รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะทัศนมาตรศาสตร์

วันที่ประเมิน: 10 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 3.31
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 6.62
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.31

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะได้มีการบริหารหลักสูตรโดยรวม อยู่ในเกณฑ์ดี

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 20.00 2.50
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 2.50

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะได้มีการรับอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้นจากปีก่อน
 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 20.00 1.67
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 20.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 1.67

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะควรมีการสนับสนุนให้อาจารย์ได้รับตำแหน่งวิชาการเพิ่มขึ้น ทางคณะมีอาจารย์ที่ทำวิจัยเป็นจำนวนมาก แต่ควรมีกระบวนการให้อาจารย์เขียนบทความวิชาการลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐาน อย่างน้อย TCI 1 เพื่อเป็นการเพิ่มผลงานวิชาการให้กับอาจารย์ และสามารถนำไปขอตำแหน่งวิชาการต่อไปในอนาคตได้

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 192.70 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 20.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 9.63
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 20.38
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สัดส่วนของนักศึกษาต่ออาจารย์ยังเกินค่ามาตราฐานอยู่มาก (ค่ามาตราฐานอยู่ที่ 8) เพื่อที่จะทำให้สัดส่วนอยู่ในเกณฑ์ต้องมีอาจารย์อย่างน้อย 24 ท่าน แต่จากการดำเนินงานในปีที่แล้ว ทางคณะได้มีการรับอาจารย์ใหม่เพิ่มขึ้น 1 ท่าน ถือว่าเป็นความพยายามของคณะที่ดีมาก ที่จะทำให้สัดส่วนอยู่ในเกณฑ์ 
 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ทางคณะได้ดำเนินการครบทุกหัวข้อ

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
3
3
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะได้มีการดำเนินการในทุกหัวข้อ
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีหลักสูตรที่เป็นความต้องการของตลาดแรงงาน และมีโอกาสเติบโตในอนาคต
  2. คณะมีการให้บริการทั้งด้านวิชาการ และด้านอื่นๆให้แก่นักศึกษา
  3. คณะมีการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับแผนยุทธสาสตร์ของคณะ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะต้องมีการสนับสนุน และผลัดกันให้อาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการผลักดันให้อาจารย์เขียนบทความทางวิชการการลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐาน
  2. คณะมีแผนการรับอาจารย์เพิ่มในอนาคต เพิ่มทำให้สัดส่วนของนักศึกษาต่ออาจารย์อยู่ในเกณฑ์

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 5 ควรบอกถึงสถาบันวิจัยมีทุนสำหรับการเผยแพร่ผลงานวิจัย และมีเงินรางวัลสำหรับอาจารย์ที่มีผลงานตีพิมพ์ และ website คณะได้นำเสนออาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัย หรือ อาจารย์ที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 290,000.00 1.45
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 0.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 290,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 20.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 14,500.00
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 1.45

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะยังไม่มีทุนวิจัยภายนอก

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 1 7
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 7.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 20.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 39.00
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ผลงานวิจัยมาจากอาจารย์เพียงสองท่าน

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการตีพิมพ์ผลงานวิชาการเป็นจำนวนมาก แต่ผลงานเป็นของอาจารย์เพียง 1-2 ท่าน ควรสนับสนุนการ่วมกันทำวิจัยร่วมกันและสร้างประสบการณ์การทำวิจัย และการเขียนผลงานวิจัยตีพิมพ์

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ทุนวิจัยยังมีจำนวนน้อย โดยคณะสามารถวางแผนขอทุนวิจัยโดยการวางแผนพัฒนารายบุคคลสำหรับการขอทุนวิจัย และการขอตำแหน่งวิชาการ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบริการวิชาการที่มีประโยขน์ต่อสังคมและชุมชน และมีโครงการบริการวิชาการจำนวนมาก สามารถนำการบริการวิชาการมาเป็นโครงการวิจัยและนำไปเขียนผลงานวิจัยตีพิมพ์ได้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. จัดทำแผนการบริการวิชาการของคณะให้ได้ประโยชน์สูงสุดทั้งด้านบริการแก่ชุมชนและสามารถใช้ประโยชน์เป็นงานวิจัยได้

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะมีการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ครบถ้วน และมีคุณภาพที่ดี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรจะรักษามาตฐานการปฏิบัติแบบนี้ต่อไป

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • โครงการศูนย์บริการเลนส์สัมผัสแบบแข็งของมหาวิทยาลัยรังสิต
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • โรคตาและสายตาบกพร่องในผู้สูงอายุ
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. ควรจัดทำแผนปฏิบัติการที่มีโครงการ/กิจกรรมครบถ้วนของทุกยุทธศาสตร์ ทั้งในโครงการที่ของบประมาณและไม่ของบประมาณ
2. มีการนำผลการวิเคราะห์จาก SWOT มาพิจารณาควบคู่กับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเพื่อจัดทำแผนพัฒนาคณะ ซึ่งจะนำไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการและกลยุทธ์การเงิน
3. คณะให้ความสำคัญต่อการบริหารความเสี่ยงในทุกประเด็นที่มหาวิทยาลัยกำหนดสำหรับการบริหารจัดการตามยุทธศาสตร์ที่กำหนด แต่ยังคงมีสองประเด็นที่คณะต้องเพิ่มมาตรการในการลดความเสี่ยง ได้แก่ ทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาและการก้าวสู่ตำแหน่งวิชาการของคณาจารย์ 
4. คณะให้ความสำคัญต่อการพัฒนาบุคลากรของคณะทั้งสายการสอนและสายสนับสนุน แต่ยังมีประเด็นที่ควรจัดทำแนวทางเพิ่มเติมจากการนำผลวิเคราะห์ประเด็นที่มีความเสี่ยงในการไม่บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอาจารย์ได้แก่การเพิ่มจำนวนอาจารย์ที่ได้รับวุฒิการศึกษาปริญญาเอก และจำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ 

 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

การดำเนินการครบถ้วนตามกระบวนการของการประกันคุณภาพ

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะได้นำผลการวิเคราะห์ SWOT มาจัดทำแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงต่อเนื่องในการจัดทำแผนปฏิบัติการและกลยุทธ์การเงิน ** สิ่งที่ต้องเพิ่มเติม คือ ในหลักฐาน ทศ.อ5.5.1.1.02 ขาดยุทธศาสตร์ 3 ถึงยุทธศาสตร์ 5**
  2. คณะให้ความสำคัญและดำเนินงานตามแผนการบริหารจัดการในทุกแผนงานของการบริหารงาน โดยเฉพาะการเชื่อมโยงการบริหารความเสี่ยงกับแผนการดำเนินงานในการบริหารจัดการ เพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในแต่ละประเด็นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
  3. คณะให้ความสำคัญและดำเนินการในการจัดการความรู้ที่ครบถ้วนตามพันธกิจของคณะวิชา ได้แก่ การผลิตบัณฑิต และการวิจัย
  4. คณะได้จัดทำและติดตามการดำเนินงานในการพัฒนาบุคลากรทั้งสายการสอนและสายสนับสนุน ตามแผนพัฒนาที่กำหนด

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรจัดทำแผนปฏิบัติการที่มีโครงการ/กิจกรรมครบถ้วนของทุกยุทธศาสตร์ ทั้งในโครงการที่ของบประมาณและไม่ของบประมาณ
  2. ควรเขียนเพิ่มเติมในการอ้างถึงรายงานการประชุมกับผลการดำเนินงานในแต่ละหัวข้อที่กำหนดในตัวบ่งชี้ 5.1 และ 5.2
  3. ควรจัดทำแนวทางเพิ่มเติมจากการนำผลวิเคราะห์ประเด็นที่มีความเสี่ยงในการไม่บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอาจารย์ได้แก่การเพิ่มจำนวนอาจารย์ที่ได้รับวุฒิการศึกษาปริญญาเอก และจำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ 
  4. คณะควรมีแผนพัฒนาอัตรากำลังของอาจารย์ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ FTES ของกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (8:1)

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.31
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2.50
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.67
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 1.45
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.76

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 1.39 5.00 3.31 2.91 การดำเนินงานระดับพอใช้
2 3 1.45 5.00 5.00 3.82 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 1.41 5.00 4.16 3.76 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี