรพัฒนาและขยายช่องทางในการให้บริการวิชาการแบบมีรายได้ ให้มากขึ้น

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ควรมีแผนที่ชัดเจน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบูรณาการการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาตรีที่เป็นรูปธรรมและชัดเจน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรมีแผนยุทธศาสตร์และพัฒนาด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในระดับคณะ โดยกำหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จหรือค่าเป้าหมายที่ชัดเจน เพื่อประสิทธิภาพในการดำเนินการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในภาพรวมในระหว่างปี และการประเมินความสำเร็จในช่วงปลายปี

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • โครงการ "ในทางกลับกัน... Animation in the Other Way Round"
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • โครงการผลิตสื่อการสอนศิลปะ แอนิเมชันเสริมสร้างพัฒนาการ และทักษะศิลปะ กิจกรรมสอน ศิลปะสำหรับเด็กพิเศษ ด้วยระบบ ห้องเรียนอัจฉริยะ
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ควรเพื่มเติมรายงานให้เห็นแผนพัฒนาสู่งบการเงินและแสดง แผนปฏิบัติการ Action plan ของคณะ 
ข้อ 2 ควรเพิ่มเติมรายงานรายรับรายจ่ายของคณะ เพื่อให้เห็นงบประมาณแต่ละหมวดในภาพรวม


 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบริหารจัดการผ่านระบบสารสนเทศภายในคณะดิจิทัลอาร์ต ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงานทั้งภายในคณะและระดับมหาวิทยาลัย เป็นระบบมีความสะดวก แม่นยำ สามารถตรวจสอบงานส่วนต่าง ๆ ได้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ภาระงานที่นอกเหนืองานสอนมีจำนวนมาก ควรมีระบบการจัดการ การบริหาร การติดตาม เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ช่วยลดความเสี่ยง และเพิ่มความพึงพอใจของอาจารย์

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.45
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 0.54
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.35
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.10

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 1.63 5.00 3.45 3.06 การดำเนินงานระดับพอใช้
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 2.47 5.00 4.23 4.10 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานต้องปรับปรุง การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี