รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะทัศนมาตรศาสตร์

วันที่ประเมิน: 8 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 3.36
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 6.72
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.36

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 22.00 2.84
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 22.73
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 2.84

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- อาจารย์ระดับปริญญาเอกมีน้อย
 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 22.00 1.52
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 18.18
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 1.52

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- อาจารย์ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการมีน้อย
 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 447.30 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 18.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 24.85
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 210.63
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- อาจารย์ประจำมีจำนวนไม่เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 3 ควรมีกิจกรรมเพิ่มเติมในการเตรียมความพร้อมการทำงาน
ข้อ 4 ผลประเมินแต่ละโครงการยังไม่สมบูรณ์
ข้อ 6 จัดอบรม ทางคลินิกแก่ศิษย์เก่า

 

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00
3
3
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 2 มีกิจกรรมด้าน ภาษา และ IT หรือไม่
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. โครงการงานประชุมวิชาการทัศนมาตรศาสตร์นานาชาติ ที่สามารถให้นักศึกษาและศิษย์เก่าได้เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. อาจารย์ประจำยังมีจำนวนไม่เพียงพอ และ อาจารย์ระดับปริญญาเอกมีน้อย ส่งผลต่อค่า FTES ของคณะจึงเป็นภาระกิจเร่งด่วนในการหาอาจารย์ระดับปริญญาเอก เพิ่ม
  2. อาจารย์ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิขาการมีน้อย เนื่องจากอาจารย์ประจำระดับปริญญาเอกมีน้อยการเริ่มงานวิจัยจึงเริ่มได้ช้า เห็นควรส่งเสริมการวิจัยระหว่างสถาบันที่สามารถทำงานวิจัยร่วมกัน
  3. กิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษามีจำนวนไม่มาก ควรมีกิจกรรมเพิ่มเติมในการเตรียมความพร้อมการทำงานของนักศึกษาเช่นการดูงานนอกสถานที่ การเชิญศิษย์เก่ามาบรรยาย
  4. การบริการทางวิชาการแก่ศิษย์เก่ายังไม่เป็นรูปธรรม ควรจัดบริการทางวิชาการ เช่น จัดอบรม ทางคลินิกแก่ศิษย์เก่า เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ได้ดำเนินการครบทุกข้อ
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 133,800.00 0.85
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 18,900.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 152,700.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 18.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 8,483.33
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 0.85

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 1 0 5
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.60 4.24
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 22.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 25.45
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 4.24

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรมีการพัฒนาทีมวิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการรับทุนวิจัย และการทำงานวิจัยของคณาจารย์
  2. คณะควรมีแผนงานที่ครอบคลุมให้อาจารย์ในคณะมีการเผยแพร่งานวิจัยอย่างทัวถึงทุกคน ซึ่งจะส่งผลในการขอตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ต่อไป

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริการวิชาการที่ให้นักศึกษามีส่วนร่วมและบูรณาการกับการเรียนการสอนได้อย่างดี ทำให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษาในด้านประสบการณ์ฝึกปฏิบัติ และเกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
  2. คณะมีการบริการวิชาการในรูปแบบของการจัดทำวารสาร Rangsit Journal of Optometry ที่เป็นประโยชน์ในการรวบรวมผลงานวิจัยและองค์ความรู้จากงานวิจัย ที่สามารถเชื่อมโยงกับการเรียนการสอนและการทำวิจัยของนักศึกษา รวมทั้งได้เผยแพร่ความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์สู่สังคม

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรทบทวนการจัดทำแผนโครงการบริการวิชาการให้ชัดเจน เนื่องจากมีบางโครงการไม่ปรากฏในแผนปฏิบัติการ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีคณะกรรมการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมระดับคณะและมหาวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรติดตามความสำเร็จตามเป้าหมายของโครงการที่กำหนดไว้ว่า ต้องมีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอย่างน้อย 1 รายวิชา
  2. คณะอาจจัดโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อให้นักศึกษามีความตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่ดีและเป็นคุณลักษณะพึงประสงค์ของนักศึกษาในทุกๆรายวิชา

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การเรียนการสอนวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ทัศนมาตรศาสตร์คลีนิก)
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาต้นแบบเลนส์สัมผัสที่เคลือบด้วยซิลค์ไฟโบรอินสำหรับใช้ในการนำส่งยา
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีความชัดเจนและความครบถ้วนในการบริหารงานของคณะ ที่ครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์ปัจจัยทั้งภายในและภายนอกคณะเพื่อการทำแผนพัฒนาคณะที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยและของคณะ และเชื่อมโยงสู่การดำเนินการบริหารงานตามแผนปฏิบติการ แผนบริหารความเสี่ยง แผนพัฒนาบุคคล เป็นต้น
  2. คณะมีความครบถ้วนในการจัดทำแผนพัฒนาบุคคลากรเป็นรายบุคคล แนวทางเสริม - คณะควรเพิ่มความชัดเจนในการกำหนดระยะเวลาในการมุ่งสู่เป้าหมายของการพัฒนาอาจารย์ที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา ได้แก่ การขอตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ ศักยภาพในการขอทุนวิจัย เป็นต้น - คณะควรเพิ่มความชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
  3. คณะให้ความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของทั้งระดับหลักสูตรและคณะ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรเพิ่มผลสรุปจากแผนบริหารความเสี่ยงโดยย่อที่เน้นลำดับความสำคัญของการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงเพื่อลดความเสี่ยงในปีการศึกษาถัดไป ได้แก่ ทุนวิจัยจากภายนอก ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษา การขอตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ เป็นต้น
  2. คณะควรเพิ่มการติดตามผลการดำเนินงานให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของคณะ ให้ครบถ้วน ทั้งนี้ ให้รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขแผนการบริหารงานของคณะในปีการศึกษาถัดไป

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.36
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2.84
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.52
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 0.85
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 4.24
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 3.60

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 1.45 4.50 3.36 2.79 การดำเนินงานระดับพอใช้
2 3 0.85 5.00 4.24 3.36 การดำเนินงานระดับพอใช้
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 1.30 4.86 3.80 3.60 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี